งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ไดแอก ( DIAC ) .

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ไดแอก ( DIAC ) ."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ไดแอก ( DIAC ) 

2 โครงสร้างและสัญลักษณ์ของไดแอก
โครงสร้างและสัญลักษณ์ของไดแอก  ไดแอก ( DIAC ) หรือไดโอด-แอก เป็นอุปกรณ์จุดชนวนไทรแอก ที่ถูกออกแบบให้สามารถนำกระแสได้ 2 ทางที่แรงดันค่าหนึ่ง ลักษณะโครงสร้างจะเป็นสารP-N-P 3 ชั้น 2 รอยต่อเหมือนกับทรานซิสเตอร์ แสดงดังรูปที่ 1 แต่แตกต่างจากทรานซิสเตอร์ตรงที่ความเข้มของการโด๊ป ( Dope ) สาร จึงทำให้รอยต่อทั้งสองของ

3 ไดแอกเหมือนกัน จึงทำให้มีคุณสมบัติเป็นสวิตซ์ได้ 2 ทาง และค่าแรงดันเริ่มต้นที่จะทำให้ไดแอกนำกระแสได้นั้นจะอยู่ในช่วง โวลต์

4 รูปที่ 1 แสดงโครงสร้างและสัญลักษณ์ของไดแอก
รูปที่ 1 แสดงโครงสร้างและสัญลักษณ์ของไดแอก

5 การทำงานของไดแอก  การทำงานของไดแอกนั้นจะอาศัยช่วงแรงดันพังทลาย( Break Over Voltage ) เป็นส่วนของการทำงาน เมื่อป้อนแรงดันบวก ( + )เข้าที่ขา A1 ละแรงดันลบ (-) เข้าที่ขา A2 รอยต่อN และ P ตรงบริเวณ A1 จะอยู่ในลักษณะไบอัสกลับ จึงไม่มีกระแสไหลจาก A1 ไปยัง A2 ได้ เมื่อเพิ่มแรงดันไบอัสดังกล่าวสูงขึ้นเรื่อยๆ จนถึงค่าแรงดันค่าหนึ่งจะทำให้กระแสสามารถไหลทะลุผ่านรอยต่อ N-P มาได้ ส่วนรอยต่อตรง A2 นั้นอยู่ในสภาวะไบอัสตรงอยู่แล้ว

6 ดังนั้น กระแสที่ไหลผ่านไดแอกนี้จึงเสมือนกับเป็นกระแสที่เกิดจากการพังทลายของไดโอดและถ้าหากไม่มีการจำกัดกระแสแล้วไดแอกก็สามารถพังได้เช่นกัน ถ้าเราสลับขั้วศักย์แรงดัน A1 และ A2 การทำงานของไดแอกก็จะเป็นเช่นเดียวกับกรณีดังกล่าวที่ผ่านมา เขียนเป็นกราฟแสดงความสัมพันธ์ของแรงดันตกคร่อมตัวไดแอก และกระแสที่ไหลผ่านไดแอกได้ ดังรูปที่2 

7 รูปที่ 2กราฟแสดงลักษณะสมบัติของไดแอก
รูปที่ 2กราฟแสดงลักษณะสมบัติของไดแอก 

8 จากกราฟ เมื่อไดแอกนำกระแสแรงดันตกคร่อมตัวไดแอกจะลดค่าลงอีกเล็กน้อย โดยปกติจะลดลงจากค่าแรงดันพังประมาณ 5 โวลต์ จากลักษณะสมบัติของไดแอก จึงเห็นได้ว่าไดแอกเหมาะสมที่จะนำไปใช้เป็นตัวป้อนกระแสจุดชนวนให้กับอุปกรณ์ไทรแอก เพราะนำกระแสได้ 2 ด้าน 

9 รูปที่ 3 แสดงค่าความต้านทานระหว่างขาของไดแอก
การวัดและทดสอบไดแอกด้วยโอห์มมิเตอร์ การวัดหาขาของไดแอก พิจารณาได้จากโครงสร้างและสัญลักษณ์ของไดแอก รูปที่ 3 แสดงค่าความต้านทานระหว่างขาของไดแอก 

10 ตั้งโอห์มมิเตอร์ที่ย่านวัด R x 10
ตั้งโอห์มมิเตอร์ที่ย่านวัด R x 10  กรณีที่ 1 เอาสายมิเตอร์ศักย์ไฟบวกจับที่ขา A1 สายมิเตอร์ศักย์ไฟลบ จับที่ขา A2 เข็มจะชี้ที่ ตำแหน่ง  กรณีที่ 2 ทำการกลับขั้ว ผลที่ได้จะเป็น  แสดงว่าไดแอกมีสภาพดี 

11 จบการนำเสนอ


ดาวน์โหลด ppt ไดแอก ( DIAC ) .

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google