งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ยูเจที (UJT) ยูนิจังชั่น ทรานซิสเตอร์ (UNIJUNCTION TRANSISTOR) หรือเรียกย่อ ๆ ว่า ยูเจที (UJT) UJT ไปใช้งานได้อย่างกว้างขวางหลายอย่างเช่น ออสซิลเลเตอร์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ยูเจที (UJT) ยูนิจังชั่น ทรานซิสเตอร์ (UNIJUNCTION TRANSISTOR) หรือเรียกย่อ ๆ ว่า ยูเจที (UJT) UJT ไปใช้งานได้อย่างกว้างขวางหลายอย่างเช่น ออสซิลเลเตอร์"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ยูเจที (UJT) ยูนิจังชั่น ทรานซิสเตอร์ (UNIJUNCTION TRANSISTOR) หรือเรียกย่อ ๆ ว่า ยูเจที (UJT) UJT ไปใช้งานได้อย่างกว้างขวางหลายอย่างเช่น ออสซิลเลเตอร์ วงจรทริกเกอร์ วงจรกำเนิดสัญญาณฟันเลื่อย วงจรควบคุมเฟส วงจรหน่วงเวลา ส่วนประกอบของวงจรไบสเตบิล และวงจรควบคุมการจ่ายแรงดันหรือกระแส เป็นต้น UJT เป็นอุปกรณ์ที่ใช้งานทั่วไป ทนกำลังไฟฟ้าต่ำ 

2 โครงสร้างและสัญลักษณ์ของยูเจที
โครงสร้างและสัญลักษณ์ของยูเจที  UJT เป็นอุปกรณ์สารกึ่งตัวนำชนิด 2 รอยต่อ ที่ไม่ได้ถูกจัดอยู่ในสารกึ่งตัวนำชนิดไทริสเตอร์ เหมือน SCR ไตรแอกและไดแอก แต่ในการใช้งานจะต้องทำงานร่วมกับ SCR ไตรแอก และไดแอกเสมอ ขาที่ต่อออกมาใช้งานทั้ง 3 ขา มีขาเบส 1 (BASE 1) ขาเบส 2 (BASE 2) และขาอิมิตเตอร์ (EMITTER) โครงสร้างและสัญลักษณ์ของ UJT แสดงดังรูปที่ 1.1 

3 แสดงโครงสร้างและสัญลักษณ์ของยูเจที

4 จากคุณสมบัติของ UJT ที่กล่าวมา เราสามารถเขียนวงจรสมมูลย์ (EQUIVALENT CIRCUIT) ของ UJT ได้เหมือนเป็นตัวต้านทานต่อร่วมกับไดโอด แสดงดังรูปที่ 1.2  วงจรสมมูลย์ของ UJT

5 การไบอัสยูเจที  การไบอัส UJT

6 จากรูป เป็นวงจรการจ่ายไบอัสให้ UJT ทำงานแบบเบื้องต้น จะต้องจ่ายแรงดัน VBB ตกคร่อมขา B2 และขา B1 โดยให้ขา B2 มีศักย์เป็นบวกเทียบกับขา B1 และจ่ายแรงดัน VE ให้ขา E และ B1 โดยให้ขา E มีศักย์เป็นบวกเทียบกับขา B1 UJT จะนำกรแสเมื่อมี IE ไหล และทำให้เกิด IB ไหล 

7 กราฟคุณสมบัติของยูเจที
กราฟคุณสมบัติ ยูเจที

8 จากรูป แสดงกราฟคุณสมบัติ ยูเจที โดยความสัมพันธ์ระหว่างแรงดัน กับกระแส แรงดัน ที่ป้อนให้วงจรเท่ากับ 10 V จากกราฟด้านซ้ายมือเป็นกราฟเนื่องจากการเริ่มจ่ายแรงดัน ให้ขา E เทียบกับขา B1 ถ้าแรงดัน ที่จ่ายให้ยังไม่ถึงค่า จะมีกระแสไหล ในวงจรเพียงเล็กน้อย จะเป็นค่ากระแสรั่วซึม เพราะไดโอด D ยังคงได้รับไบอัสกลับไม่นำกระแส ในส่วนนี้จะเรียกว่า ช่วงคัทออฟ (CUTOFF REGION) เมื่อเพิ่มแรงดัน จนถึงค่าแรงดัน หรือถึงค่าระดับแรงดันที่ทำให้ไดโอด D ได้รับไบอัส ตรง จะทำให้มีกระแส ไหลจากขา E ไปขา B 1 เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว และในเวลาเดียวกันนั้นแรงดัน จะมีค่าลดลง แรงดัน นี้จะลดลงถึงค่า

9 การนำยูเจทีไปใช้งาน  1. ยูเจที รีแลกเซชั่นออสซิลเลเตอร์ (UJT RELAXTION OSCILLATOR) ในวงจรจะประกอบด้วยตัวต้านทาน และตัวเก็บประจุต่อเข้าที่ขา E ของ ยูเจที ทำหน้าที่เป็นวงจรตั้งเวลา ซึ่งจะมีค่าคงที่ขึ้นอยู่กับค่าความต้านทาน และค่าความจุคูณกันตัวต้านทานและตัวเก็บประจุที่ต่อกับขา E ของ ยูเจที จะเป็นตัวกำหนดเวลาในการทำงานของ ยูเจที สัญญาณที่ถูกกำเนิดขึ้นมาจะสามารถนำออกมาใช้งานได้ทั้งขา E ขา B 1 และขา B 2 วงจรรีแลกซ์เซชั่นออสซิลเลเตอร์ แสดงดังรูปต่อไป

10 รูปวงจรและรูปสัญญาณของวงจรรีแลกเซชั่นออสซิลเลเตอร์

11 รูปวงจรเร็กติไฟเออร์ของ SCR ควบคุมโดย UJT
2. การใช้ ยูเจที ควบคุมวงจรเร็กติไฟออร์ของ SCR เป็นวงจรที่ใช้รีแลกเซชั่นออสซิลเลเตอร์ควบคุมการเร็กติไฟออร์ของ SCR โดยควบคุมและปรับเปลี่ยนเฟสการเร็กติไฟได้ วงจรแสดงดังรูปที่ 1.6 รูปวงจรเร็กติไฟเออร์ของ SCR ควบคุมโดย UJT 

12 จากรูป เป็นวงจรเร็กติไฟเออร์ของ SCR ถูกควบคุมเฟสการเร็กติไฟเออร์ด้วยวงจรรีแลกเซชั่นออสซิลเลเตอร์ วงจรประกอบด้วย  เป็นตัวต้านทานจำกัดกระแสที่จะไหลผ่านซีเนอร์ไดโอด  ไม่ให้มากเกินไป  เป็นซีนเนอร์ไดโอดกำหนดค่าแรงดันจ่ายให้วงจรรีแลกเซชั่นออสซิลเลเตอร์  ,  เป็นวงจรกำหนดเวลาการทำงานของ ยูเจที ตัว  เป็นโหลดของ ยูเจที ส่งแรงดันพัลซ์บวก

13 จบการนำเสนอ


ดาวน์โหลด ppt ยูเจที (UJT) ยูนิจังชั่น ทรานซิสเตอร์ (UNIJUNCTION TRANSISTOR) หรือเรียกย่อ ๆ ว่า ยูเจที (UJT) UJT ไปใช้งานได้อย่างกว้างขวางหลายอย่างเช่น ออสซิลเลเตอร์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google