งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

จำนวนผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ ปี2554 ในเขตอำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "จำนวนผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ ปี2554 ในเขตอำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การพัฒนาคุณภาพบริการเพื่อป้องกัน การเกิดเชื้อดื้อยา โรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห์

2 จำนวนผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ ปี2554 ในเขตอำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย
ในเขตอำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย 131 96 193 132 33 60 57 129 252 83 77 202 75 143

3 HIV in each schemes 2011 (N=3,103 ราย)

4 จำนวนผู้ป่วยเอชไอวี/เอดส์ที่ลงทะเบียนมารับบริการ
ในโรงพยาบาลประชานุเคราะห์ ตั้งแต่ปี จำนวน (ราย) ข้อมูลจาก NAP Programe

5 จำนวนการได้รับยาต้านไวรัสของผู้ป่วยเอชไอวี/เอดส์ผู้ใหญ่
ที่รับบริการในโรงพยาบาลประชานุเคราะห์ ตั้งแต่ปี จำนวน (ราย) ข้อมูลจาก NAP Programe

6 การนำข้อมูลมาใช้ประโยชน์
ติดตามดูความครอบคลุมคุณภาพการบริการดูแลรักษาผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ตามตัวชี้วัดต่างๆ ตัวชี้วัดมาตรฐานสถานให้บริการเอชไอวี/เอดส์ ของกรมควบคุมโรค ตัวชี้วัด HIVQUAL T, Pediatric HIVQUAL ( Early Warning Indicators) ตัวชี้วัด EWI

7 นโยบาย ประชาชน HA Input Process Out put Outcome Impact
การติดตามประเมินผลโครงการพัฒนาคุณภาพบริการการดูแลผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ร.พเชียงรายประชานุเตราะห์ Input Process Out put Outcome Impact นโยบาย ประชาชนและ องค์กรมีสุขภาวะ สนับสนุนการดำเนินงานการพัฒนาคุณภาพ การ VCT การ monitor CD4 ทุก 6 เดือน การเตรียมความพร้อมก่อนกินยาต้าน ฯ การคัดกรองโรคTB,CM,STI โรคซึมเศร้า การป้องกัน OI: PCP, CM PMTCT ประชาชนและ องค์กรมีสุขภาวะ เกิดระบบการพัฒนา คุณภาพการดูแล รักษาในหน่วยบริการ ครอบคลุมทุกพื้นที่ การบริการดูแล รักษาในสถานบริการ มีคุณภาพตาม มาตรฐาน งบประมาณ ร.พ,ส.ป.ส.ช อัตราตาย ลดลง มีสุขภาพ ดีขึ้น พัฒนาเครือข่ายผู้ให้บริการการดูแลรักษา ด้านคุณภาพ สร้างระบบการประสานงาน/การปรึกษา การส่งรักษาต่อกับ ร.พ.ชุมชนและเรือนจำ การดูแลรักษา องค์รวม 4 มิติ ผู้ติดเชื้อได้รับบริการ ที่มีคุณภาพและเข้า สู่การรักษาเร็วขึ้น เกิดระบบการติดตาม ประเมินผลการดูแล รักษา พัฒนาศักยภาพพี่เลี้ยงผู้ดูแลรักษาด้าน สุขภาพ ส่งบุคลากรในทีมเข้าอบรมวิชากร เป็นที่ปรึกษา พี่เลี้ยงให้แก่ ร.พ.ชุมชน ศูนย์องค์รวม แกนนำผู้ติดเชื้อ HA อัตราดื้อยา และOI ลดลง ผู้ติดเชื้อมีสุขภาพที่ดี กินยาอย่างสม่ำเสมอ ลดการขาดนัดมีระดับ CD4สูงขึ้นและระดับ VLลดลง การพัฒนา บุคลากร พัฒนาระบบติดตามประเมินผล ทบทวน KPI ตาม HIVQUAL-T, EWI นำ KPI ตกเกณฑ์มาพัฒนา QI

8 Adult HIVQUAL-T Indicators ของผู้ป่วยเอชไอวี/เอดส์
ที่รับบริการในโรงพยาบาลประชานุเคราะห์ ตั้งแต่ปี (%) 2010 HIVOUAL-T V. 5.3 with NAP

9 ผลการวัดตัวชี้วัด EWI Adult
Patient retention on first-line ART at 12 month (EWI3a) goal:≥ 70 VL supression following 12 months of first line ARV(EWI8a) goal: ≥ 70 (%)

10 ผลการวัดตัวชี้วัด EWI Adult
1) Patient change ART to second line after 12 month (EWI3b)goal: 0 2) Patient loss to follow-up during 12 month after startART(EWI2) goal: ≤ 20

11 การพัฒนาคุณภาพบริการ Adult HIV/AIDS
ตัวชี้วัด แผนพัฒนาคุณภาพ ผลการพัฒนา VL supression following 12 months of first line ARV(EWI8a) พัฒนารูปแบบการเตรียมความพร้อมก่อนเริ่มยาต้านไวรัส 2554 VL supression =88.5% VL>2000 =3% VL =7.5% การเตรียมความพร้อมรายกลุ่ม/บุคคลก่อนรับการรักษาเพื่อให้ผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์และผู้ดูแลมีความพร้อมในการรับประทานยาต้านไวรัสเอชไอวี -โครงการ “เข้าใจ มีวินัย ไม่ดื้อยา” แลกเปลี่ยนเรียนรู้ในกลุ่ม VL not suppress เริ่มทำ Ped HIV Qual-T ปี 2548 หลังทำพบว่ามีสิ่งที่ต้องปรับปรุงหลายจุด และส่วนใหญ่เกิดจาการขาดการบันทึก จึงได้พัฒนาแบบบันทึกผู้ป่วยให้มีความครอบคลุมมากขึ้น

12 การพัฒนารูปแบบการเตรียมความพร้อมก่อน เริ่มยาต้านไวรัส ให้ครอบคลุม
การพัฒนารูปแบบการเตรียมความพร้อมก่อน เริ่มยาต้านไวรัส ให้ครอบคลุม ความรู้เรื่องเอดส์ โรคติดเชื้อฉวยโอกาส การป้องกันการถ่ายทอดเชื้อและการรับเชื้อ เอชไอวีเพิ่ม การรักษาด้วยยาต้านไวรัส การสร้างพลังใจและการวางแผนชีวิต สิทธิและสิทธิประโยชน์ของผู้มีเชื้อเอชไอวี การส่งเสริมสุขภาพ

13 กิจกรรมกลุ่มเตรียมความพร้อมก่อนรับยาต้านไวรัส

14 Pre-post test

15 การพัฒนาคุณภาพบริการ Adult HIV/AIDS
ตัวชี้วัด แผนพัฒนาคุณภาพ VL supression following 12 months of first line ARV(EWI8a) กิจกรรมกลุ่มแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของวัยรุ่นติดเชื้อเอชไอวีที่ได้รับยาต้านไวรัส สร้างความรู้ความเข้าใจในการดูแลตนเองในเรื่องเอชไอวีและการทานยาต้านไวรัสกลุ่มผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ในเรือนเรือนจำ สร้างความรู้ความเข้าใจในการดูแลตนเองในเรื่องเอชไอวีและการทานยาต้านไวรัสกลุ่มผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ในชุมชน 5 ตำบลในเขตอำเภอเมือง กิจกรรมทำอย่างไรให้ชีวิตยืนยาวและมีความสุข เริ่มทำ Ped HIV Qual-T ปี 2548 หลังทำพบว่ามีสิ่งที่ต้องปรับปรุงหลายจุด และส่วนใหญ่เกิดจาการขาดการบันทึก จึงได้พัฒนาแบบบันทึกผู้ป่วยให้มีความครอบคลุมมากขึ้น

16 กิจกรรมเชิงรุก… ลงสู่ชุมชน

17 บรรยายความรู้เรื่องโรคเอดส์

18 แบ่งกลุ่มระดมสมอง 1. สาเหตุที่ทำให้เกิดการติดเชื้อเอชไอวี 2
แบ่งกลุ่มระดมสมอง 1. สาเหตุที่ทำให้เกิดการติดเชื้อเอชไอวี 2. ทำอย่างไรให้ชีวิตยืนยาวและมีความสุข

19 กิจกรรมผ่อนพักตระหนักรู้

20 กิจกรรมเก้าอี้ดนตรีแก้ง่วง

21 ตัวแทนกลุ่มนำเสนอผลการระดมสมอง

22 ถ่ายรูปหมู่เป็นหลักฐาน

23 กิจกรรมกลุ่มแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของวัยรุ่นติดเชื้อเอชไอวีที่ได้รับยาต้านไวรัส

24 Aldolescent HIV [MTCT]
รายละเอียด ผลลัพธ์ จำนวนเด็กที่รับย้ายมาตั้งแต่ พ.ย ปี 2552 46 ราย (ช=15,ญ=31) เสียชีวิต 2 ราย (ช=2) ย้ายไปโรงพยาบาลชุมชน 2 ราย ย้ายไปโรงพยาบาลต่างจังหวัด 1 ราย ย้ายไปโรงพยาบาลศรีบุรินทร์ ขาดการรักษาต่อเนื่อง 7 ราย (ช=5,ญ=2) ยังคงมารับการรักษาต่อเนื่อง 33 คน (ช=8,ญ=25) มีคุณแม่วัยรุ่น 6 ราย

25 Aldolescent HIV [MTCT]
ผลการดำเนินงาน รายละเอียด ผลลัพธ์ จำนวนเด็กที่มี VL<40 copy 22 ราย (66%) จำนวนเด็กที่มี VL>2000 copy 6 ราย (19%) จำนวนเด็กที่มี VL> 5 ราย (15%) ยังใช้สูตรยาพื้นฐาน 25 ราย (75.7%) ใช้ยาสูตรดื้อยา 8 ราย (24.3%)

26 กิจกรรมสร้างความรู้ความเข้าใจในเรือนจำ

27 ผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ในเรือนจำ
ชาย หญิง รวม Asymtomatic HIV 30 16 46 On ART 63 20 83 93 36 129 dead 6 1 7

28 ผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ในเรือนจำ
ผลการดำเนินงาน รายละเอียด ผลลัพธ์ ชาย ผลลัพธ์ หญิง รวม VL<40 copy 56 19 75 VL>2000 copy 1 2 VL> 4 6 ยังใช้สูตรยาพื้นฐาน 59 20 79 ใช้ยาสูตรดื้อยา Median CD4 = 129 Max = 289 Min = 4

29 การพัฒนาคุณภาพบริการ Adult HIV/AIDS
ตัวชี้วัด แผนพัฒนาคุณภาพ ร้อยละของผู้ที่รับยาต้านไวรัสได้รับการประเมินadherence อย่างต่อเนื่องและพบadherence ≥100%(EWI7a) กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์ชีวิตหลังทานยาต้านไวรัสของผู้ติดเชื้อเอชไอวี/ผู้ป่วยเอดส์และผู้ดูแล พัฒนาแบบฟอร์มในการซักประวัติเพื่อให้ครอบคลุมและครบถ้วน โครงการอบรมพัฒนาศักยภาพบุคลากรทางการพยาบาลในการดูแลผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์แบบองค์รวม ร้อยละของผู้ที่เริ่มยาใหม่และขาดการติดตามในช่วง 12 เดือนแรกหลังเริ่มยาARV(EWI2) กิจกรรมติดตามรายที่ขาดนัดเพื่อให้ได้รับการรักษาอย่างต่อเนื่อง เริ่มทำ Ped HIV Qual-T ปี 2548 หลังทำพบว่ามีสิ่งที่ต้องปรับปรุงหลายจุด และส่วนใหญ่เกิดจาการขาดการบันทึก จึงได้พัฒนาแบบบันทึกผู้ป่วยให้มีความครอบคลุมมากขึ้น

30 กิจกรรมกลุ่มเสริมสร้าง Adherence

31 โครงการอบรมพัฒนาศักยภาพบุคลากรทางการพยาบาลในการดูแลผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์แบบองค์รวม

32 แบบฟอร์มซักประวัติ

33 แบบฟอร์มติดตามกรณีขาดนัด

34 ติดตามประวัติเช็คadherence
Early warning system ดึงข้อมูลVLทุก 2 อาทิตย์ VL > 2000 ติดตามประวัติเช็คadherence Adherence ดี ส่ง DR ได้ผลDRกลับมา ติดต่อให้ผู้ป่วยมารับยา

35 ขอบคุณค่ะ งานเอดส์รพ.เชียงรายประชานุเคราะห์


ดาวน์โหลด ppt จำนวนผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ ปี2554 ในเขตอำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google