งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

จากก้าวแรก EWI สู่การพัฒนางาน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "จากก้าวแรก EWI สู่การพัฒนางาน"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 จากก้าวแรก EWI สู่การพัฒนางาน
รพ. ท่าตะโก จังหวัด นครสวรรค์ รพ. ลาดยาว รพ. สปร. ผู้นำเสนอ อารี ฉัตรชัยรัตนเวช สสจ.นครสวรรค์

2 โรงพยาบาลท่าตะโก จังหวัดนครสวรรค์
โดย...คุณธัณย์สิตา อิ่มทรัพย์ หัวหน้ากลุ่มงานเวชปฎิบัติครอบครัวและชุมชน คุณวรรณลักษณ์ สุประดิษฐ์อาภรณ์ HIV-Coordinator และทีมงาน

3 ≥ 90% 81.8 % 72.3 % เกณฑ์เป้าหมาย เริ่ม ART ปี2551(กลุ่มB)
EWI 7 Pill count or standardized adherence measure a ร้อยละของผู้ที่รับยาต้านไวรัสติดตามในในช่วงเวลาที่กำหนดและพบ Adherence ≥ 100% เกณฑ์เป้าหมาย เริ่ม ART ปี2551(กลุ่มB) ก่อนปี2551(กลุ่มC) ≥ 90% 81.8 % 72.3 % ผลการดำเนินกิจกรรมการดูแลรักษาผู้ติดเชื้อเอชไอวี ผู้ป่วยเอดส์ ในปีงบประมาณ 2553 (ต.ค – 20 ส.ค. 2553) มีผู้ติดเชื้อติดเชื้อเอชไอวี ผู้ป่วยเอดส์ ครบเกณฑ์กินยาต้านไวรัสเอดส์จำนวน 133 ราย ได้รับประทานยาต้านไวรัสเอดส์จำนวน 131 ราย คิดเป็นร้อยละ (เสียชีวิตก่อน 2 ราย ปางศิลาทอง ขาณุวรลักษบุรี) 3 3

4 การทบทวนงานที่ผ่านมา
วิเคราะห์สาเหตุ แนวทางแก้ไข -การบันทึกข้อมูลไม่ครบถ้วน (มีการทำแต่ไม่ได้บันทึก Adherence=0) -ระบบการจ่ายยา ARV 1 เดือน โดยร้อยละ 25 ของผู้กินยา ARV ในคลินิกเป็นกลุ่มที่ญาติรับยาแทน เนื่องจากสุขภาพแข็งแรงทำงานต่างจังหวัด ผู้ให้บริการมีโอกาสพบ ผู้กินยา ARV 2-3 ครั้ง/ปี เพื่อมาตรวจ CD4/VL -ประชุมชี้แจงเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง -ปรับระบบการจ่ายยา ARV 2 เดือน โดยให้ผู้กินยา ARV มารับบริการด้วยตนเองมากขึ้น ผลที่ได้ญาติรับแทนลดลงเหลือ ร้อยละ 6 – กำหนดรูปแบบการประเมิน Adherence 2 วิธี โดยสัมภาษณ์ และ Visual analogue scale

5 จำนวนมีพฤติกรรมเสี่ยงมารับการปรึกษา ในปี 2553 จำนวน 11,395 ราย ได้รับการเจาะเลือด 3,544 ราย คิดเป็นร้อยละ 31.10

6 TFI 1 ร้อยละของผู้เริ่มยาต้านเสียชีวิตในช่วง 12 เดือนแรกหลังเริ่มยา
เกณฑ์เป้าหมาย เริ่ม ART ปี2551(กลุ่มB) ก่อนปี2551(กลุ่มC) < 10% 16.7 % 4.5 % ผลการดำเนินกิจกรรมการดูแลรักษาผู้ติดเชื้อเอชไอวี ผู้ป่วยเอดส์ ในปีงบประมาณ 2553 (ต.ค – 20 ส.ค. 2553) มีผู้ติดเชื้อติดเชื้อเอชไอวี ผู้ป่วยเอดส์ ครบเกณฑ์กินยาต้านไวรัสเอดส์จำนวน 133 ราย ได้รับประทานยาต้านไวรัสเอดส์จำนวน 131 ราย คิดเป็นร้อยละ (เสียชีวิตก่อน 2 ราย ปางศิลาทอง ขาณุวรลักษบุรี) 6 6

7 การทบทวนงานที่ผ่านมา
วิเคราะห์สาเหตุ แนวทางแก้ไข -แพทย์ที่ให้การรักษาเปลี่ยนบ่อย ขาดความเข้าใจ พบมีการจ่ายยาARV โดยไม่ผ่านทีมงานเตรียมความพร้อม / ประเมินสถานะผู้ป่วย เช่นAdmit ป่วยหนัก เป็นต้น -ประชุมชี้แจงเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง จัดทำ Flow chat

8 โรงพยาบาลลาดยาว จังหวัดนครสวรรค์
โดย...เภสัชกรฉันทิกา ซื่อตรง นางจุไรรัตน์ ภัทรพงศ์บัณฑิตและทีมงาน

9 Audit OPD card EWI ที่นำมาทบทวนร่วมกัน เพื่อการพัฒนาได้แก่
EWI 6 ARV drug supply continuity

10 EWI6b ร้อยละของจำนวนเดือนที่พบว่าไม่มีปัญหาการขาดยา first line ARV ตัวใดตัวหนึ่งในปี เป้าหมาย 100% ผลลัพธ์ที่ได้ 66.7% พราะขาดคราวยา kaletra, RTV (ใช่ first line ใหม่) สาเหตุมาจากมีการนำยาไปใช้กับเด็กที่ดื้อยาและนำไปใช้กับโครงการ HITAP (ทั้งนี้คนไข้ยังมียาใช้อยู่)

11 Audit OPD card EWI 7 Pill count or standardized adherence measure
เป้าหมาย ≥ 90% ผลลัพธ์ที่ได้ 0% ......โอ้แม่เจ้า !

12 การประเมินใช้การ review จาก OPD card แต่ผล adherence ประเมินและบันทึกลงในแบบบันทึกของเภสัชกร แยกตาม visit เพื่อนำไปคำนวณ adherence ของผู้ป่วยแต่ละปี จึงไม่มีข้อมูลใน OPD card ดังรูป

13 สาเหตุของปัญหาไม่ได้เขียนให้ชัดเจนลงใน OPD card ว่า
adherence เท่าไหร่ จึงไม่มีผู้ป่วยที่มี adherence = 100% จริงๆ แล้ว adherence100%

14 ข้อเท็จจริง เภสัชกรเก็บข้อมูลรวมไว้แต่ละ visit แล้วนำมาวิเคราะห์ในรอบปี

15 การพัฒนางาน... บันทึก adherence….% ลงใน OPD card ให้เรียบร้อย
มีการประเมินอย่างน้อย 2 วิธี ได้แก่ Pill count (ทุกคนต้องนำยาที่เหลือมาคำนวณหักลบจากยาที่จ่ายให้คราวก่อน แต่โดยมากต้องเหลือแค่ 1 dose ตอนเย็น) Log book (รายใหม่ อ่านออก เขียนได้) Visual analog scale (อ่านไม่ออก เขียนไม่ได้) Self report (ต้องมีผู้ช่วยเก็บข้อมูล)

16 ลืมเขียนวิธีการประเมิน (pill count)
Audit คราวหน้าคงไม่ได้คะแนนอีก มีกระบวนการ PDCA

17 ตรงนี้คือ pill count และสัมภาษณ์และทำการเขียน % Adherence กำกับ

18 ไปทำตรายางมาให้ดูง่ายขึ้น
สัมภาษณ์ ไปทำตรายางมาให้ดูง่ายขึ้น Pill count

19 เภสัชกรเตรียมยาล่วงหน้าตามรายชื่อผู้ป่วย นับจำนวนยามาตามจำนวนวัน ยามีเหลือไม่เกิน 1 dose

20 ให้ผู้ป่วยนับยาก่อนกลับว่าให้ไปครบ
ไม่ขาด ไม่เกิน

21 ก้าวต่อไปของ EWI จังหวัดนครสวรรค์
รพ. พยุหะคีรี รพ. โกรกพระ ก้าวต่อไปของ EWI จังหวัดนครสวรรค์ รพ. ท่าตะโก สสจ. นครสวรรค์ รูปแบบการทำงาน กฎ 2 “ล” เล็ก ๆ แลกเปลี่ยน แบบมีพี่เลี้ยง รพ. ลาดยาว รพ. สปร. รพ. บรรพตพิสัย

22 ที่ผ่านมาเราทำอะไร อย่างไร รพ.นำร่อง นำเสนอข้อมูล
EWI ต่อคณะกรรมการ พัฒนาคุณภาพฯ

23 ทีมเภสัชกรแลกเปลี่ยนแนวทาง
การประเมิน Adherence

24 สิ่งที่พัฒนาต่อ รพ. นำร่อง EWI และ รพ.ขยายในปี 2555
-เชิญชวนเข้าร่วมประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาหลักสูตร การพัฒนาคุณภาพการดูแลรักษาผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ -จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ขยายวงไปยัง รพ.เครือข่าย (กิจกรรมนี้จะไม่ดำเนินการหากซ้ำซ้อนกับ สคร.8)

25 ขอขอบคุณเบื้องหลังคนสร้างงานทุกๆ ท่าน ที่ไม่สามารถกล่าวถึงได้ทั้งหมด
สอวพ. TUC สคร.8. เภสัชกร HIV-Coordinator ขอขอบคุณเบื้องหลังคนสร้างงานทุกๆ ท่าน ที่ไม่สามารถกล่าวถึงได้ทั้งหมด จบแล้วคะ ศอ.8. สปสช. ฯลฯ แกนนำจิตอาสา MCH - AIDS


ดาวน์โหลด ppt จากก้าวแรก EWI สู่การพัฒนางาน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google