งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อม

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อม"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อม

2 ชุมชนท้องถิ่นดั้งเดิม
รัฐธรรมนูญ พ.ศ.2540 บัญญัติให้กลุ่มต่างๆ ร่วมกันดูแลทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม องค์การอิสระ รัฐ องค์กรปกครอง ท้องถิ่น ม.290 องค์กรพัฒนาเอกชน และสถาบันการศึกษา ม.56 ชุมชนท้องถิ่นดั้งเดิม ม.46 ประชาชน ม.59

3 การมีสุขภาพแข็งแรง (Health)
ความหมายสุขภาพ การมีสุขภาพแข็งแรง (Health) ร่างกาย (Physical Health) จิตใจ (Mental Health) สังคม (Social Health) ปัญญา/จิตวิญญาณ (Spiritual Health)

4 ความหมายของสิ่งแวดล้อม
สิ่งต่าง ๆ ทั้งทางธรรมชาติและทางสังคมที่อยู่รอบ ๆ มนุษย์ทั้งที่ดีและไม่ดี (พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตสถาน พ.ศ.2542)

5 สาเหตุของปัญหาสิ่งแวดล้อม
การกระทำโดยตรงของมนุษย์ การพัฒนาและการใช้เทคโนโลยี การเพิ่มจำนวนของประชากร

6 หลักการป้องกันและแก้ไข ปัญหาสิ่งแวดล้อม
หลักการป้องกันและแก้ไข ปัญหาสิ่งแวดล้อม การระดมความมีส่วนร่วม การจัดสิ่งแวดล้อมให้ถูกสุขลักษณะ การจัดหรืออำนวยความสะดวก การให้การศึกษากับประชาชน การใช้มาตรการทางกฎหมาย

7 การดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ
25 การดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ พัฒนาระบบ การดำเนินงาน ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม ค้นหาปัญหาที่เป็น อันตรายต่อสุขภาพ จากข้อมูลการเฝ้าระวัง รับรองมาตรฐาน คุณภาพอนามัย สิ่งแวดล้อม& คุณภาพชีวิต จัดหาแนวทางคู่มือเกณฑ์ กำหนดมาตรการ มาตรฐานงาน ต่างๆภายใต้กฎหมายสาธารณสุข &กฎหมายที่เกี่ยวข้อง พัฒนาเทคโนโลยีที่ เหมาะสม&ถ่ายทอดสู่ เครือข่าย/ชุมชน/ท้องถิ่น องค์กรภายใต้กลยุทธ์ เมืองน่าอยู่ จัดระบบตรวจสอบ ติดตามประเมินผล& จัดระบบการ เฝ้าระวังต่อเนื่อง

8 การผลิตภาค การเกษตรกรรม
ทำลาย กระทรวงเกษตร (พรบ.วัตถุอันตรา/ พรบ.ฆ่าจำหน่ายเนื้อสัตว์ / พรบ.โรคระบาดสัตว์) ผลกระทบต่อคุณภาพ สวล. -ที่ดิน -แร่ธาติ -แม่น้ำ ลำคลอง -ป่าไม้ -พลังงาน -อากาศ -สัตว์ป่า -ฯลฯ ทรัพยากรธรรมชาติ กระทรวงทรัพยากรฯ(พรบ.สวล.) -มาตรฐานสิ่งแวดล้อม -มาตรฐานโรงฆ่าสัตว์/ที่พัก/ การผลิตภาค การเกษตรกรรม การผลิตภาค อุตสาหกรรม ธุรกิจภาคบริการ กิจการ SME. กิจการในชุมชน -มลพิษทางน้ำ -อากาศเสีย -มาตรฐานสิ่งแวดล้อม -เขตอนุรักษ์/ควบคุมมลพิษ การเพาะปลูก การปศุสัตว์ I -มาตรฐานสารเคมีอันตราย สภาพ แวดล้อมในการทำงาน -มลพิษทางน้ำ -อากาศเสีย -กากของเสีย –สิ่งปฏิกูลมูลฝอย ฝุ่น ละออง เสียง แสง รังสี ความร้อน ความสั่นสะเทือน ฯลฯ -สารเคมีกำจัดศัตรูพืช -ปุ๋ยเคมี /ปุ๋ยชีวภาพ -น้ำเสีย / มูลสัตว์ -สัตว์พาหะนำโรค กระทรวงอุตสาหกรรม (พรบ.โรงงงาน -มาตรฐานน้ำ/อากาศเสีย กระทรวงมหาดไทย (พรบ.อาคาร / พรบ.ผังเมือง / พรบ.รักษาฯ / -สวัสดิการ/สภาพแวดล้อมในการทำงาน กระทรวงแรงงาน (พรบ.คุ้มครองแรงงาน) สภาพแวดล้อมของชุมชน / บริเวณที่หรือทางสาธารณะ สุขภาพ ประชาชน การจราจร หาบเร่/แผงลอย อปท. การสร้างอาคาร ตลาด/ร้านอาหาร กระทรวงสาธารณสุข (พรบ.สธ. /พรบ.อาหาร/ พรบ.โรคติดต่อ พรบ.สถานพยาบาล) อปท. กรมขนส่งทางบก / สำนักงานตำรวจแห่งชาติ (พรบ.ขนส่งฯ / จราจร) โรงเรียน โรงพยาบาล กิจการอื่นๆ

9 งานอนามัยสิ่งแวดล้อม 17 เรื่อง
บทบาทของภาคีในขอบเขตงานอนามัยสิ่งแวดล้อม Positioning ของกรมอนามัย Developer Facilitator Coordinator งานอนามัยสิ่งแวดล้อม 17 เรื่อง งานตาม กม.สธ. งานนอก เหนือ กม. งานตาม กม.สวล.อื่นๆ 3 กรณีปัญหาที่เกิดขึ้นในอนาคต สร้างองค์ความรู้ กลไก พรบ.สธ. Supportive Env. For H. กลไก HIA. อปท. + สสจ.(ภูมิภาค) ภาคี (กระทรวงอื่น) จัดการให้ชุมชน / เมือง / ประชาชน อยู่ในสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพดี 1 2 ใช้ พรบ.สธ.เป็นเครื่องมือ ชี้แนะ นำเสนอ

10 หนทางสู่..เมืองน่าอยู่
การทำ… “เมืองน่าอยู่” คือ การสร้างความเข้มแข็งของชุมชน สร้างความมั่นคงและสภาพแวดล้อมที่ดี ทั้งทางเศรษฐกิจ สังคมสิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรม ให้ประชาชนอยู่ดีมีสุข โดยอาศัยความร่วมมือจากทุกภาคส่วน มุ่งให้เกิดบูรณาการ เกิดความสมดุลในทุกด้านและนำไปสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน

11 สุขภาพกับเมืองน่าอยู่
แนวคิด เป็นการพัฒนารูปแบบสุขภาพเชิงบวก (Positive Model of Health) เป็นการพัฒนาสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการมีสุขภาพ(Ecological Model of Health) กลยุทธ์ มุ่งเน้นที่กระบวนการ(Focus on Process) สร้างนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพ(Healthy Public Policy) สร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชน(Community Empowerment)

12 “การพัฒนางานอนามัยสิ่งแวดล้อม” การพัฒนาที่ยั่งยืนเริ่มที่คน
ต้องร่วมคิด ร่วมทำ การพัฒนาที่ยั่งยืนเริ่มที่คน

13 เกณฑ์ด้านกระบวนการ 5 ข้อ
อ.ป.ท. มีนโยบายและแผนดำเนินงานเมืองน่าอยู่ด้านสุขภาพ จ.น.ท. ผู้รับผิดชอบงานด้านสุขภาพได้รับการถ่ายทอดความรู้เกี่ยวกับเมืองน่าอยู่ด้านสุขภาพ หรือกฎหมายสาธารณสุข ภาคีเครือข่าย หรือผู้นำชุมชนมีส่วนร่วมในการดำเนินงาน มีเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ หรือการศึกษาดูงาน มีการพัฒนาระบบฐานข้อมูลด้านสุขภาพ

14 เกณฑ์ด้านผลสัมฤทธิ์ ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ ) ตลาดสดประเภทที่ 1 ได้มาตรฐานตลาดสดน่าซื้อ 70% 2) ร้านอาหารและแผงลอยได้มาตรฐาน CFGT 70% 3) ระบบประปาในชุมชนได้มาตรฐานประปาดื่มได้ 100% การจัดการของเสียชุมชน 4) มูลฝอยทั่วไป มีระบบจัดการตามหลักสุขาภิบาล 5) รถดูดส้วมมีการควบคุม มีระบบขนถ่ายและกำจัดที่ถูก สุขลักษณะ 6) ส้วมสาธารณะใน วัด ปั๊มน้ำมัน ร.พ. โรงเรียน ได้มาตรฐาน HAS

15 เกณฑ์ด้านผลสัมฤทธิ์ การคุ้มครองสุขภาพด้วยมาตรการกฎหมายสาธารณสุข
7) มีการออกเทศบัญญัติ /ข้อบัญญัติ อ.บ.ต. อย่างน้อย เรื่อง 8) มีระบบการจัดการเหตุรำคาญ และหากมีเหตุรำคาญ สามารถแก้ไขได้มากกว่า 60% ของเรื่องทั้งหมด


ดาวน์โหลด ppt การจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อม

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google