งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานป้องกันและควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาล

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "งานป้องกันและควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาล"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 งานป้องกันและควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาล
ระบบดี TB ห่างไกล งานป้องกันและควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาล

2 วัณโรค วัณโรค เป็นโรคติดเชื้อแบคทีเรียที่มีหลักฐาน ทางวิทยาศาสตร์ ยืนยันว่า เป็นสาเหตุการเสียชีวิตสำคัญของบรรพบุรุษของเรามากกว่า หกพันปี

3 วัณโรค  เกิดจากเชื้อ Mycobacterium Tuberculosis  ติดต่อผ่านทางอากาศ (Airborne)  เชื้อเข้าร่างกายแล้วจะฝังตัวที่เนื้อปอด แบ่งตัว แล้วไปตามกระแสน้ำเหลืองที่ขั้วปอด เข้าสู่ กระแสเลือด

4 ความชุกของวัณโรค ความชุกของผู้ป่วยวัณโรคทั่วโลกคือ ๑๔.๔ ล้านคน (๒๑๙ ต่อแสนประชากร) โดยเป็นผู้ป่วยใหม่ ๙.๑๕ ล้านคน หรือ ๑๓๙ ต่อแสนประชากร ในจำนวนนี้มี ๑.๖๖ ล้านคนเสียชีวิต ประเทศไทย มีผู้ป่วยวัณโรคเป็น อันดับ ๑๘ ของโลก โดยมีผู้ป่วย ๑๒๕,ooo รายคิดเป็น ๑๙๗ ต่อประชากรแสนคน และมีผู้ป่วยเสียชีวิต ๑๓,ooo ราย คิดเป็น ๒o ต่อประชากรแสนคน

5 การแพร่กระจายเชื้อวัณโรคในโรงพยาบาล
 จากผู้ป่วยสู่ผู้ป่วยอื่น  จากผู้ป่วยสู่บุคลากร  จากบุคลากรสู่ผู้ร่วมงาน

6 สาเหตุของการแพร่กระจายเชื้อวัณโรค ในโรงพยาบาล
 วินิจฉัยโรคช้า  ได้ผลการตรวจเสมหะช้า  การแยกผู้ป่วยไม่ได้มาตรฐาน  ไม่ได้ใช้ PPE ขณะทำหัตถการ

7 มาตรการป้องกันและควบคุม การแพร่กระจายเชื้อ
 ค้นหาผู้ป่วยระยะแพร่เชื้อ จัดห้องแยกให้เหมาะสม ให้ยาที่ถูกต้องเหมาะสมและรวดเร็ว  ควบคุมสิ่งแวดล้อม โดยการจัดสถานที่ให้มีแสงส่องถึง  ใช้ PPE เพื่อป้องกันบุคลากร คัดกรองบุคลากร ที่ได้รับเชื้อแล้ว

8 การดำเนินการ * แต่งตั้งคณะทำงาน * กำหนดตัวชี้วัดเฉพาะจุด
* จัดระบบ fast track * แต่งตั้งคณะทำงาน * กำหนดตัวชี้วัดเฉพาะจุด * ผลักดันให้ระบบทำงานได้

9 การวินิจฉัยโรคได้เร็วขึ้น
ระบบ fast track เดิม ระบบใหม่ ไม่มีการคัดกรองผู้ป่วย ทำให้มีผู้ป่วย วัณโรคปะปนอยู่หน้าหน้าห้องตรวจ (โอกาสแพร่กระจายเชื้อสูง) - คัดกรอง ค้นหากลุ่มเสี่ยง (ซักประวัติ ไอมากกว่า 2 สัปดาห์ ไข้เรื้อรัง น้ำหนักลด) - ให้ผู้ป่วยสวม mask ได้เร็วขึ้น (ลดการแพร่กระจายเชื้อ) - ส่งเอกซเรย์ได้เลย (ไม่ต้องรอแพทย์สั่งลดขั้นตอนและระยะเวลาแพร่เชื้อ) - พบแพทย์ได้ทันที (ลดโอกาสแพร่เชื้อ) เพื่อค้นหาผู้ป่วย ส่งเสริมให้มี การวินิจฉัยโรคได้เร็วขึ้น

10 ระบบ fast track (ต่อ) เดิม ระบบใหม่ เก็บเสมหะตอนเช้าเท่านั้น (รอเก็บวันถัดไป) ทำให้ผลออกช้าผู้ป่วยนอนรวมในสามัญ - เก็บเสมหะส่งตรวจทันที ( เวลาใดก็ได้ เก็บ 3 ครั้ง ใน 2 วัน) - ส่ง Sputum AFB ได้จนถึงเวลา น. สามารถตรวจและออกผลได้ภายใน 2 ชั่วโมง - กรณีด่วน สามารถส่งตรวจเวรดึกได้ การตรวจเสมหะล่าช้า

11 ระบบ fast track (ต่อ) - มีเกณฑ์ในการเข้า - ออกห้องแยก
เดิม ระบบใหม่ รอผลตรวจเสมหะนาน ทำให้เข้าห้องแยกช้า - มีเกณฑ์ในการเข้า - ออกห้องแยก - จัดระบบห้องแยก ให้มีทุกหอผู้ป่วย การแยกไม่ได้มาตรฐาน

12 Guide line fast track TB
ผู้ป่วยมีอาการ URI ให้สวม mask จุดคัดกรองหน้าห้องบัตร ผู้ป่วยไอ >2 wks ค้นหากลุ่มเสี่ยง เข้า fast track ห้องตรวจอายุรกรรม เบาหวาน,ต่างด้าว ไข้เรื้อรัง น้ำหนักลด CXR พบแพทย์ห้องตรวจ 4 ประเมินอาการ อาการแสดง CXR สั่งยา ส่ง AFB ,สั่งยา ห้องยา - เก็บเสมหะ - Lab ตรวจ AFB - เภสัช จ่ายยา TB clinic

13 ผลการดำเนินงาน (เริ่ม fast track TB เดือนมิถุนายน 54)

14 ตัวชี้วัด: OPD ระยะเวลาที่ผู้ป่วยเสมหะพบเชื้ออยู่ในรพ.< 3 ชม.
ผลการดำเนินงาน ตัวชี้วัด: OPD ระยะเวลาที่ผู้ป่วยเสมหะพบเชื้ออยู่ในรพ.< 3 ชม. เป้าหมาย > 80% ข้อมูล มิ.ย. 54 – มี.ค. 55 จำนวนผู้ป่วยเข้า fast track TB 42 ราย เป็นวัณโรคแบบเสมหะพบเชื้อ 19 ราย ผู้ป่วยเสมหะพบเชื้ออยู่ในรพ. < 3 ชม. ระยะเวลาเฉลี่ยที่ผู้ป่วยอยู่ในรพ. 2 ชม. 30 นาที การคัดกรอง ลดการแพร่เชื้อ

15 แผนภูมิแสดงระยะเวลาผู้ป่วยวัณโรค AFB positive อยู่ในห้องฉุกเฉิน
ที่ผู้ป่วยอยู่ใน ER < 30 นาที แผนภูมิแสดงระยะเวลาผู้ป่วยวัณโรค AFB positive อยู่ในห้องฉุกเฉิน

16 ตัวชี้วัดที่ IPD ตัวชี้วัดผลลัพธ์การดำเนินงาน เป้าหมาย
ผู้ป่วย AFB + ve เข้าห้องแยกภายใน 48 ชั่วโมง > 80 % ตัวชี้วัดกระบวนการ ได้รับผล AFB ภายในวันที่ส่งตรวจ ผู้ป่วยเข้าห้องแยกภายในวันที่ทราบผล AFB + ve

17 แผนภูมิแสดงระยะเวลาตั้งแต่มีorder-ได้รับผลตรวจAFB (ก่อนและหลัง fast track TB ปี2554)
หน่วย:ร้อยละ

18 แผนภูมิแสดงวันที่ผู้ป่วยวัณโรค AFB positive ได้เข้าห้องแยก
หน่วย:ร้อยละ

19 ตัวชี้วัดผลลัพธ์การดำเนินงาน
OPD ได้ 100 % (19 ราย) ระยะเวลาที่ผู้ป่วยนอก AFB +ve อยู่ในรพ.< 3 ชม > 80% ER ได้ 0 % ระยะเวลาที่ผู้ป่วยใน AFB +ve ผ่าน ER < 30 นาที > 80% IPD ได้ % (6 ราย) ผู้ป่วย AFB +ve ได้เข้าห้องแยกภายใน 48 ชม.หลัง admit > 80%

20 Fast track TB การเข้าห้องแยกภายใน 48 ชม. ยังไม่ได้ตามเป้าหมาย มีร้อยละ 36 ที่ได้เข้าห้องแยกหลัง admit 2 วัน ทั้งนี้เนื่องจาก... ปัญหาห้องแยกไม่เพียงพอ และ การบริหารจัดการเข้าห้องแยก ไม่ได้ตามตัวชี้วัด ซึ่งขณะนี้กำลังดำเนินการให้มีห้องแยกและมีระบบ การบริหารจัดการที่ดี

21 ข้อเสนอแนะ ศึกษาเฉพาะเจาะจงเรื่องการใช้ PPE ในการ ป้องกันวัณโรคโดยเฉพาะ เพื่อครอบคลุมถึง สาเหตุของการแพร่กระจายเชื้อวัณโรคใน โรงพยาบาล

22


ดาวน์โหลด ppt งานป้องกันและควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาล

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google