งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ตัวชี้วัดที่ 3 ระดับความสำเร็จในการพัฒนาบริการผู้ป่วยโรคจิตให้เข้าถึงบริการเพิ่มขึ้นในพื้นที่ เป้าหมาย จำนวนผู้ป่วยโรคจิตที่เข้าถึงบริการเพิ่มขึ้นร้อยละ.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ตัวชี้วัดที่ 3 ระดับความสำเร็จในการพัฒนาบริการผู้ป่วยโรคจิตให้เข้าถึงบริการเพิ่มขึ้นในพื้นที่ เป้าหมาย จำนวนผู้ป่วยโรคจิตที่เข้าถึงบริการเพิ่มขึ้นร้อยละ."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ตัวชี้วัดที่ 3 ระดับความสำเร็จในการพัฒนาบริการผู้ป่วยโรคจิตให้เข้าถึงบริการเพิ่มขึ้นในพื้นที่
เป้าหมาย จำนวนผู้ป่วยโรคจิตที่เข้าถึงบริการเพิ่มขึ้นร้อยละ 5

2 ขั้นตอน 6 เดือนแรก การดำเนินงาน หลักฐาน คะแนน 1
สำรวจข้อมูลจำนวนผู้ป่วยโรคจิตที่มารับบริการในหน่วยบริการสาธารณสุขแยกเป็นรายจังหวัดในพื้นที่เขตสุขภาพ - สรุปข้อมูลผู้ป่วยโรคจิตรายคนที่มารับการรักษาที่หน่วยบริการสาธารณสุขในพื้นที่จังหวัดของเขตบริการสุขภาพที่รับผิดชอบ (ตามแบบฟอร์ม PSY 1) 2 อบรมพัฒนาศักยภาพบุคลากรสาธารณสุข ได้แก่ แพทย์ พยาบาล/นักวิชาการ/เจ้าพนักงานสาธารณสุข ในทุกหน่วยบริการสาธารณสุข ด้านความรู้เรื่องโรคจิต (หน่วยบริการอย่างน้อย 1 คน) - ทำเนียบ/ทะเบียนของ แพทย์ พยาบาล/นักวิชาการ/เจ้าพนักงานสาธารณสุข ในทุกหน่วยบริการสาธารณสุข ที่เข้ารับการอบรม (หน่วยบริการอย่างน้อย 1 คน) (ตามแบบฟอร์ม PSY 2)

3 ขั้นตอน 6 เดือนแรก การดำเนินงาน หลักฐาน คะแนน 3
ดำเนินงานตามโครงการการพัฒนาการเข้าถึงบริการโรคจิตในพื้นที่นำร่อง โดย 3.1 กำหนดพื้นที่นำร่อง* ที่มีความเข้มแข็งของเครือข่ายและมีศักยภาพในการดำเนินงานสุขภาพจิตที่เชื่อมโยงกับหน่วยบริการสาธารณสุขทุกระดับและชุมชน 3.2 จัดประชุมชี้แจงวิเคราะห์สภาพปัญหาและความต้องการด้านโรคจิตในพื้นที่นำร่อง 3.3 อบรม อสม. อย่างน้อยร้อยละ 80 ในพื้นที่นำร่อง เอกสารระบุพื้นที่นำร่อง (ตามแบบฟอร์ม PSY 3) - ข้อมูลพื้นฐานของพื้นที่นำร่อง - จำนวนประชากรในพื้นที่นำร่อง - ข้อมูลการเข้าถึงบริการโรคจิตในพื้นที่ นำร่อง - จำนวนสถานบริการในพื้นที่นำร่อง - วิเคราะห์สภาพปัญหาและความต้องการด้านโรคจิตในพื้นที่นำร่อง - ทำเนียบ/ทะเบียนของ อสม. ที่เข้ารับการอบรมอย่างน้อยร้อยละ 80 ในพื้นที่นำร่อง (ตามแบบฟอร์ม PSY 4) 2 (1) ขั้นตอน 6 เดือนแรก

4 ขั้นตอน 6 เดือนหลัง ขั้นตอน การดำเนินงาน หลักฐาน คะ แนน 4
4.1 สนับสนุน เสริมพลัง เพื่อผลักดันการดำเนินงาน 4.2 นิเทศติดตามการดำเนินงานในพื้นที่นำร่อง - รายงานผลการติดตามการดำเนินงานในพื้นที่นำร่อง - สรุปผลการนิเทศการดำเนินงานในพื้นที่นำร่อง 3

5 ขั้นตอน 6 เดือนหลัง ขั้น ตอน การดำเนินงาน หลักฐาน คะแนน 5
ผลการพัฒนา โดยใช้สูตร 2 จำนวนผู้ป่วยโรคจิตที่เข้าถึงบริการ หลังการดำเนินโครงการในพื้นที่นำร่องปี งปม.2557– จำนวนผู้ป่วยโรคจิตที่ได้รับการวินิจฉัยก่อนดำเนินโครงการ x 100 จำนวนผู้ป่วยโรคจิตที่เข้าถึงบริการหลังการดำเนินโครงการในพื้นที่นำร่องปีงบประมาณ 2557 คะแนน ผลการดำเนินงาน ไม่เพิ่มขึ้น 0.4 เพิ่มขึ้นร้อยละ 1 0.8 เพิ่มขึ้นร้อยละ 2 1.2 เพิ่มขึ้นร้อยละ 3 1.6 เพิ่มขึ้นร้อยละ 4 2 เพิ่มขึ้นร้อยละ 5


ดาวน์โหลด ppt ตัวชี้วัดที่ 3 ระดับความสำเร็จในการพัฒนาบริการผู้ป่วยโรคจิตให้เข้าถึงบริการเพิ่มขึ้นในพื้นที่ เป้าหมาย จำนวนผู้ป่วยโรคจิตที่เข้าถึงบริการเพิ่มขึ้นร้อยละ.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google