งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การวิจัยและพัฒนาสารสกัดสมุนไพร โดย ภก.สมนึก สุชัยธนาวนิช

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การวิจัยและพัฒนาสารสกัดสมุนไพร โดย ภก.สมนึก สุชัยธนาวนิช"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การวิจัยและพัฒนาสารสกัดสมุนไพร โดย ภก.สมนึก สุชัยธนาวนิช
การวิจัยและพัฒนาสารสกัดสมุนไพร โดย ภก.สมนึก สุชัยธนาวนิช ศูนย์พัฒนายาไทยและสมุนไพร สถาบันการแพทย์แผนไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก

2 ห่วงโซ่แห่งมูลค่าเพิ่ม
ปลายน้ำ ต้นน้ำ กลางน้ำ ห่วงโซ่แห่งมูลค่าเพิ่ม 50 % up 25-30% 30-50% 10-15% วัตถุดิบ พัฒนาผลิตภัณฑ์ จัดจำหน่าย เข้าสู่ตลาด

3

4 ทำไมต้องสารสกัด ? การใช้งาน การเก็บรักษา - เก็บไว้ใช้ได้ตลอดปี
ทำไมต้องสารสกัด ? การใช้งาน - เก็บไว้ใช้ได้ตลอดปี - การเตรียมสารสกัดโดยคำนึงถึงด้านการใช้งาน (ลักษณะสารสกัด,การละลาย) ความปลอดภัย - สามารถเลือกสกัดเอาสารที่ต้องการโดยหลีกเลี่ยงสารพิษในสมุนไพร - ลดการปนเปื้อนเชื้อจุลินทรีย์และแบคทีเรียที่อยู่ในวัตถุดิบสมุนไพร การเก็บรักษา - เก็บไว้ได้นาน ประหยัดเนื้อที่ คุณภาพ - สามารถควบคุมได้ - ทำ specification sheet

5 วิธีสกัดแบบไหน เหมาะกับงานของเรา ?
วิธีสกัดแบบไหน เหมาะกับงานของเรา ? สารที่ต้องการ/ไม่ต้องการ วิธีการสกัดที่เหมาะสม ตัวทำละลายที่เหมาะสม ต้นทุน การนำไปใช้ ลักษณะของสารสกัดที่ต้องการ การนำไปใช้ ใช้ภายนอก ใช้ภายใน ภูมิปัญญา วิธีการสกัดที่เหมาะสม ผลการรักษา

6 การควบคุมคุณภาพ ลักษณะภายนอก ความชื้น การปลอมปน
วัตถุดิบ ลักษณะภายนอก ความชื้น การปลอมปน การปนเปื้อนเชื้อจุลินทรีย์ สารสกัด ปริมาณสารสำคัญที่ต้องการ/ไม่ต้องการ การปนเปื้อนโลหะหนัก/จุลินทรีย์

7 วิธีการตรวจสอบปริมาณสารในสารสกัด
Thin Layer Chromatography ใช้ได้กับทั้งวัตถุดิบและสารสกัด ตรวจสอบคุณภาพเบื้องต้น เร็วและง่าย UV-Vis Spectroscopy ตรวจสอบปริมาณสารที่ดูดซับแสงช่วง UV-Vis ใฃ้งานง่ายและรวดเร็ว ไม่สามารถวิเคราห์สารบางจำพวกได้ และมีปัญหาในกรณีมีสีของสารอื่นๆรบกวน High Performance Liquid Chromatography ตวจวิเคราะห์อย่างละเอียด ทั้งคุณภาพและปริมาณวิเคราห์ ราคาแพง และต้องใช้ความชำนาญในการปฎิบัติ Gas-Liquid Chromatography ตรวจวิเคราะห์สารที่ระเหยได้ เช่น น้ำมันหอมระเหย ราคาแพงและต้องใช้ความชำนาญในการปฎิบั ติ

8 กรรมวิธีการสกัด การหมัก (Marceration) การชง (Percolation)
การต้ม (Decoction) Soxhlet apparatus การสกัดแบบกรอง (Filtration) การสกัดโดยใช้เครื่องเหวี่ยงหนีศูนย์กลาง (Centrifugation) Liquid-Liquid extractor

9 กรรมวิธีการสกัด การสกัดน้ำมันหอมระเหย Resorption Solvent extraction
Mechanical expression Stream distillation Water distillation Supercritical fluid extraction Molecular Distillation

10 Fundamental Substance Studies
San Huang tablets prescription Rhubarb g Scutellaria extract g Berberine hydrochloride g Make into 1000 tablets

11 (Emodin, Physcion, Chrysophanol, Aloe-emodin, Rhein) In Rhubarb
Chrysophanol Rhein

12 Baicalin in Scutellaria
Berberine hydrochloride

13 The old Extract Technique
Rhubarb Scutellaria Half Extract 3 times 30%EtoH Other Crush Water Dry cream Fine powder Water solution Acid Deposit Mixed Semi-product (Anthraquinones ~4%) (Baicalin >70%)

14 New Extraction Technique of Rhubarb
Extract 3 times 30% EtOH Extract solution Reclaim EtOH Water solution Ion-exchange Rhubarb extract (Anthraquinones >50%)

15

16

17

18


ดาวน์โหลด ppt การวิจัยและพัฒนาสารสกัดสมุนไพร โดย ภก.สมนึก สุชัยธนาวนิช

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google