งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

โลจิสติกส์กับการเพิ่มขีดความสามารถ ในการแข่งขันของประเทศ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "โลจิสติกส์กับการเพิ่มขีดความสามารถ ในการแข่งขันของประเทศ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 โลจิสติกส์กับการเพิ่มขีดความสามารถ ในการแข่งขันของประเทศ
โดย นายสุรพล ว่องวัฒนโรจน์ ประธานสภาผู้ส่งสินค้าทางเรือแห่งประเทศไทย พฤศจิกายน 2547 ณ กรมการค้าต่างประเทศ

2 หัวข้อการนำเสนอ แนะนำสภาผู้ส่งสินค้าทางเรือฯ (TNSC)
หลักการของโลจิสติกส์ และสภาพปัจจุบันของไทย ความสำคัญของโลจิสติกส์และการอำนวยความสะดวกทางการค้า บทบาทของกระทรวงพาณิชย์ในด้านโลจิสติกส์และการอำนวยความสะดวกทางการค้า บทสรุปและข้อเสนอแนะ

3 หัวข้อการนำเสนอ แนะนำสภาผู้ส่งสินค้าทางเรือฯ (TNSC)
หลักการของโลจิสติกส์ และสภาพปัจจุบันของไทย ความสำคัญของโลจิสติกส์และการอำนวยความสะดวกทางการค้า บทบาทของกระทรวงพาณิชย์ในด้านโลจิสติกส์และการอำนวยความสะดวกทางการค้า บทสรุปและข้อเสนอแนะ

4 สภาผู้ส่งสินค้าทางเรือแห่งประเทศไทย (สรท.)
Thai National Shippers’ Council (TNSC) เป็นนิติบุคคล จัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติสภาผู้ส่งสินค้าทางเรือแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2537 มีสมาชิก 2,700 ราย ซึ่งเป็นผู้ส่งออกที่มีมูลค่าการส่งออกตั้งแต่ 50 ล้านบาทขึ้นไป สมาชิก TNSC คิดเป็น 28% ของจำนวนผู้ส่งออกทั้งหมด มูลค่าการส่งออกของสมาชิก คิดเป็น 37% ของมูลค่าการส่งออกทั้งประเทศ

5 เป็นสถาบันแกนนำในการเพิ่ม ขีดความสามารถด้าน Logistics
วิสัยทัศน์ของ TNSC เป็นสถาบันแกนนำในการเพิ่ม ขีดความสามารถด้าน Logistics และ Supply Chain

6 TNSC VALUES T N S C Team Spirit Task Based Learning Talent Enhancement
= Team Task & Talent Team Spirit Task Based Learning Talent Enhancement N = Networking Networking Internationally Networking Alliance through IT System S = Speed & Service Speedy Responsiveness Service with full Innovative and Integrity C = Customer Champion Customer Knowledge Provider Champion of Excellence

7 Your Logistics Solution
TNSC SLOGAN Your Logistics Solution is our Mission

8 Strategy Map ของ TNSC : ปี 2006
Recognition Acquire new members Stakeholders Retain old members Government Delighted Customer Academics Private Sectors Customer Engagement Public Relation Int. Process Good Governance Service Innovation CRM Knowledge Inventory Data Warehouse Training & Development Le & growth Competence & Engaged Workforce Information System & Technology Financial Membership Fee Service Fee Training Fee Government Grant

9 การลงนามบันทึกความร่วมมือในการพัฒนาโลจิสติกส์
ภาคเอกชน ในประเทศ สภาหอการค้าแห่งประเทศไทย ภาคเอกชน ต่างประเทศ Hong Kong Shippers’ Council Japan External Trade Organization (JETRO) สถาบันการศึกษา สถาบันขนส่ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

10 สำนักงาน TNSC 1168/97 อาคารลุมพินีทาวเวอร์ ชั้น 32 ถนนพระราม 4 แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพฯ โทร โทรสาร อีเมล์ : เว็บไซด์ :

11

12 หัวข้อการนำเสนอ แนะนำสภาผู้ส่งสินค้าทางเรือฯ (TNSC)
หลักการของโลจิสติกส์ และสภาพปัจจุบันของไทย ความสำคัญของโลจิสติกส์และการอำนวยความสะดวกทางการค้า บทบาทของกระทรวงพาณิชย์ในด้านโลจิสติกส์และการอำนวยความสะดวกทางการค้า บทสรุปและข้อเสนอแนะ

13 คำนิยามของโลจิสติกส์ (Logistics)
การบริหารจัดการโลจิสติกส์เป็นส่วนหนึ่งของการบริหารจัดการระบบโซ่อุปทาน ซึ่งรวมเรื่องของการวางแผน การดำเนินการ การควบคุม การไหลเวียน และการจัดเก็บสินค้า บริการ และสารสนเทศ อย่างมีประสิทธิภาพและมีประสิทธิผล จากจุดเริ่มต้นจนถึงจุดของการบริโภค เพื่อตอบสนองความต้องการของผู้บริโภค ที่มา : Council of Logistics Management

14 Logistics and Supply Chain
การบริการลูกค้า การพยากรณ์ความต้องการ การสื่อสารการกระจายสินค้า การควบคุมสินค้าคงคลัง การยกขนวัสดุ กระบวนการสั่งซื้อ การสนับสนุนอะไหล่และบริการ การเลือกที่ตั้งโรงงาน/คลังสินค้า การจัดซื้อจัดหา การบรรจุหีบห่อ การจัดการสินค้าส่งคืน การนำกลับมาใช้ใหม่ การขนส่ง คลังสินค้า Logistics ผู้จัดส่งวัตถุดิบ ผู้กระ จาย สินค้า ค้าปลีก/ส่ง ผู้ บริโภค ผู้ผลิต จัดส่ง ผลิต จัดซื้อ

15 การประยุกต์แนวคิดการบริหารจัดการระบบโซ่อุปทานกับหน่วยงานภาครัฐ
พาณิชย์ อุตสาหกรรม แรงงาน คลัง เกษตร มหาดไทย สาธารณสุข ศึกษาธิการ ศึกษาธิการ คลัง พัฒนา สังคม ประชากร เกิดใหม่ การศึกษา ขั้นพื้นฐาน ขั้นสูง ประกอบ อาชีพ เกษียณ กระทรวงมหาดไทย / กระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงมนุษย์ กระทรวงสาธารณสุข / กระทรวงยุติธรรม ที่มา : สภาผู้ส่งสินค้าทางเรือฯ

16 ประมาณการต้นทุนโลจิสติกส์ ต่อ GDP ปี 2002
จีน 35.0% อินเดีย 20.0% ไทย 19.17% ญี่ปุ่น 11.3% อังกฤษ 10.6% สหรัฐฯ 8.7% สิงคโปร์ 8.0% 0% 5% 10% 15% 20% 25% 30% 35% 40% ที่มา : โครงการพัฒนาฐานข้อมูลภาพรวมต้นทุนและมูลค่าเพิ่มอุตสาหกรรมโลจิสติกส์ โดยสถาบันวิจัย และให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เสนอต่อสภาพัฒน์ฯ (พ.ย. 47)

17 เปรียบเทียบสัดส่วนต้นทุนโลจิสติกส์ ต่อ GDP ของไทย
Cost/GDP 25.67% 25.25% 2541 8.82% 0.22% 13.54% 3.09% 19.17% 2538 8.43% 0.25% 13.48% 3.09% 2545 8.61% 0.22% 7.25% 3.09% Admin. cost Inventory holding cost Warehousing cost Transportation

18 ปัญหาด้านโลจิสติกส์ที่สำคัญของไทย
โครงสร้าง พื้นฐาน สถานี Inland Container Depot (ICD) ไม่เพียงพอ ไม่สามารถรองรับการเชื่อมต่อระหว่าง Mode ได้ ขาดการส่งเสริมการขนส่งชายฝั่งและทางแม่น้ำ ขาดสิ่งอำนวยความสะดวกในการขนส่งทางรถไฟ ถนนเข้า/ออกท่าเรือแหลมฉบังแออัด ถนนทางเข้าสถานี ICD ชำรุด กฎระเบียบ มาตรการจำกัดน้ำหนักและความสูงของรถบรรทุกเป็น อุปสรรค กฎระเบียบทางศุลกากรไม่เอื้อต่อการทำธุรกิจ ขาดองค์กรรับผิดชอบด้านโลจิสติกส์ ผู้ประกอบการขนส่งต่อเนื่องหลายรูปแบบที่ไม่มีเรือ ของตนเอง ไม่ได้รับยกเว้น VAT ขาดกฎหมายส่งเสริม Logistics Service Providers ที่มา : การประชุมเชิงปฏิบัติการด้านการพัฒนาระบบโลจิสติกส์ จัดโดยสภาพัฒน์ฯ เมื่อวันที่ 1 พ.ย. 47 ณ โรงแรมรอยัล ปริ๊นเซส

19 ปัญหาด้านโลจิสติกส์ที่สำคัญของไทย (ต่อ)
บุคลากร ขาดกำลังคนด้านโลจิสติกส์ บุคลากรระดับบริหารขาดความรู้/เข้าใจแบบองค์รวม ขาดหลักสูตรอบรมวิชาชีพที่ได้มาตรฐาน ขาดการจัดทำระบบมาตรฐานคุณวุฒิวิชาชีพ จำนวนอาจารย์และ Trainer ไม่เพียงพอ เทคโนโลยี และข้อมูล ขาดองค์ความรู้ด้าน Strategic Benefit ของ IT โดยเฉพาะ SMEs ขาดนโยบายสนับสนุนแก่ IT Service Providers ขาดหน่วยงานกลางที่รับผิดชอบด้านการจัดทำ ฐานข้อมูล ไม่มีมาตรฐานการสร้างข้อมูลและฐานข้อมูล ระดับชาติ และขาดการเชื่อมโยงกับทุกระดับ โครงสร้างพื้นฐานและการเชื่อมโยงด้าน IT ไม่มี ประสิทธิภาพเพียงพอ

20 ในช่วงเดือนพฤศจิกายนนี้ TNSC ได้ดำเนินการโครงการพัฒนาบุคลากรด้านโลจิสติกส์ ในหลายโครงการ เช่น
Seminar โครงการ JEXA สัมมนาร่วมกับ JETRO “Trend of Logistics Development in Thailand and Japanese Cooperation” 17 พ.ย. 47 Training โครงการ J-front ฝึกอบรมบุคลากรด้านโลจิสติกส์ ร่วมกับ JETRO และ Japan Small Business Research Institute (JSBRI) วันที่ 22 พ.ย. – 20 ธ.ค. 47 Roadmap ด้าน Capacity Building จัดทำหลักสูตรการเรียนการสอนด้าน โลจิสติกส์ที่เหมาะสมกับภาคเศรษฐกิจต่างๆ วันที่ 25 พ.ย. 47

21 หัวข้อการนำเสนอ แนะนำสภาผู้ส่งสินค้าทางเรือฯ (TNSC)
หลักการของโลจิสติกส์ และสภาพปัจจุบันของไทย ความสำคัญของโลจิสติกส์และการอำนวยความสะดวกทางการค้า บทบาทของกระทรวงพาณิชย์ในด้านโลจิสติกส์และการอำนวยความสะดวกทางการค้า บทสรุปและข้อเสนอแนะ

22 ปัจจุบันยังไม่มีการกำหนดความหมายของคำว่า Trade Facilitation ที่เป็นมาตรฐาน
M. Baher El-Hifnawi (Senior Transport Economist ของ World Bank) อธิบายว่า “Trade and Transport Facilitation (TTF)” มีขอบเขตครอบคลุมประเด็นต่างๆ ดังนี้ TTF broadly defined goes beyond the standard issues of administration, procedures, logistics at ports and customs, regulatory environments and standards, and IT to include transport covering land access to ports and airports, maritime and aviation services, multi-modal transport and services, transit and more recently transport security

23 การประชุม APEC Economic Leaders ปี 2002 การประชุม APEC
เมื่อวันที่ 27 ตุลาคม 2002 ณ เมือง Los Cabos ประเทศเม็กซิโก “ ลด Transaction cost ในภูมิภาค ลง 5% ภายในปี 2006 ” เมื่อวันที่ 16 ตุลาคม 2003 ณ กรุงเทพฯ ประเทศไทย “ เร่งรัดให้ลด Transaction cost ลง 5% ภายในปี 2006 ซึ่งจะช่วยเพิ่มมูลค่าทางการค้าได้ 280 Billion US$ ต่อปี การประชุม APEC Economic Leaders ปี 2003

24 ดัชนีวัดการอำนวยความสะดวกทางการค้า (Trade Facilitation Index)
Port efficiency Port efficiency index Port facilities and inland waterways Air transport Customs environment Irregular payments Bribery & corruption Improper practices Corruption Hidden import perception index barriers Regulatory environment Transparency and stability Stringency of standards Compliance with int’ agreements Enforcement E-business Percentage of companies that use the internet for e-commerce ที่มา : World Bank (2003)

25 ประสิทธิภาพของ Ports ของไทยยังต่ำ
ค่าเฉลี่ย ไทย ประสิทธิภาพของ Ports ของไทยยังต่ำ สภาพแวดล้อมด้านศุลกากรยังไม่ดีพอ ที่มา : World Bank (2003)

26 สภาพแวดล้อมด้านกฎระเบียบยังต่ำกว่ามาตรฐาน
การใช้ E- business ของไทยต่ำที่สุด (ต่ำกว่าเวียดนามและอินโดนีเซีย) ที่มา : World Bank (2003)

27 ประโยชน์ของการบริหารจัดการด้านการอำนวยความสะดวกทางการค้าและโลจิสติกส์ที่มีประสิทธิภาพ
เพิ่มประสิทธิภาพของระบบการควบคุม เพิ่มปริมาณการค้าระหว่างประเทศ เพิ่มรายได้จากการจัดเก็บภาษี กระตุ้นให้เกิดเงินลงทุนทางตรงจากต่างประเทศ เสริมสร้างการพัฒนาเศรษฐกิจ สนับสนุนSMEs ในการทำธุรกิจระหว่างประเทศ ประโยชน์ต่อ ภาครัฐ ประโยชน์ต่อ ผู้ประกอบการ ช่วยลด Lead Time และลดความล่าช้าใน การทำธุรกรรมระหว่างประเทศ ช่วยให้สินค้าผ่านพิธีการศุลกากรได้สะดวกและ รวดเร็วขึ้น ลดต้นทุนในการทำธุรกรรม ตอบสนองความพึงพอใจของผู้บริโภค เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน

28 ประโยชน์ของการบริหารจัดการด้านการอำนวยความสะดวกทางการค้าและโลจิสติกส์ที่มีประสิทธิภาพ (ต่อ)
ประโยชน์ต่อ สังคม รักษาสภาพแวดล้อม ผลดีต่อสุขภาพของประชาชน ความปลอดภัยของประชาชน

29 ประโยชน์ทางเศรษฐกิจที่ได้รับในเชิงปริมาณ
ถ้าสมาชิก APEC เพิ่มประสิทธิภาพการอำนวยความสะดวกทางการค้า จะทำให้ ต้นทุนการขนส่งที่ลง 1% จะทำให้ GDP เพิ่มขึ้น 3.3 Billion US$ GDP ของกลุ่มประเทศ APECจะเพิ่มขึ้น 4.25% ผลการศึกษาของ World Bank ตัวอย่าง ความสำเร็จ (ยุโรปตะวัน ออกเฉียงใต้) ลดระยะเวลาในการรอคอยที่ชายแดน ลง 23%-89% ลดการขนสินค้าหนีภาษี และได้รับภาษี ศุลกากรเพิ่มขึ้น Billion US$ มูลค่าการค้าเพิ่มขึ้น Billion US$

30 หัวข้อการนำเสนอ แนะนำสภาผู้ส่งสินค้าทางเรือฯ (TNSC)
หลักการของโลจิสติกส์ และสภาพปัจจุบันของไทย ความสำคัญของโลจิสติกส์และการอำนวยความสะดวกทางการค้า บทบาทของกระทรวงพาณิชย์ในด้านโลจิสติกส์และการอำนวยความสะดวกทางการค้า บทสรุปและข้อเสนอแนะ

31 การเคลื่อนย้ายอย่างเสรีของมนุษย์ (Free Flow of Human)
โลกยุคไร้พรมแดนและโลกาภิวัฒน์ ทุกประเทศต้องรู้เท่าทันกระแสการเปลี่ยนแปลงและการเคลื่อนไหวอย่างเสรี ใน 4 ด้าน คือ การเคลื่อนย้ายอย่างเสรีของมนุษย์ (Free Flow of Human) การเคลื่อนย้ายอย่างเสรีของเงินทุน (Free Flow of Fund) การเคลื่อนย้ายอย่างเสรีขององค์ความรู้ ข้อมูล และ เทคโนโลยี (Free Flow of Knowledge, Information and Technology) การเคลื่อนย้ายอย่างเสรีของสินค้าและบริการ (Free Flow of Goods and Services) รัฐและเอกชนต้องร่วมมือกัน ภาครัฐเป็น Facilitator ที่มา : ส่วนหนึ่งของปาฐกถาของ ฯพณฯ นายกรัฐมนตรี ในการสัมมนาหอการค้าทั่ว ประเทศ วันที่ 7 พ.ย. 47 ณ โรงแรมทวิน โลตัส จ. นครศรีธรรมราช

32 การให้บริการของกรมการค้าต่างประเทศที่มีส่วนช่วยเสริมสร้างการอำนวยความสะดวกทางการค้า
การให้บริการผ่านทางอินเตอร์เนต - การให้บริการออกใบอนุญาตและหนังสือรับรองการส่งออก- นำเข้าสินค้าทั่วไป ด้วยระบบ EDI ตั้งแต่สิงหาคม 2547 - การขอหนังสือรับรองแหล่งกำเนิดสินค้า ด้วยระบบ EDI จัดตั้งศูนย์ประสานการส่งออกนำเข้าสินค้า (Export- Import Coordinated Center) ฯลฯ

33 ปัจจัยที่นำไปสู่ความสำเร็จ (Key Success Factors) ในการอำนวยความสะดวกทางการค้า คือ ความร่วมมือกัน
ทุกฝ่ายที่เกี่ยว ข้องทั้งรัฐและ เอกชนจะต้อง ร่วมมือกัน อย่างใกล้ชิด การปรับปรุงกฎระเบียบทางการค้าที่เสริมสร้างบรรยากาศทางการค้าที่ดี ความร่วมมือ อย่างใกล้ชิดระหว่างกระทรวง พาณิชย์กับผู้ส่งออก/นำเข้า การบริหารจัดการการส่งออก/นำเข้า และการบริหารโควต้าอย่างมีประสิทธิภาพ ติดตามกฎระเบียบการค้าระหว่างประเทศ และเตรียมความพร้อมแก่เอกชนอย่างทันท่วงที

34 หัวข้อการนำเสนอ แนะนำสภาผู้ส่งสินค้าทางเรือฯ (TNSC)
หลักการของโลจิสติกส์ และสภาพปัจจุบันของไทย ความสำคัญของโลจิสติกส์และการอำนวยความสะดวกทางการค้า บทบาทของกระทรวงพาณิชย์ในด้านโลจิสติกส์และการอำนวยความสะดวกทางการค้า บทสรุปและข้อเสนอแนะ

35 ที่มา : สภาผู้ส่งสินค้าทางเรือฯ
เพิ่มขีดความ สามารถใน การแข่งขัน การทำธุรกรรม สะดวกรวดเร็ว ขยายโอกาส ทางการค้า ลดต้นทุน Supply Chain เข้มแข็ง โลจิสติกส์ที่มี ประสิทธิภาพ การบริหารจัดการโลจิสติกส์ที่มีประสิทธิภาพ จะเป็นเครื่องมือสำคัญที่ช่วยให้ผู้ที่เกี่ยวข้องตลอดซัพพลายเชนเข้มแข็ง ซึ่งจะส่งผลดีต่อการทำธุรกรรมทางการค้าทั้งในและต่างประเทศ นั่นก็คือ การอำนวยความสะดวกทางการค้า (Trade Facilitation) เพราะนอกจากจะช่วยลดต้นทุนแล้ว ยังช่วยขยายโอกาสทางการค้า และสร้างบรรยากาศทางการค้าที่ดี และเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน ที่มา : สภาผู้ส่งสินค้าทางเรือฯ

36 Thai National Logistics and Trade Facilitation Body
ฯพณฯ นายกฯ เป็นประธาน องค์ประกอบหลักจะเป็นภาคเอกชนประมาณ 30 คน และภาครัฐที่เกี่ยวข้อง คือ กระทรวงพาณิชย์ สศช. กรมศุล สนข. เป็นต้น ฝ่ายเลขาฯ ร่วม สภาผู้สินค้าทางเรือฯ หอการค้าไทย Working Group 1 Working Group 2 Working Group n ... ที่มา : ข้อเสนอจากการสัมมนาหอการค้าทั่วประเทศ ปี 2547 เสนอต่อ ฯพณฯ นายกรัฐมนตรี โดย สภาหอการค้าฯ และสภาผู้ส่งสินค้าทางเรือฯ

37 Thai National Logistics and Trade Facilitation Body
ฯพณฯ นายกฯ เป็นประธาน องค์ประกอบหลักจะเป็นภาคเอกชนประมาณ 30 คน และภาครัฐที่เกี่ยวข้อง คือ กระทรวงพาณิชย์ สศช. กรมศุล สนข. เป็นต้น ฝ่ายเลขาฯ ร่วม สภาผู้สินค้าทางเรือฯ หอการค้าไทย Physical & Regulatory Infrastructure Cyber and IT Infrastructure Human Resources Marketing and Promotion SMEs หมายเหตุ เป็นตัวอย่างการแบ่ง working group ของประเทศฮ่องกง

38 หน้าที่และความรับผิดชอบของ
National Logistics and Trade Facilitation Body 1. รวบรวมปัญหาด้านโลจิสติกส์ที่เป็นอุปสรรคต่อการอำนวยความสะดวกทางการค้าจากภาคเอกชน 2. เสนอแนะแนวทางแก้ไขปัญหา รวมทั้งเสนอแนะแผนงานและโครงการเพื่อพัฒนาระบบโลจิสติกส์และเสริมสร้างการอำนวยความสะดวกทางการค้าของประเทศ 3. แต่งตั้งคณะทำงาน (Working Group) ตามความเหมาะสม

39 ขอบคุณครับ


ดาวน์โหลด ppt โลจิสติกส์กับการเพิ่มขีดความสามารถ ในการแข่งขันของประเทศ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google