งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

OSM ประชาชนในกลุ่มจังหวัดได้รับประโยชน์สูงสุด

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "OSM ประชาชนในกลุ่มจังหวัดได้รับประโยชน์สูงสุด"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 OSM ประชาชนในกลุ่มจังหวัดได้รับประโยชน์สูงสุด
วิสัยทัศน์กลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนบนที่ ๒ “แหล่งผลิตอาหารปลอดภัย กระจายสินค้า พัฒนาการท่องเที่ยว และสังคมน่าอยู่ ” วิสัยทัศน์จังหวัดลพบุรี “พัฒนาแหล่งขุมทรัพย์สมเด็จพระนารายณ์ ผลิตอาหารปลอดภัยจากสารพิษ ศูนย์การศึกษา พัฒนาการท่องเที่ยวเชิงนิเวศประวัติศาสตร์ และเมืองน่าอยู่” ยุทธศาสตร์ อยู่ดี มีสุข OSM เศรษฐกิจ สังคม ความมั่นคง บริหารจัดการ เกษตรกรรม สังคมน่าอยู่ ยาเสพติด การบริการ คณะที่ปรึกษา ผู้ว่าราชการ อุตสาหกรรม ต่างด้าว การศึกษา ป่าไม้ พาณิชย์กรรม อุทกภัย การท่องเที่ยว สิ่งแวดล้อม แผนพัฒนาอำเภอ แผนพัฒนาตำบล แผนชุมชน/หมู่บ้าน ทำเอง ทำร่วม ทำให้ ประชาชนในกลุ่มจังหวัดได้รับประโยชน์สูงสุด

2 ยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัด (ลพบุรี สิงห์ ชัยนาท อ่างทอง)
ภาคกลางตอนบนที่ 2 ปี (ลพบุรี สิงห์ ชัยนาท อ่างทอง)

3 วางตำแหน่งยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัด
แหล่งผลิตอาหารเพื่อเลี้ยงประชากร ในประเทศและต่างประเทศ 2. การท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์ ศาสนา วัฒนธรรมและธรรมชาติ 3. เกษตรอุตสาหกรรมและอุตสาหกรรมก่อสร้าง กระเบื้องเคลือบดินเผาที่สำคัญ 4. ระบบบริหารจัดการน้ำที่เอื้อประโยชน์ ต่อการพัฒนาภาคผลิตและลดภัยพิบัติ 5. มีศักยภาพระบบ Logistic เพื่อลดต้นทุนภาคขนส่ง และการผลิต

4 วิสัยทัศน์ กลุ่มภาคกลางตอนบน ที่ 2 (ลพบุรี สิงห์บุรี ชัยนาท อ่างทอง)
วิสัยทัศน์ กลุ่มภาคกลางตอนบน ที่ 2 (ลพบุรี สิงห์บุรี ชัยนาท อ่างทอง) ปี แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 10 ยุทธศาสตร์ กลุ่มจังหวัด ระเบียบบริหาร ราชการแผ่นดิน 50 นโยบาย ของรัฐบาล “แหล่งผลิตอาหารปลอดภัย กระจายสินค้า พัฒนาการท่องเที่ยว และสังคมน่าอยู่ ”

5 ยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัด
“แหล่งผลิตอาหารปลอดภัย กระจายสินค้า การท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์ และสังคมน่าอยู่ ” 1. การปรับโครงสร้างการผลิตอาหารปลอดภัย 2. เชื่อมโยงการกระจายสินค้า ทางบก และทางน้ำ ประเด็น ยุทธศาสตร์ (Strategic Issues) 3. บริหารจัดการการท่องเที่ยวอย่างมีประสิทธิภาพ 4. เสริมสร้างระบบบริหารจัดการน้ำแบบบูรณาการ 5. อนุรักษ์และฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน

6 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 การปรับโครงสร้างการผลิตอาหารปลอดภัย
ผู้ว่าราชการจังหวัดชัยนาท เป็นประธานอนุกรรมการ เป้าประสงค์ ผลิตอาหารปลอดภัยเพื่อการบริโภค (Goals ) และการจำหน่าย 1. พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน ด้านการผลิต การขนส่ง การเก็บรักษาและรวบรวมผลผลิต 2. เพิ่มประสิทธิภาพในการผลิตและการแข่งขัน กลยุทธ์ (Strategies) 3.พัฒนาผลิตภัณฑ์แปรรูป การบรรจุภัณฑ์ ตราสัญลักษณ์สินค้ามาตรฐาน 4.พัฒนาเชื่อมโยง ช่องทางการตลาด ในประเทศและต่างประเทศ 5. ประชาสัมพันธ์ผลิตภัณฑ์อาหารปลอดภัย

7 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 เชื่อมโยงการกระจายสินค้า ทางบก และทางน้ำ
ผู้ว่าราชการจังหวัดอ่างทองเป็นประธานอนุกรรมการ เป้าประสงค์ เชื่อมโยงระบบกระจายสินค้าและบริการ (Goals ) 1. พัฒนาโครงข่ายคมนาคมทางบก กลยุทธ์ (Strategies) 2.สนับสนุนแหล่งกระจายสินค้าทางบก ทางน้ำ

8 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 บริหารจัดการการท่องเที่ยวอย่างมีประสิทธิภาพ
ผู้ว่าราชการจังหวัดลพบุรี เป็นประธานอนุกรรมการ เป้าประสงค์ เพิ่มรายได้จากการท่องเที่ยว (Goals ) 1. เชื่อมโยงพัฒนาเครือข่าย และส่งเสริม การตลาดท่องเที่ยว กลยุทธ์ (Strategies) 2. พัฒนาศักยภาพแหล่งท่องเที่ยวที่มีคุณภาพ

9 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 เสริมสร้างระบบบริหารจัดการน้ำแบบบูรณาการ
ผู้ว่าราชการจังหวัดชัยนาท เป็นประธานอนุกรรมการ เป้าประสงค์ ระบบบริหารจัดการน้ำที่มีประสิทธิภาพ (Goals ) 1. การพัฒนาแหล่งน้ำและบริหารจัดการน้ำ 2. การป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจากน้ำ กลยุทธ์ (Strategies) 3. การจัดระบบเตือนภัยจากน้ำ

10 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 5
อนุรักษ์และฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน ผู้ว่าราชการจังหวัดสิงห์บุรี ประธานอนุกรรมการ เป้าประสงค์ รักษาความสมดุลของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (Goals ) พัฒนาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม โดยชุมชนมีส่วนร่วม กลยุทธ์ (Strategies) ป้องกันแก้ไขและเฝ้าระวังมลภาวะสิ่งแวดล้อม บริหารจัดการด้านพลังงานทดแทน

11 ยุทธศาสตร์ จังหวัดลพบุรี ปี

12 การถ่ายทอดขุมทรัพย์สมเด็จพระนารายณ์
มโหสถ เดอร์รามา วิชาเยนธ์ โกษาปาน มหาราชครู โหราธิบดี โกษาเหล็ก ทองกีบม้า เกษตรกรรม อุตสาหกรรม พาณิชย์กรรม การท่องเที่ยว การศึกษา สังคมน่าอยู่ ความมั่นคง การบริการ เศรษฐกิจ สังคม ความมั่นคง บริหารจัดการ พัฒนาแหล่งขุมทรัพย์สมเด็จพระนารายณ์ ผลิตอาหารปลอดภัยจากสารพิษ ศูนย์การศึกษา พัฒนาการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ ประวัติศาสตร์ และเมืองน่าอยู่ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. พัฒนา การผลิต เพิ่มมูลค่า ทางเศรษฐกิจ จังหวัด ปรับ โครงสร้าง การผลิต อาหาร ปลอดภัย เพิ่ม ประสิทธิภาพ การท่องเที่ยว อย่างมี ประสิทธิผล พัฒนา ระบบ การศึกษาและ แหล่งเรียนรู้ ที่มีคุณภาพ เสริมสร้าง พัฒนาการเมือง การปกครองและ ความมั่งคง ของบ้านเมือง บริหารจัดการ ทรัพยากร ธรรมชาติ สิ่งแวดล้อมและ สภาพแวดล้อม ที่ยั่งยืน การบริหารจัดการ ภาครัฐและ ภาคเอกชน ตามหลัก บริหารกิจการ บ้านเมืองที่ดี พัฒนา สังคมคุณภาพ

13 วางตำแหน่งยุทธศาสตร์จังหวัดลพบุรี
แหล่งผลิตอาหารปลอดภัยและแปรรูป อาหารที่ใหญ่ที่สุดของภาคกลางตอนบน แหล่งท่องเที่ยวขุมทรัพย์สมเด็จพระนารายณ์ ศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม และธรรมชาติ 3. แหล่งเกษตรอุตสาหกรรม และเทคโนโลยีสะอาด 4. ระบบบริหารจัดการน้ำที่เอื้อประโยชน์ ต่อการพัฒนาภาคผลิตและลดภัยพิบัติ

14 วางตำแหน่งยุทธศาสตร์จังหวัดลพบุรี (ต่อ)
5. มีศักยภาพระบบ Logistic เพื่อลดต้นทุน ภาคขนส่งและการผลิต 6. แหล่งการศึกษา และเรียนรู้วิถีชีวิตชุมชนที่สำคัญ ของกลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนบนที่ 2 7. แหล่งทรัพยากรธรรมชาติที่มีความอุดมสมบูรณ์ 8. กองกำลังทหารเสริมสร้างความมั่นคงที่สำคัญ ของประเทศ

15 วิสัยทัศน์จังหวัดลพบุรี
ร่าง วิสัยทัศน์จังหวัด ปี แนวนโยบายพื้นฐาน แห่งรัฐธรรมนูญ 50 แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 10 นโยบาย ของรัฐบาล แผนพัฒนา ภาคกลาง ระเบียบ บริหารราชการ แผ่นดิน 50 พ.ร.บ. ส่งเสริม การบริหารจัดการ บ้านเมืองที่ดี 46 “พัฒนาแหล่งขุมทรัพย์สมเด็จพระนารายณ์ ผลิตอาหารปลอดภัยจากสารพิษ ศูนย์การศึกษา พัฒนาการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ ประวัติศาสตร์ และเมืองน่าอยู่” วิสัยทัศน์จังหวัดลพบุรี

16 ประเด็นยุทธศาสตร์ พัฒนาศักยภาพการผลิตเพิ่มมูลค่าทาง เศรษฐกิจจังหวัด
ประเด็นที่ 1 ประเด็นที่ 2 ปรับโครงสร้างการผลิตอาหารปลอดภัย ประเด็นที่ 3 บริหารจัดการด้านการท่องเที่ยว ประเด็นที่ 4 เสริมสร้างสังคมที่มีคุณภาพ ประเด็นที่ 5 พัฒนาระบบการศึกษาและแหล่งเรียนรู้ เสริมสร้างพัฒนาการเมืองการปกครองและ ความมั่นคงของบ้านเมือง ประเด็นที่ 6 บริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อมที่ยั่งยืน ประเด็นที่ 7 เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการภาครัฐ และ ภาคเอกชนตามหลักการบริหารจัดการบ้านเมืองที่ดี ประเด็นที่ 8

17 กลุ่มภารกิจ เศรษฐกิจ

18 ประเด็นยุทธศาสตร์(3 ประเด็น)
กลุ่มภารกิจเศรษฐกิจ ประเด็นยุทธศาสตร์(3 ประเด็น) ที่ 1 1. พัฒนาศักยภาพการผลิต เพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจจังหวัด ที่ 2 2. ปรับโครงสร้างการผลิตอาหารปลอดภัย ที่ 3 3. บริหารจัดการด้านการท่องเที่ยว

19 และมีการพัฒนาอย่างยั่งยืน
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาศักยภาพการผลิตเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจจังหวัด เป้าประสงค์ เพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจ และมีการพัฒนาอย่างยั่งยืน

20 กลยุทธ์หลัก(5 กลยุทธ์)
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาศักยภาพการผลิตเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจจังหวัด กลยุทธ์หลัก(5 กลยุทธ์) 1. พัฒนาเกษตรอุตสาหกรรม/อุตสาหกรรม และผู้ประกอบการ 2. ส่งเสริมสนับสนุนการลงทุน การพาณิชย์ และบริการ 3. พัฒนาระบบโครงสร้างพื้นฐานทางเศรษฐกิจ ให้ได้มาตรฐาน 4. การพัฒนาสถาบันเกษตรกรให้เข้มแข็ง เพื่อประโยชน์เศรษฐกิจเกษตรกร 5. ส่งเสริมและสนับสนุนพลังงานทดแทน

21 เป้าประสงค์ ได้มาตรฐานและความปลอดภัย
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 ปรับโครงสร้างการผลิตอาหารปลอดภัย เป้าประสงค์ เป็นผู้ผลิตสินค้าเกษตรที่มีคุณภาพ ได้มาตรฐานและความปลอดภัย ตั้งแต่กระบวนการผลิตจนถึงผู้บริโภค

22 กลยุทธ์หลัก(3 กลยุทธ์)
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 ปรับโครงสร้างการผลิตอาหารปลอดภัย กลยุทธ์หลัก(3 กลยุทธ์) 1. พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานทางการเกษตร และการเรียนรู้ เพื่อผลผลิตอาหารปลอดภัยจากสารพิษ 2. พัฒนาผลิตภัณฑ์การแปรรูป การบรรจุภัณฑ์ 3. พัฒนาความเชื่อมโยงและหาช่องทางการตลาด ในประเทศและต่างประเทศ

23 เป้าประสงค์ และกิจกรรมการท่องเที่ยว ได้รับการพัฒนาเพิ่มศักยภาพ
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 บริหารจัดการด้านการท่องเที่ยว เป้าประสงค์ แหล่งท่องเที่ยว และกิจกรรมการท่องเที่ยว ได้รับการพัฒนาเพิ่มศักยภาพ และขยายโอกาสด้านการตลาด

24 กลยุทธ์หลัก(4 กลยุทธ์)
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 บริหารจัดการด้านการท่องเที่ยว กลยุทธ์หลัก(4 กลยุทธ์) 1. พัฒนาแหล่งท่องเที่ยวเชิงคุณภาพ 2. พัฒนาบุคลากร การบริการและผลิตภัณฑ์การท่องเที่ยว 3.ประชาสัมพันธ์และส่งเสริมการตลาดท่องเที่ยวเชิงรุก 4. ส่งเสริมกิจกรรมการท่องเที่ยว

25 กลุ่มภารกิจด้านสังคม

26 กลุ่มภารกิจด้านสังคม ประเด็นยุทธศาสตร์ (3 ประเด็น)
ที่ 4 เสริมสร้างสังคมที่มีคุณภาพ ที่ 5 พัฒนาระบบการศึกษาและแหล่งเรียนรู้ บริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมที่ยั่งยืน ที่ 7

27 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 เสริมสร้างสังคมที่มีคุณภาพ
เป้าประสงค์ (2 เป้าประสงค์) 1. คนลพบุรีได้รับการส่งเสริม และพัฒนาคุณภาพชีวิต ให้ครอบคลุมทั้งมิติกาย จิต สังคม และปัญญา 2. คนและหมู่บ้าน/ชุมชนในจังหวัดลพบุรี ได้รับ การส่งเสริมสนับสนุน ให้เกิดความรัก ความสามัคคี และความเอื้ออาทร นำไปสู่สังคมอยู่เย็นเป็นสุข

28 กลยุทธ์หลัก (5 กลยุทธ์)
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 เสริมสร้างสังคมที่มีคุณภาพ กลยุทธ์หลัก (5 กลยุทธ์) 1.พัฒนาส่งเสริมคุณภาพชีวิต การเข้าถึงบริการสาธารณะ สวัสดิการสังคม ประกันสังคม และพัฒนาศักยภาพ ของผู้ด้อยโอกาส ผู้ยากไร้ ผู้พิการ ประชาชนทั่วไป 2.ส่งเสริมการกีฬาและกิจกรรมนันทนาการ เพื่อเสริมสร้าง สุขภาพอนามัยที่ดีของชุมชน 3.ส่งเสริมศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี และภูมิปัญญาท้องถิ่น

29 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 เสริมสร้างสังคมที่มีคุณภาพ
กลยุทธ์หลัก (ต่อ) 4.ส่งเสริมการมีอาชีพ และการมีงานทำ 5.เสริมเสริมความเข้มแข็งของหมู่บ้าน/ชุมชน

30 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 5 พัฒนาระบบการศึกษาและแหล่งเรียนรู้
เป้าประสงค์ (3 เป้าประสงค์) 1.การจัดการศึกษาได้มาตรฐาน 2.การบริหารจัดการทรัพยากรแหล่งเรียนรู้ ที่มีประสิทธิภาพ และประสิทธิผล 3.ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม มีความรู้และทักษะ เหมาะสมกับระดับการศึกษา

31 กลยุทธ์หลัก (4 กลยุทธ์)
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 5 พัฒนาระบบการศึกษาและแหล่งเรียนรู้ กลยุทธ์หลัก (4 กลยุทธ์) 1.เพิ่มประสิทธิภาพการเรียนการสอนทั้งใน นอกระบบ และตามอัธยาศัย โดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ 2.ส่งเสริมและพัฒนาแหล่งเรียนรู้อย่างหลากหลาย และทันสมัย 3.นำหลักคุณธรรม จริยธรรม และปรัชญาเศรษฐกิจ มาใช้ในการพัฒนาผู้เรียน 4.พัฒนาทักษะการประกอบอาชีพ และสร้างโอกาสทางเลือก อาชีพใหม่ เพื่อการดำรงชีวิตตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

32 จังหวัดลพบุรีมีทรัพยากรธรรมชาติ ที่ยั่งยืน และมีคุณภาพสิ่งแวดล้อมที่ดี
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 7 บริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม และสภาพแวดล้อมที่ยั่งยืน เป้าประสงค์ (1 เป้าประสงค์) จังหวัดลพบุรีมีทรัพยากรธรรมชาติ ที่ยั่งยืน และมีคุณภาพสิ่งแวดล้อมที่ดี

33 กลยุทธ์หลัก (4 กลยุทธ์)
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 7 บริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม และสภาพแวดล้อมที่ยั่งยืน กลยุทธ์หลัก (4 กลยุทธ์) 1. อนุรักษ์ ฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม 2. ป้องกัน และควบคุมการบุกรุกทำลายป่าไม้ สัตว์ป่า และความหลากหลายทางชีวภาพ 3. การจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อม 4. พัฒนา ปรับปรุงภูมิทัศน์ และสภาพแวดล้อม ของบ้านเมือง

34 กลุ่มภารกิจความมั่นคง

35 กลุ่มภารกิจความมั่นคง
ประเด็นยุทธศาสตร์ ที่ 6 เสริมสร้างพัฒนาการเมือง การปกครอง และความมั่นคงของบ้านเมือง

36 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 6
เสริมสร้างพัฒนาการเมือง การปกครอง และความมั่นคงของบ้านเมือง เป้าประสงค์ (2 เป้า) 1. ประชาชนมีวิถีชีวิตประชาธิปไตย ประชาชนมีความมั่นคงปลอดภัยในชีวิต และทรัพย์สิน

37 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 6 กลยุทธ์หลัก (4 กลยุทธ์)
เสริมสร้างพัฒนาการเมือง การปกครอง และความมั่นคงของบ้านเมือง กลยุทธ์หลัก (4 กลยุทธ์) พัฒนาและส่งเสริมการเมือง การปกครองใน ระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ ทรงเป็นประมุข 2. การรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน 3. การป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด 4. เสริมสร้างความมั่นคงภายในอย่างสมานฉันท์

38 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 6 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 6
เสริมสร้างพัฒนาการเมือง การปกครอง และความมั่นคงของบ้านเมือง ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 6 เสริมสร้างพัฒนาการเมือง การปกครอง และความมั่นคงของบ้านเมือง กลยุทธ์หลักที่ 1 พัฒนาและส่งเสริมการเมือง การปกครองในระบอบ ประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข กลยุทธ์ย่อย (3 ตัว) 1. ส่งเสริมความรู้ ความเข้าใจในเรื่องการเมือง การปกครองในระบอบประชาธิปไตย 2. ส่งเสริมความรู้เรื่องสิทธิหน้าที่ของพลเมือง ตามกฎหมาย 3. ส่งเสริมการมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชน

39 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 6 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 6
เสริมสร้างพัฒนาการเมือง การปกครอง และความมั่นคงของบ้านเมือง ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 6 เสริมสร้างพัฒนาการเมือง การปกครอง และความมั่นคงของบ้านเมือง กลยุทธ์หลักที่ 2 การรักษาความปลอดภัยใน ชีวิตและทรัพย์สิน กลยุทธ์ย่อย ( 6 ตัว) 1. ลดปัญหาอาชญากรรมคดีอุกฉกรรจ์และสะเทือนขวัญ 2. พัฒนาระบบป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย 3. พัฒนาเครือข่ายป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย

40 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 6 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 6
เสริมสร้างพัฒนาการเมือง การปกครอง และความมั่นคงของบ้านเมือง ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 6 เสริมสร้างพัฒนาการเมือง การปกครอง และความมั่นคงของบ้านเมือง กลยุทธ์หลักที่ 2 การรักษาความปลอดภัยใน ชีวิตและทรัพย์สิน กลยุทธ์ย่อย ( ต่อ) 4. จัดระเบียบสังคม 5. กำหนดมาตรการด้านความปลอดภัยการอยู่อาศัยในอาคาร 6. ดำเนินการตามมาตรการด้านผังเมือง

41 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 6 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 6
เสริมสร้างพัฒนาการเมือง การปกครอง และความมั่นคงของบ้านเมือง ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 6 เสริมสร้างพัฒนาการเมือง การปกครอง และความมั่นคงของบ้านเมือง กลยุทธ์หลักที่ 3 การป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด กลยุทธ์ย่อย (4 ตัว) 1. ดำเนินการด้านการควบคุมตัวยาและผู้ค้ายาเสพติด 2. ดำเนินการด้านการป้องกันกลุ่มเสี่ยง 3. ดำเนินการด้านการบำบัดรักษาผู้เสพ/ผู้ติด 4. ดำเนินการด้านการบริหารจัดการ

42 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 6 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 6
เสริมสร้างพัฒนาการเมือง การปกครอง และความมั่นคงของบ้านเมือง ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 6 เสริมสร้างพัฒนาการเมือง การปกครอง และความมั่นคงของบ้านเมือง กลยุทธ์หลักที่ 4 เสริมสร้างความมั่นคงภายใน อย่างสมานฉันท์ กลยุทธ์ย่อย (3 ตัว) 1. แก้ไขปัญหาแรงงานต่างด้าว/หลบหนีเข้าเมือง 2. เสริมสร้างเครือข่ายด้านการข่าวอย่างมีประสิทธิภาพ 3. ส่งเสริมการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม

43 กลุ่มภารกิจบริหารจัดการ

44 กลุ่มภารกิจบริหารจัดการ
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 8 การบริหารจัดการภาครัฐ และภาคเอกชนตามหลักบริหาร กิจการบ้านเมืองที่ดี

45 เป้าประสงค์ (2 เป้าประสงค์)
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 8 การบริหารจัดการภาครัฐและภาคเอกชน ตามหลักบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี เป้าประสงค์ (2 เป้าประสงค์) 1. บุคลากรภาครัฐและเอกชนมีศักยภาพ และสมรรถนะทางการบริหารเพิ่มขึ้น 2. ประชาชนมีความพึงพอใจและได้รับประโยชน์สูงสุด

46 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 8 การบริหารจัดการภาครัฐและภาคเอกชน
ตามหลักบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี กลยุทธ์หลัก (6กลยุทธ์) 1. การพัฒนาขีดความสามารถบุคลากร ภาครัฐ/เอกชนเพื่อพัฒนาจังหวัด 2. การพัฒนาระบบข้อมูล และเทคโนโลยีสารสนเทศ 3. เสริมสร้างบุคลากรภาครัฐและผู้ประกอบการ ที่ดีตามหลักธรรมาภิบาล

47 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 8 การบริหารจัดการภาครัฐและภาคเอกชน
ตามหลักบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี กลยุทธ์หลัก (ต่อ) 4. บริหารจัดการงบประมาณจังหวัดแบบมุ่งเน้นผลงาน 5. ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน 6. พัฒนาศักยภาพกระบวนการวางแผน ยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัด

48 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 8 การบริหารจัดการภาครัฐและภาคเอกชน
ตามหลักบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี กลยุทธ์หลักที่ 1 การพัฒนาขีดความสามารถบุคลากร ภาครัฐ/เอกชนเพื่อพัฒนาจังหวัด กลยุทธ์ย่อย 1.1 ภาครัฐ 1.2 ภาคเอกชน (1) พัฒนาสมรรถนะหลักของ บุคลากรภาครัฐของจังหวัด ส่งเสริมสนับสนุน จิตสาธารณะ ตามหลักบรรษัทภิบาล (2) ปลูกฝังค่านิยม วัฒนธรรม ประชาธิปไตยการทำงาน ในองค์กร

49 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 8 การบริหารจัดการภาครัฐและภาคเอกชน
ตามหลักบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี กลยุทธ์หลักที่ 2 การพัฒนาระบบข้อมูล และเทคโนโลยีสารสนเทศ กลยุทธ์ย่อย (1) จัดทำฐานข้อมูลการพัฒนาจังหวัดด้าน เศรษฐกิจ สังคม มั่นคง บริหารจัดการ (2) เพิ่มสมรรถนะบุคลากรด้านไอทีทุกระดับ (3) พัฒนาเชื่อมโยงและเครือข่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ

50 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 8 การบริหารจัดการภาครัฐและภาคเอกชน
ตามหลักบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี กลยุทธ์หลักที่ 3 เสริมสร้างบุคลากรภาครัฐ และผู้ประกอบการที่ดี ตามหลักธรรมาภิบาล กลยุทธ์ย่อย 1.1 ภาครัฐ 1.2 ภาคเอกชน (1)ส่งเสริมหลักคุณธรรม จริยธรรม และธรรมาภิบาล ของบุคลากรภาครัฐ ส่งเสริมภาคธุรกิจเอกชน ให้เกิดความเข้มแข็งตามหลัก ธรรมาภิบาล (2)ส่งเสริมสนับสนุนการดำเนิน ชีวิตของบุคลากรภาครัฐตาม หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

51 เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการงบประมาณ
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 8 การบริหารจัดการภาครัฐและภาคเอกชน ตามหลักบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี กลยุทธ์หลักที่ 4 บริหารจัดการงบประมาณจังหวัด แบบมุ่งเน้นผลงาน กลยุทธ์ย่อย เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการงบประมาณ

52 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 8 การบริหารจัดการภาครัฐและภาคเอกชน
ตามหลักบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี กลยุทธ์หลักที่ 5 ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน กลยุทธ์ย่อย รณรงค์เปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม ในการแสดงความคิดเห็น และร่วมติดตามตรวจสอบ ผลการปฏิบัติราชการ

53 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 8 การบริหารจัดการภาครัฐและภาคเอกชน
ตามหลักบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี กลยุทธ์หลักที่ 6 พัฒนาศักยภาพกระบวนการวางแผน ยุทธศาสตร์จังหวัด กลยุทธ์ย่อย (1) เสริมสร้างการบริหารจัดการวางแผนพัฒนาจังหวัด (2) ถ่ายทอดวิสัยทัศน์และยุทธศาสตร์จังหวัด สู่ระดับองค์กรและระดับบุคคล

54 (ร่าง) แนวคิดการจัดทำแผนพัฒนาและงบประมาณจังหวัด ระดับอำเภอ
(ร่าง) แนวคิดการจัดทำแผนพัฒนาและงบประมาณจังหวัด ระดับอำเภอ ยุทธศาสตร์พัฒนาจังหวัด คำของบประมาณประจำปีจังหวัด แผนปฏิบัติการจังหวัดประจำปี แผนพัฒนาจังหวัดประจำปี นโยบาย/แนวทางการพัฒนา ระดับจังหวัด แผนความต้องการพัฒนาจังหวัด (๔ ปี) งบพัฒนาจังหวัด งบตาม Function งบองค์กร ปกครอง ส่วนท้องถิ่น โครงการ พัฒนา จว. แผน อยู่ดีมีสุข นโยบาย/แนวทาง การพัฒนาระดับอำเภอ แผนความต้องการพัฒนาอำเภอ (๔ ปี) งบพัฒนาอำเภอ งบตาม Function งบองค์กร ปกครอง ส่วนท้องถิ่น สภาพปัญหาของอำเภอลำดับความสำคัญ จำแนกตามประเภท และ ความต้องการ โครงการ พัฒนาอำเภอ แผน อยู่ดีมีสุข ประชาคมอำเภอ ประชาคมตำบล ประชาคมหมู่บ้าน ข้อมูล กชช.2 ค. / ปัญหาในพื้นที่ / ข้อมูลความยากจน / แผนชุมชน / ฯลฯ

55 (ร่าง) แนวคิดการจัดทำแผนพัฒนาและงบประมาณจังหวัด/กลุ่มจังหวัด
นโยบายและแนวทาง การพัฒนาระดับชาติ นโยบาย/แนวทางพัฒนา ส่วนราชการ/ กระทรวง/กรม คำของบประมาณ ระดับกระทรวง/กรม การพิจารณา ของ กนพ. สงป. แผนบริหารราชการแผ่นดิน ผลการอนุมัติโครงการ และงบประมาณ . กพก. (โครงการกลุ่ม จว.) . ยุทธศาสตร์การพัฒนา กลุ่มจังหวัด/จังหวัด แผนพัฒนาจังหวัดประจำปี แผนปฏิบัติการ จังหวัดประจำปี นโยบาย/แนวทาง การพัฒนา ระดับจังหวัด แผนพัฒนาจังหวัด/ กลุ่มจังหวัด (๔ ปี) คำของบประมาณประจำปี จังหวัด/กลุ่มจังหวัด กพจ. แผนความต้องการ พัฒนาอำเภอ (๔ ปี) นโยบาย/แนวทาง การพัฒนาระดับอำเภอ กพอ. อปท. หมู่บ้าน / ชุมชน แผนชุมชน ปัญหาในพื้นที่ ความต้องการที่ขอรับการสนับสนุนจาก อปท. ความต้องการที่ขอรับการสนับสนุนจาก ส่วนกลาง/กระทรวง/กรม (Function) ความต้องการที่ขอรับการสนับสนุนจาก งบประมาณจังหวัด (โครงการพัฒนาของอำเภอและโครงการของหมู่บ้าน/ชุมชน ตามยุทธศาสตร์อยู่ดีมีสุข)

56


ดาวน์โหลด ppt OSM ประชาชนในกลุ่มจังหวัดได้รับประโยชน์สูงสุด

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google