งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ASEAN and Thai Education

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ASEAN and Thai Education"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ASEAN and Thai Education
2015 ASEAN and Thai Education ภิรมย์ ลูกตาก 1

2 ก.ค.ศ.อนุมัติ ผอ.-ครูเชี่ยวชาญ19ราย
นางจินดา เกษวงษ์รอด โรงเรียนบ้านตากประถมวิทยา สพป.ตาก เขต 1 ผลงานทางวิชาการ คือ 1.การพัฒนาหนังสืออีเลคทรอนิกส์ส่งเสริมความเข้าใจในการอ่าน ชุดรู้รักษ์ท้องถิ่นเมืองตาก กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้น ป.6 พร้อมคู่มือประกอบการใช้หนังสือ อีเลคทรอนิกส์และหนังสืออีเลคทรอนิกส์ จำนวน 4 เรื่อง เพลงประกอบการสอนสาระท้องถิ่น กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้น ป.6 พร้อมคู่มือการใช้ CD เพลงประกอบและรายงานการใช้เพลงประกอบการสอนสาระท้องถิ่น

3 เงินวิทยฐานะ เดิมคาดว่า สิ้นต.ค. 54 นี้ ผู้ที่ได้เลื่อนวิทยฐานะจะได้รับเงินค่าตอบแทนวิทยฐานะใหม่เลย แล้วไปรอตกเบิกเดือนก.พ.55 ตอนนี้เปลี่ยนไปแล้ว กล่าวคือ ทั้งค่าตอบแทนวิทยฐานะใหม่ และตกเบิกวิทยฐานะต้องไปรับพร้อมกันในเดือน ก.พ.55 ผู้ที่ได้รับตกเบิกรอบนี้เดิมขอไปถึงผู้ที่ได้รับคำสั่งถึงก.พ. 54 แต่ขณะนี้ลดเป้าหมายลงไปอีก จะได้ตกเบิกสำหรับสำหรับผู้ที่ได้รับคำสั่งตั้งแต่ 1 ธ.ค.52 – 30 ก.ย ขณะนี้ สนผ.ได้รวบรวมข้อมูลผู้ที่ผ่านวิทยฐานะทั้งหมดถึงปัจจุบันเพื่อขออนุมัติใช้งบกลางจากคณะรัฐมนตรี คุณครูจะได้ไม่ต้องรอตกเบิกอีกต่อไปครับ

4 อัตราจ้าง สพฐ.มีหนังสือแจ้งให้สำนักงานเขตพื้นที่ฯทราบ เรื่อง การจ้างอัตราจ้างตำแหน่งต่าง ๆ สรุปว่า จ้างต่อทุกตำแหน่ง ตั้งแต่ 1 ต.ค.54 เป็นต้นไป ถึงแม้ว่ามีบางตำแหน่งที่ คณะรัฐมนตรี ชุดเดิมตัดออกไป แต่ สพฐ.ก็พยายามขอตั้งงบประมาณเพิ่มเติมกลับมาอีก สำหรับเรื่อง ตำแหน่งถาวรของน้องๆธุรการโรงเรียน ขณะนี้ ก.ค.ศ. ยังไม่อนุมัติ แต่ สพฐ.ก็พยายามต่อสู้ให้ต่อไป

5 ทิศทางการจัดการศึกษา ปี 2555
กระทรวงศึกษาธิการ ได้กำหนด วิสัยทัศน์ พันธกิจ กรอบแนวคิด เป้าหมาย ประเด็นยุทธศาสตร์ กลไลการขับเคลื่อน การศึกษา มีรายละเอียดพอสังเขปดังนี้ วิสัยทัศน์ ภายใน ปี 2555 กระทรวงศึกษาธิการ จะเป็นองค์กรหลักที่ทรงประสิทธิภาพในการผลิตและพัฒนาทรัพยากรบุคลากรของชาติ เพื่อสร้างความเป็นอยู่ที่ดี สร้างความมั่งคั่งทางด้านเศรษฐกิจและความมั่นคงทางสังคมให้กับประเทศ ด้วยฐานความรู้ ความคิดสร้างสรรค์ และศักยภาพของประเทศ พันธกิจ พัฒนา ยกระดับและจัดการศึกษาเพื่อเพิ่มศักยภาพ และขีดความสามารถให้ประชาชนได้มีอาชีพที่สามารถสร้างรายได้ที่มั่งคั่งและมั่นคง เพื่อเป็นบุคลากรที่มีวินัย เปี่ยมไปด้วยคุณธรรม จริยธรรม มีจิตสำนึก มีความรับผิดชอบต่อตนเอง ผู้อื่น และสังคม

6 กรอบแนวคิด 1. คำนึงถึงศักยภาพและบริบทรอบๆ ตัวผู้เรียน 2. พัฒนาและยกระดับองค์ความรู้และกระบวนการเรียนการสอนให้ทัดเทียมอารยะประเทศ ด้วยการบริหารจัดการและเทคโนโลยีสมัยใหม่ 3. มุ่งสู่เป้าหมายของการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันและยกระดับศักยภาพในการทำงานให้กับบุคลากรคนไทย ให้แข่งขันได้ในระดับสากล

7 เป้าหมาย 2 กรอบระยะเวลาของแผน หมายถึง ช่วงเวลาในการดำเนินงานตามแผน ยุทธศาสตร์การจัดการศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน แบ่งเป็น 2 ช่วงเวลา ได้แก่ 2 ปี แรก หมายถึง พ.ศ ( ) 2 ปี หลัง หมายถึง พ.ศ ( ) 5 ภูมิภาคหลักของโลก หมายถึง ทวียุโรป ทวีปอเมริกา ทวีปออสเตรเลีย ทวีปแอฟริกา เพื่อให้ คนไทย “รู้ศักยภาพเขา” 5 ศักยภาพหลักของพื้นที่ หมายถึง ศักยภาพของทรัพยากรธรรมชาติในแต่ละพื้นที่ ศักยภาพของพื้นที่ตามหลักภูมิอากาศ ศักยภาพของภูมิประเทศ และทำเลที่ตั้งของแต่ละพื้นที่ ศักยภาพของศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี และวิถีชีวิตของแต่ละพื้นที่ และศักยภาพของทรัพยากรมนุษย์ในแต่ละพื้นที่เพื่อให้คนไทย “รู้ศักยภาพเรา” 5 กลุ่มอาชีพใหม่ หมายถึง กลุ่มหลักสูตรใหม่ด้าน เกษตรกรรม อุตสาหกรรม พาณิชยกรรม ความคิดสร้างสรรค์ และด้านอำนวยการ บริหารจัดการและการบริการ เพื่อให้คนไทยสามารถปรับตัว “เท่าทันและแข่งขันได้”

8 ประเด็นยุทธศาสตร์ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 การปรับตัวเข้าสู่ประชาคม อาเซียน/ประชาคมโลก ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 การพัฒนาสถานศึกษาและองค์ ความรู้ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนาเทคโนโลยีและ เครื่องมืออุปกรณ์ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 การพัฒนาครูทั้งระบบ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 5 การพัฒนาศักยภาพผู้เรียน ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 6 การวิจัยและถ่ายทอดองค์ ความรู้ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 7 การเพิ่มโอกาสทางการศึกษา ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 8 การส่งเสริมการมีงานทำ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 9 การบริหารจัดการกลยุทธ์ของ กระทรวงศึกษาธิการ

9 โครงการสำคัญ (Flagship)
1. โครงการกองทุนพัฒนาคุณภาพชีวิตครู 2. โครงการกองทุนเงินกู้ยืมเพื่อการศึกษาที่ผูกพันกับรายได้ในอนาคต (กรอ.) 3. โครงการกองทุนตั้งตัวได้ 4. โครงการครูคลังสมอง 5. โครงการปฏิรูปหลักสูตรการศึกษาแห่งชาติ 6. โครงการวิจัยศักยภาพพื้นที่ 7. โครงการปฏิรูปเงินเดือนและค่าตอบแทน 8. โครงการสนับสนุนค่าใช้จ่ายการจัดการศึกษาตั้งแต่แรกเกิดจนจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน 9. โครงการพัฒนาผู้นำตามธรรมชาติ 10.โครงการเครือข่ายเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษา 11.โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน 12.โครงการเทียบระดับการศึกษา 13.โครงการจัดการเรียนการสอนโดยใช้คอมพิวเตอร์แท็บเล็ต 14.โครงการ 1 อำเภอ 1 ทุน 15.โครงการถ่ายทอดผลงานวิจัย 16.โครงการมัธยมศึกษาเชิงปฏิบัติการ 17.โครงการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมโลก 18.โครงการพัฒนาระบบบริหารวิสาหกิจเพื่อการศึกษา 19.โครงการพัฒนาการศึกษาผ่านระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ 20.โครงการจัดทำแผนยุทธศาสตร์การจัดการศึกษาเพื่อการพัฒนาที่

10 กลไกการขับเคลื่อน 1.การเผยแพร่ยุทธศาสตร์การจัดการศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน โดย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ การจัดประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจใน 5 ภูมิภาค (โดย รมว.ศธ ร่วมกับผู้บริหารระดับสูงของ ศธ (ต.ค. – พ.ย. 54) 2.การจัดทำสื่อเผยแพร่ทุกรูปแบบ(ต.ค.54–ก.ย. 55) 3.การพัฒนาบุคลากรของกระทรวงศึกษาธิก ารทุกระดับทั้งในและต่างประเทศ 4.การติดตามประเมินผลการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์การจัดการศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน โดยคณะกรรมการติดตามและประเมินผล ซึ่งมีรมว.ศธเป็นประธาน เลขาธิการสภาการศึกษาเป็นเลขานุการ

11 "วรวัจน์"ชูแนวคิด 1 จังหวัด 1 เขตมัธยม 1 เขตประถม
"วรวัจน์"ชูแนวคิด 1 จังหวัด 1 เขตมัธยม 1 เขตประถม “วรวัจน์” สั่ง สพฐ.ทบทวนการแบ่งเขตพื้นที่มัธยมและประถมใหม่ เพื่อให้การทำงานคล่องตัวขึ้น ระบุ การแบ่ง สพม. 42 เขต และ สพป.175 เขต พบปัญหาในเรื่องการบริหารจัดการ โดยเฉพาะ สพม.นั้น มีหลายเขตพื้นที่การศึกษาที่มีการบริหารจัดการบริหารจัดการคร่อมกันอยู่หลายเขต ทำให้จังหวัดเล็กหรือจังหวัดที่ไม่เป็นที่ตั้งของสำนักงานอาจจะถูกละเลย ไม่ได้รับการดูแลอย่างทั่วถึง จึงมีแนวคิดควรจะปรับ สพม.จากที่มี 42 เขต อาจจะปรับโดยให้ยึดเขตจังหวัด “ในส่วนของ สพป.ก็ให้ไปดูว่าเขตพื้นที่ใดที่มีพื้นที่การดูแลที่กว้างใหญ่เกินไปจนเกิดความไม่เหมาะสม ทำให้ดูแลไม่ทั่วถึง ก็สามารถเสนอขอปรับลดหรือเพิ่มเขตพื้นที่ได้ เช่น ใน 1 จังหวัด มี สพป.เขต 1-2 อาจจะให้เหลือเพียงเขตเดียว หรือในส่วน สพม.จากที่กำหนดว่า 2 จังหวัดถือเป็น 1 เขตพื้นที่ อาจจะปรับให้เป็น 1 จังหวัดต่อ 1 เขตพื้นที่เพื่อให้เกิดการกระจายของทรัพยากร และเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการ” เป็น

12

13

14 จุดมุ่งหมายของนโยบายรัฐบาล
นโยบายรัฐบาลชุดนายกรัฐมนตรียิ่งลักษณ์ ชินวัตร มีจุดมุ่งหมาย 3 ประการ 1.นำประเทศไทยไปสู่โครงสร้างเศรษฐกิจที่สมดุล มีความเข้มแข็งของเศรษฐกิจภายในประเทศมากขึ้น 2.นำประเทศไทยสู่สังคมที่มีความปรองดองสมานฉันท์ 3.นำประเทศไทยไปสู่การเป็นประชาคมอาเซียนในปี 2558 อย่างสมบูรณ์

15 อาเซียน (ASEAN) หรือ ประชาคมประชาชาติเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
Association for South East Asian Nations หรือ ประชาคมประชาชาติเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ก่อตั้งขึ้นโดยปฏิญญากรุงเทพฯ ลงนามกันที่วังสราญรมย์ เมื่อวันที่ 8 สิงหาคม 2510 มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมความเข้าใจอันดีต่อกันระหว่างประเทศในภูมิภาค ธำรงไว้ซึ่งสันติภาพ เสถียรภาพ และความมั่นคงทางการเมือง สร้างสรรค์ความเจริญทางด้านเศรษฐกิจ การพัฒนาทาง สังคมและวัฒนธรรม การกินดีอยู่ดีบนพื้นฐานของความเสมอภาคและผลประโยชน์ร่วมกันของ ประเทศสมาชิก

16 ASEAN COUNTRIES Thailand Laos Vietnam Cambodia Malaysia Myanmar Brunei Philippine Indonesia Singapore แรกก่อตั้งปี 2510 มีสมาชิก 5 ประเทศ ได้แก่ ไทย อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ และสิงคโปร์ ต่อมา บรูไนดารุสซาลาม เข้าเป็นสมาชิกลำดับที่ 6 เมื่อปี 2527 เวียดนาม ลำดับที่ 7 ในปี ลาวและพม่า เป็นพร้อมกันเมื่อปี 2540 และกัมพูชาเป็นสมาชิกล่าสุด ปี 2542

17 สมาชิกอาเซียน : พม่า (สาขาผลิตภัณฑ์เกษตรและสาขาประมง)
มาเลเซีย (สาขาผลิตภัณฑ์ยางและสาขาสิ่งทอ) อินโดนีเซีย (สาขายานยนต์และสาขาผลิตภัณฑ์ไม้) ฟิลิปปินส์ (สาขาอิเล็กทรอนิกส์) สิงคโปร์ (สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและสาขาสุขภาพ) ไทย (สาขาการท่องเที่ยวและสาขาการบิน)

18 อัตลักษณ์ของอาเซียน อาเซียนต้องส่งเสริมอัตลักษณ์ร่วมกันของตนและความรู้สึกเป็นส่วนหนึ่งในหมู่ประชาชนของตน เพื่อให้บรรลุชะตา เป้าหมาย และคุณค่าร่วมกันของอาเซียน

19 วิสัยทัศน์เดียว อัตลักษณ์เดียว ประชาคมเดียว
คำขวัญของอาเซียน วิสัยทัศน์เดียว อัตลักษณ์เดียว ประชาคมเดียว

20 ASEAN External Relations
ASEAN Centrality ASEAN External Relations +3 : จีน เกาหลีใต้ ญี่ปุ่น +6 : ออสเตรเลีย อินเดีย นิวซีแลนด์ (แล้วบวกอีกสาม) ASEAN+3 ASEAN The centrality of ASEAN must be based on, first and foremost, ine inner strength of the ASEAN community. It also depends not only on the form of ASEAN’s external engagement, but also its content. The quality of ASEAN’s leadership is key. EAS (ASEAN+6) ASEAN at the Centre

21 ASEAN ก่อตั้งโดยปฏิญญากรุงเทพ (Bangkok Declaration) เมื่อ 8 สิงหาคม 1967 (พ.ศ. 2510)

22 สาขาความร่วมมือของอาเซียน
ด้านการเมืองและความมั่นคง ด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคมและวัฒนธรรม ความสัมพันธ์และความร่วมมือกับประเทศภายนอก

23 ประชาคมอาเซียน 3 เสาหลัก
ประชาคมอาเซียน 3 เสาหลัก ประชาคมความมั่นคงอาเซียน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ประชาคมสังคมและวัฒนธรรม

24 การศึกษาจะเป็นกลไกสำคัญ ในการขับเคลื่อนทั้ง 3 เสาหลัก
เสาการเมือง ความมั่นคง เสาสังคม วัฒนธรรม เสาเศรษฐกิจ

25 เราจะเตรียมคนอย่างไร เพื่อสู่ประชาคมอาเซียน ในปี 2558
โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เด็กและเยาวชนไทย เพื่อสู่ประชาคมอาเซียน ในปี 2558

26 โครงสร้างประชากรประเทศไทย
ชาย หญิง ชาย หญิง 2563 2543

27 Association of Southeast Asian Nations
THE ASEAN CHARTER Association of Southeast Asian Nations

28 แผนงานจัดตั้งประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน
(A Blueprint for ASEAN Social-Cultural Community)

29 เส้นทางการคมนาคมไร้พรมแดน
เส้นทางขนถ่ายสินค้า และการคมนาคม สะดวก รวดเร็ว ประหยัด

30 เราเตรียมอะไรให้เด็ก
เส้นทาง “ระเบียงเศรษฐกิจหนานหนิง-กรุงเทพฯ” (R9)ระยะทางประมาณ 1,900 กว่ากิโลเมตร           รายละเอียดเส้นทางเริ่มต้นจากนครหนานหนิง -– กรุงฮานอย (ถนนหมายเลข 1) จ. กวางบิงห์ (ถนนหมายเลข 9) – ด่านสะหวันนะเขต – ด่านมุกดาหาร – จ.ขอนแก่น – กทม. เราเตรียมอะไรให้เด็ก

31 ระเบียงเศรษฐกิจตะวันออก-ตะวันตก East – West Economic Corridor

32 เราเตรียมอะไร ให้เด็กแล้วบ้าง?

33 เด็กไทยจะต้องรู้กี่ภาษา จึงอยู่รอดได้ในโลกวันนี้

34 เราเตรียมอะไรให้เด็กแล้วบ้าง?

35

36 แผนที่เส้นทางไฮสปีดเทรน คุนหมิง-สิงคโปร์
แผนที่เส้นทางไฮสปีดเทรน คุนหมิง-สิงคโปร์

37 การเคลื่อนย้ายผู้ประกอบวิชาชีพชั้นสูง ในปี 2558
ตามข้อตกลงยอมรับร่วมกัน (Mutual Recognition Agreements: MRAs) แพทย์ วิศวกรรม พยาบาล ทันตแพทย์ สถาปัตยกรรม นักบัญชี การสำรวจ สิ่งที่ทุกคนเป็นห่วงคือ แรงงานในระดับหัวกะทิของไทยจะหลั่งไหลไปยังต่างประเทศโดยเฉพาะสิงคโปร์ ตำแหน่งที่น่าจะขาดแคลนบุคลากรในอนาคตคือ บัญชี

38 คนไทยที่ควรจะเป็น ASEAN Community
กรอบแนวคิด คนไทยที่ควรจะเป็น ASEAN Community ทิศทาง อาเซียน ทิศทาง ประเทศ ไทย ทิศทาง โลก การเตรียมความพร้อมด้าน การศึกษาของปท. ในอาเซียน หลักสูตร/โครงสร้าง การจัดการศึกษา ไทยในปัจจุบัน ใน ระบบ นอก ระบบ ความสัมพันธ์ไทยกับปท. อาเซียน ณ ปัจจุบัน การจัดการศึกษารองรับการ เป็นประชาคมอาเซียน มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับอาเซียน ประชาคมอาเซียน ในทุกมิติ มีศักยภาพทั้งในด้านความรู้ทางวิชาการ วิชาชีพ และภาษาอังกฤษ/ภาษาอาเซียน เทคโนโลยีสารสนเทศ มีระบบคิดแบบสมานฉันท์ โดยไม่ลืมรากเหง้าความเป็นไทย: รู้จักความหลากหลายและอยู่ร่วมกับความหลากหลายอย่างสมานฉันท์

39 เพื่อเตรียมพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน
โจทย์ของการจัดการศึกษา เพื่อเตรียมพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน คนไทยที่พึงประสงค์ ในยุค “อาเซียน” การจัดการศึกษาเพื่อเตรียมรับมือ “ประชาคมอาเซียน” การสร้างความรู้ความเข้าใจในเรื่อง“อาเซียน” ในสังคมไทย ควรเป็นอย่างไร ใช้เครื่องมือใด การเสริมสร้างรากเหง้าความเป็นไทยในยุค“อาเซียน” เพื่อการอยู่อย่างสมานฉันท์ และไม่ลืมรากเหง้า

40 โจทย์สำคัญ 2.สภาพแวดล้อม - แหล่งเรียนรู้ เราจะทำอย่างไรกันดี 1.คน
- สถานศึกษา - บรรยากาศ เราจะทำอย่างไรกันดี 1.คน - ครู - ผู้บริหารร.ร./เขต - บุคลากรอื่น - นักเรียน - ประชาชน 3.กิจกรรม - การเรียนการสอน - กิจกรรมเสริม - กิจกรรมสร้างกระแส READ Singapore/Book Club/การเรียนรู้ผ่านโน๊ตบุ๊ค การเปิดโครงการ future career ที่บริษัทเข้าไปร่วมกับสถานศึกษา ในการให้ความรู้เพื่อเตรียมความพร้อมเด็กก่อนเข้าไปทำงานและมีการ คัดเลือกเด็กเข้ามาทำงานกับทางบริษัทผ่านโครงการนี้

41 กระทรวงศึกษาธิการกับการเตรียม ความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน
มีคณะกรรมการระดับชาติเพื่อขับเคลื่อนความร่วมมือ ด้านการศึกษาในอาเซียนสู่การบรรลุเป้าหมายการจัดตั้งประชาคมอาเซียน ภายในปี 2558 โดยมี รมว.ศธ.เป็นประธาน มีการยอมรับว่ามหาวิทยาลัยในประเทศไทยมีการปรับตัวเพื่อรับกับนโยบายเปิดเสรีอาเซียนช้ากว่าในหลายประเทศ

42 โดยเน้น... เผยแพร่ความรู้ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับอาเซียน เพื่อสร้างความตระหนัก และเตรียมความพร้อมครู อาจารย์ บุคลากรทางการศึกษา นักเรียน และประชาชน การพัฒนาศักยภาพ นักศึกษา นักเรียน และประชาชน ให้มีทักษะเตรียมความพร้อม เช่น ภาษาอังกฤษ และภาษาเพื่อนบ้าน

43 โดยเน้น... พัฒนามาตรฐานการศึกษา เพื่อส่งเสริมการหมุนเวียนของนักศึกษาและครูในอาเซียน ยอมรับคุณสมบัติร่วมกับ และส่งเสริม Education Hub การเตรียมความพร้อม เพื่อเปิดเสรีการศึกษาในอาเซียน การพัฒนาเยาวชน เพื่อเป็นทรัพยากรในการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน

44 ทัศนคติและความตระหนักรู้ เพื่อก้าวไปสู่ “อาเซียน” บทสรุปข้อค้นพบจากการสำรวจข้อมูล ประเทศสมาชิกอาเซียนทั้งสิบ The survey was carried out last year among university students in all ten ASEAN member countries. There were 2170 respondent and average age was 20 years old. สำรวจนักศึกษาจำนวน 2,170 คน จากมหาวิทยาลัยชั้นนำในประเทศสมาชิกอาเซียนทั้งสิบ 44

45 ผม/ฉันรู้สึกว่าตนเองเป็นพลเมืองอาเซียน (I feel that I am a citizen of ASEAN)
ลาว 96.0% 2. กัมพูชา 92.7% 3. เวียดนาม 91.7% 4. มาเลเซีย 86.8% 5. บรูไน 82.2% 6. อินโดนีเซีย 73.0% 7. ฟิลิปปินส์ 69.6% 8. ไทย 67.0% 9. พม่า 59.5% 10. สิงคโปร์ 49.3% The most common attitude towards ASEAN was “positive”. Over 75% of students agreed with the statement “I feel I am a citizen of AZEAN “ They may not know yet that the drafters of the ASEAN Charter felt that ASEAN was not yet ready to recognize the ASEAN “citizenship” , the way the European Union does recognize European citizenship; thus the ASEAN Charter is silent on the ASEAN citizenship 45

46 ถาม ความรู้เกี่ยวกับอาเซียน
รู้จักธงอาเซียน รู้ว่าอาเซียนก่อตั้งเมื่อใด Brunei 98.5% Indonesia 92.2% Laos 87.5% Myanmar 85.0% Singapore 81.5% Vietnam 81.3% Malaysia 80.9% Cambodia 63.1% Philippines 38.6% 10.THAILAND 38.5% Laos 68.4% Indonesia 65.6% Vietnam 64.7% Malaysia 53.0% Singapore 47.8% Brunei 44.3% Philippines 37.8% 8. Cambodia 36.6% Myanmar 32.5% 10. THAILAND 27.5%

47 คุณรู้เกี่ยวกับอาเซียนจาก …..
โทรทัศน์ % ครอบครัว 18.2% โรงเรียน % 11. การเดินทาง 13.3% หนังสือพิมพ์70.7% 12. ภาพยนตร์ % หนังสือ % 13. ดนตรี % อินเตอร์เน็ต 49.9% 14. งาน/อาชีพ 6.1% วิทยุ % กีฬา % 8. โฆษณา % 9. เพื่อน ๆ %

48 การศึกษาขั้นพื้นฐาน กำหนดภาพเด็กไทย ใน ASEAN
Education Hub school (14 โรง) Spirit Of ASEAN - Sister/partner school (30 โรง) - Buffer school (24 โรง) (มีเครือข่าย มากกว่า 500 โรง) ASEAN Focus School (14 โรง) Connecting classroom : พัฒนาการเรียนการสอนร่วมกับประเทศอาเซียน และประเทศอื่นๆ

49 จุดเน้นของการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน สู่ประชาคมอาเซียน
Link with member countries school (Connecting Classroom) School Curriculum that focuses on English, ASEAN Language, ICT for Learning, Multi-Culture Community, etc Design & Implement Global Issues/Learning with partner school School Curriculum that goes beyond it’s boundary Member Countries Language Multi-Cultural living

50 การศึกษาขั้นพื้นฐาน กับการเตรียมสู่ ASEAN
แนวทางการบริหารการจัดการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน สำหรับประถมศึกษา แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน สำหรับมัธยมศึกษา แนวทางการจัดค่ายอาเซียน

51 คุณลักษณะที่พึงประสงค์
ความสามารถและทักษะ จง... มองไปยังจุดหมายปลายทางให้แน่ใจ ว่าไม่ได้กำลังเดินผิดทาง คุณลักษณะที่พึงประสงค์

52

53 อีก 4 ปีที่เหลือ จังหวัดของเราจะมีผลกระทบอย่างไรจาก การเป็นประชาคมอาเซียน ? จังหวัดของท่านจะดำเนินการเตรียมคนทุก ระดับอย่างไร ? จัดการศึกษา/ให้ความรู้อย่างไร ด้วยวิธีการใด ? เมื่อเป็นอาเซียนแล้ว ความเป็นไทยและ ท้องถิ่นจะเข้มแข็งได้อย่างไร ? ทางมหาวิทยาลัยมีการสำรวจบริษัทที่รับนักศึกษาเข้าทำงานพบว่า มีความชื่นชอบเด็กที่ทำกิจกรรมเพราะสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างดี

54 ASEAN THANK YOU

55 “นายวรวัจน์ เอื้ออภิญญกุล”
วิสัยทัศน์ของผู้ที่บอกว่าจะมาปรับเปลี่ยน ระบบการศึกษาไทย “นายวรวัจน์ เอื้ออภิญญกุล” รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ

56 “ในขณะนี้เรื่องการค้าเสรีเป็นเรื่องใหญ่ที่ต้องพิจารณา เพราะประเทศไทยก้าวเข้ามาด้วยความไม่พร้อม ซึ่งทำให้เราเสียเปรียบในการทำสัญญา โดยเฉพาะการเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนในปี 2558 ที่กำลังจะมาถึงซึ่งแต่ละประเทศจะเข้ามาทำการค้าโดยปลอดภาษี ซึ่งขณะนี้ไทยยังมีปัญหาเรื่องความพร้อม โดยเฉพาะเรื่องภาษา เทคโนโลยี และระบบการผลิตต่างๆ ดังนั้นถ้าเปิดไปแล้วจะประสบกับปัญหาอย่างมาก ผมจึงมองว่า สิ่งที่ต้องดำเนินการอย่างเร่งด่วน เพื่อให้เกิดความพร้อมก่อนที่ประเทศไทยจะเข้าสู่เศรษฐกิจอาเซียน เราจะต้องเพิ่มศักยภาพในด้านการศึกษา โดยเฉพาะเรื่องของภาษา ไอที และองค์ความรู้ที่เหมาะสมกับเด็กไทย”

57 มหาวิทยาลัยจะลงไปจัดทำหลักสูตรและช่วยสอนในโรงเรียนมัธยมฯ ซึ่งจะทำให้เด็กได้เรียนหลักสูตรเดียวกับมหาวิทยาลัยตั้งแต่มัธยมฯ โดยจะมีการปรับหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานให้แบ่งตามกลุ่มอัจฉริยภาพของเด็ก โดยจัดระบบใหม่ให้สอดคล้องกับสภาพเศรษฐกิจและสังคม 5 กลุ่ม ได้แก่ เกษตรกรรม อุตสาหกรรม พาณิชยกรรม วิชาการและความคิดสร้างสรรค์ “จากนี้ไปการศึกษาต้องมีทิศทาง ต้องเป็นการศึกษาเพื่อการพัฒนาประเทศและการมีงานทำ ไม่ใช่การศึกษาเพื่อการเรียนรู้ประการเดียว”

58 แบ่งหลักสูตรการศึกษาออกเป็น 5 กลุ่ม
หลักสูตรการศึกษาไทยจะต้องสัมพันธ์กับระบบเศรษฐกิจ แบ่งหลักสูตรการศึกษาออกเป็น 5 กลุ่ม 1.ภาคเกษตรกรรม 2.ภาคอุตสาหกรรม 3.ภาคพาณิชยกรรม (ระบบการค้าขาย) 4.ภาคอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ เช่น ภาพยนตร์ ดนตรี แอนิเมชั่น บรรจุภัณฑ์ 5.ภาคการบริหารจัดการและบริการ

59 การมองไปที่ศักยภาพของพื้นที่ว่ามี ทรัพยากรธรมชาติ
การมองไปที่ศักยภาพของพื้นที่ว่ามี ทรัพยากรธรมชาติ ภูมิอากาศ ภูมิประเทศ วัฒนธรรมประเพณี ทรัพยากรมนุษย์ เป็นอย่างไร

60 จะเริ่มวางระบบเศรษฐกิจใหม่ โดย จะเริ่มทำธุรกิจเพื่อการศึกษา โดยใช้แต่ละจังหวัดเป็นพื้นฐาน เราพัฒนาเด็กผ่านระบบการศึกษา การสร้างผลผลิตทางการเกษตร ทำโลจิสติกส์แลกเปลี่ยนสินค้าระหว่างภายในประเทศด้วยกัน โดยใช้หน่วยของระบบการศึกษาเป็นผู้ดำเนินการ” เมื่อพัฒนาระบบเศรษฐกิจจำลอง เด็กเริ่มพัฒนาทรัพยากรและทำงานอยู่ในจังหวัดของตัวเอง ท้องถิ่นก็จะเกิดการสร้างงานและรายได้ให้กับพื้นที่ของตนเอง ตอนนี้ก็จะเป็นการยกระดับวิชาชีพครูขึ้นมาด้วย

61 “เราจะแบ่งครูออกเป็น 2 ระบบ คือ
ครูวิชาการ และครูผู้เชี่ยวชาญ โดยครูวิชาการจะมาจากบุคคลภายนอกก็ได้ ซึ่งตอนนี้ ศกอ.กำลังดำเนินการ และผมมองว่าบางทีบุคคลภายนอกเก่งและมีความสามารถมากกว่าอาจารย์ทั่วไปก็เป็นไปได้ จึงอยากให้บุคคลเหล่านั้นมาสอนนักเรียน แต่อย่างไรก็ตาม ครูทั้ง 2 ระบบก็คงจะต้องร่วมมือกันอยู่ดี โดยจะต้องนำองค์ความรู้ของครูทั้งคู่มาแปลงให้ง่ายต่อการเข้าใจของเด็ก”

62 วิธีการคัดเลือกเด็กเข้ามหาวิทยาลัยของไทย
จะเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม “เรื่องโอเน็ต-เอเน็ต เรื่องนี้กำลังให้มหาวิทยาลัยลงไปดูหลักสูตรการศึกษาต่างจังหวัด เพื่อให้มหาวิทยาลัยรับผิดชอบการศึกษาขั้นพื้นฐาน ซึ่งก่อนหน้านี้ระดับประถมก็คิดหลักสูตรประถม มัธยมก็คิดหลักสูตรมัธยม อุดมศึกษาก็คิดในหลักสูตรอุดมศึกษา ซึ่งมันไม่สามารถเชื่อมองค์ความรู้กันได้ ต่อจากนี้ไปเราจะให้มหาวิทยาลัยรับผิดชอบ เวลาไม่นานเราจะได้นักศึกษาที่มีความสามารถแบบเฉพาะเจาะจงและมีศักยภาพจริงๆ”

63 โรงเรียนต่างจังหวัดมีทรัพยากร ที่ผ่านมาหลักสูตรไม่เคยสอนให้ใช้ทรัพยากรได้ แต่ถ้าวันนี้ปรับเปลี่ยนใหม่ ให้สามารถใช้ทรัพยากรในท้องถิ่นได้ จนสามารถสร้างมูลค่า สร้างอาชีพได้ ความสำคัญของโรงเรียนก็จะเปลี่ยนไปตาม โดยโรงเรียนขนาดใหญ่จะต้องเปลี่ยนไปสอนการเงิน บัญชี หรืออะไรแทน ตรงนั้นน่าจะช่วยทำให้น้ำหนักของโรงเรียนแต่ละแห่งเกิดความเท่าเทียมกัน เด็กก็ไม่ต้องแย่งกันเข้าโรงเรียนดังๆ และจะเปลี่ยนแนวคิดเรื่องการสอบแข่งขัน หรือสอบเอ็นทรานซ์ได้ด้วย ไม่ใช่เรียนมาทั้งหมด 12 ปี เพื่อสอบเอ็นทรานซ์เพียงครั้งเดียว

64 “เราจะเปลี่ยนระบบใหม่ ภายใต้แนวคิด เรียนไปมีงานทำไป มากกว่าการสอบเข้ามหาวิทยาลัย โดยแบ่งให้ระดับมัธยมเป็น 2 รูปแบบ คือ มัธยมเชิงปฏิบัติการ ควบคู่ไปกับมัธยมวิชาการ ซึ่งขณะนี้ได้เริ่มดำเนินการแล้ว โดยให้โรงเรียนมัธยมต้นเริ่มปรับเปลี่ยนอาคาร ที่เน้นไปเป็นการเรียนเชิงปฏิบัติการมากขึ้น ด้วยการใช้งบประมาณจากกองทุน 1,000 ล้านบาท อย่างไรก็ตาม ภายในปีการศึกษา 2555 น่าจะได้เห็นผลอย่างเป็นรูปธรรมมากยิ่งขึ้น”

65 "วันนี้เราไม่คิดจะปล่อยมหาวิทยาลัยออกไปนอกระบบอยู่แล้ว เพราะการออกไปนอกระบบจะให้มหาวิทยาลัยทำอะไรก็ได้ตามใจชอบ แต่วันนี้เองเรากำลังจะดึงมหาวิทยาลัยกลับเข้าสู่ระบบ เช่นเดียวกับงานวิจัยที่เราก็ดึงกลับมา โดยแบ่งเป็น 30:70 คือ 30 เป็นความรู้ทางวิชาการจะเป็นเรื่องอะไรก็ได้ ส่วน 70 จะเป็นไปตามแผนการพัฒนาประเทศ ดังนั้นไม่ต้องเป็นห่วงเรื่องนี้"

66 ตัวชี้วัดความสำเร็จในการบริหารกระทรวงศึกษาธิการ สิ่งที่วัดได้ คือ
1. การเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันกับต่างประเทศ 2. เด็กมีงานทำประมาณ 80% โดยให้ประชาชนเป็นคนตัดสิน ทั้งนี้ต้องมีเรื่องงบประมาณและความร่วมมือขององค์กรเป็นสำคัญ

67 เลขาธิการคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน
สพฐ.เร่งเขตพื้นที่จัดทำแผนขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การศึกษาเพื่อการมีงานทำ นายชินภัทร ภูมิรัตน เลขาธิการคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน

68 ให้ สพท.ไป วิเคราะห์ศักยภาพและอาชีพที่เหมาะสมในแต่ละพื้นที่ เพื่อ จัดทำแผนการศึกษาให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์และนโยบายของ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ (ศธ.) และ ส่งแผนงานที่กำหนดเครือข่ายสถาบันอุดมศึกษาที่เข้าร่วมพัฒนาภายในวันที่ 28 ก.ย.นี้

69 “เขตพื้นที่ต้องไปวิเคราะห์ความต้องการเกี่ยวกับอาชีพที่ตรงกับสมรรถนะในตัวผู้เรียน และยึดโยงกับศักยภาพของแต่ละจังหวัดและเขตพื้นที่นั้นๆ เพื่อจะดูว่ามีกลุ่มวิชาชีพใดบ้างที่จะเป็นประโยชน์ต่อการเตรียมความพร้อมให้กับนักเรียน เพื่อให้นักเรียนจบการศึกษาออกมาแล้วมีงานทำ ทั้งนี้ การดำเนินงานเหล่านี้ไม่ได้ปิดโอกาสการเรียนต่อของเด็ก แต่จากนี้ไปเรื่องการศึกษาจะต้องมีความหลากหลายควบคู่กันไป เพราะ การวัดความสำเร็จการศึกษาจะต้องวัดทั้งสองด้าน”

70 ให้สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สพฐ
ให้สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สพฐ.ไปจัดทำคู่มือเพื่อปรับหลักสูตรให้มีความยืดหยุ่นเพื่อให้โรงเรียนสามารถนำไปปรับใช้ให้เข้ากับบริบทของแต่ละเขตพื้นที่มากขึ้น แต่อย่างไรก็ตาม นักเรียนที่จบการศึกษาขั้นพื้นฐานต้องมีความรู้ขั้นพื้นฐานตามที่กำหนดไว้ เพราะต้องมีการประเมินโดยการทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติขั้นพื้นฐาน หรือโอเน็ต ซึ่ง ต่อไปโอเน็ตจะต้องมีการปรับเปลี่ยน เพิ่มการวัดสมรรถนะทางด้านอาชีพเข้ามาด้วย

71 “โรงเรียนประถมศึกษาและมัธยมศึกษาจะต้องส่งเสริมการศึกษาเพื่อการมีงานทำ ต้องเริ่มปูพื้นตั้งแต่ช่วงชั้นที่ 1, 2 พอถึงช่วงชั้นที่ 3, 4 จะต้องมีการวัดสมรรถนะของนักเรียนและเพิ่มระดับความเข้มข้นไปเรื่อยๆ โรงเรียนมัธยมศึกษาจะมีการแบ่งสายสามัญ ที่เน้นการจัดการเรียนการสอนภาควิชาการแบบปกติ เช่น โรงเรียนที่มีความเป็นเลิศทางด้านวิทยาศาสตร์ หรือคณิตศาสตร์ เป็นต้น และ สายปฏิบัติการ ที่เน้นสอนความเป็นเลิศด้านอาชีพ จะคัดโรงเรียนสายปฏิบัติเพื่อพัฒนาให้เป็นโรงเรียนหลักสูตรสายอาชีพเข้มข้น อาชีพละ 2 โรงกระจายตามภูมิภาคต่างๆ เขตพื้นที่จะต้องไปทำการบ้านวิเคราะห์ดูว่าจะส่งเสริมโรงเรียนที่มีความเป็นเลิศด้านสายอาชีพได้อย่างไรบ้าง” ในอนาคตจะเห็นภาพการจัดการศึกษาที่หลากหลายมากขึ้น เด็กไม่จำเป็นต้องเรียนวิชาการแบบเข้มข้นครบทั้ง 8 กลุ่มสาระ แต่จะยืดหยุ่นให้เด็กได้เรียนวิชาการเท่าที่จำเป็นแต่ครบถ้วนคนถนัดวิชาชีพก็เรียนทางด้านสายปฏิบัติการ ขณะเดียวกัน ก็ไม่ทิ้งผู้ที่มีความเป็นเลิศทางวิชาการส่งต่อไปยังโรงเรียนมาตรฐานสากล โรงเรียนในฝัน หรือโรงเรียนดีประจำตำบล เป็นต้น  

72

73 การจัดงานแสดงผลงานวิชาการ
- ชื่องาน - วัตถุประสงค์ เพื่อเฉลิมพระเกียรติในหลวง/ นำเสนอผลงานโรงเรียน ครู นักเรียน ภูมิปัญญาท้องถิ่น รูปแบบงาน (จัดทั้ง กลางวัน และ กลางคืน) กลางวัน มี 1.นิทรรศการผลงานโรงเรียน/ผู้บริหาร/ครู/นกเรียน/ภูมิปัญญา 2.แมนออฟเดอะแมท 5 กลุ่มสาระหลัก/รอบรู้เรื่องเมืองตาก/อาเซียน 3.เวที/ลาน คนกล้า คนเก่ง คนดี 4.พิธีเฉลิมพระเกียรติ

74 การจัดงานแสดงผลงานวิชาการ
กลางคืน (ปิดวิก) มี 1.การทำพิธีเฉลิมพระเกียรติ 2.การแสดงความสามารถของนักเรียนบนเวที - จัด 22 พ.ย.-4 ธ.ค.54 ณ อำเภอ

75 ตัวอย่างชื่องานที่ยังไม่โดนใจ
“วันบัลลังก์คนดี เวทีคนกล้า” “วันแสงแห่งปัญญา” “วันต้นกล้าแห่งปัญญา” “วันแห่งปัญญา” “พลังเด็กดี เวทีคนกล้า” “เมล็ดพันธุ์คนดี เวทีคนกล้า” “เมล็ดพันธุ์ปัญญา ต้นกล้าเมืองตาก” “วันภูมิปัญญา”

76 ตัวอย่างชื่องานที่ยังไม่โดนใจ(ต่อ)
“เด็กเมืองตากรวมใจภักดิ์องค์ภูมินทร์” “ประถมศึกษาตากรวมใจภักดิ์องค์ภูมินทร์” “ประถมเมืองตากรวมใจภักดิ์องค์ภูมิพล” “ประถมศึกษาตากวิชาการ รวมใจถวายพ่อหลวง” “ประถมวิชาการรวมใจเทิดไท้องค์ราชัน” “ประถมศึกษาวิชาการรวมใจถวายพ่อหลวง” “เทิดไท้องค์ราชัน วิชาการตระการตา” “ลูกพ่อตากสินวิชาการรวมใจภักดิ์รักพ่อของแผ่นดิน” “ลูกพ่อตากสินรวมใจภักดิ์ ศักยภาพวิชาการเพื่อพ่อของแผ่นดิน” “ลูกพ่อตากสินรวมใจภักดิ์รักวิชาการ” “วิชาการดีที่เมืองตาก”

77 สโลแกนของงาน “ลานคนดี เวทีภูมิปัญญา ต้นกล้าแห่งชุมชน”
“ลานคนดี เวทีภูมิปัญญา ต้นกล้าแห่งชุมชน” “ลานภูมิปัญญา ต้นกล้าแห่งชุมชน” “ลานปัญญา ต้นกล้าความดี เวทีคนเก่ง” “ลานสานฝัน วันคนดี เวทีคนกล้า ภูมิปัญญาคนเก่ง” “หนึ่งโรงเรียน หนึ่งครู หนึ่งภูมิปัญญา เก่งกล้าสู่อาเซียน” “หัวใจ ความคิดและฝีมือ ลูกพ่อตากสิน” “หลากหลายความคิด หลากหลายน้ำมือ หลากหลายสีสัน หลากหลายพลังลูกพ่อตากสิน” “หนุ่มแม่ปิง หญิงแม่วัง ลูกพ่อตากสินจริงจัง มุ่งหวังวิชาการก้าวไกล” “หนุ่มแม่ปิง หญิงแม่วัง ลูกพ่อตากสินเกรียงไกร ก้าวไกลในอาเซียน” “หนุ่มแม่ปิง หญิงแม่วัง ลูกพ่อตากสินรวมพลัง สร้างสรรค์วิชาการก้าวไกล” “ลูกพ่อตากสินเกรียงไกร ก้าวไกลในอาเซียน” “เก่งไม่กลัว กลัวช้า” (คิดไม่ออก)

78 Work shop เรื่องจัดงานวิชาการ
ชื่องาน สโลแกนประจำงาน 1……………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………..………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………... 2………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………..………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………... 3………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………..………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………... ……………………………………………………………………………………………………………..………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………... 4………………………………… 5………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………..………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………... 5………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………..………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………...

79 Work shop เรื่อง ASEAN Input Process
Needs Input Process Output/ Outcomes ขาดความพร้อมการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน -เด็ก -ครู(รวม ผู้บริหาร/บุคลากร) -ชาวบ้าน เด็ก 1…. 2…. 3…. 4…. 5….. 6….. 7….. 8….. 9…..10… 11... 12… ครู 1…. 2…. 3…. 4…. 5….. 6….. 7….. 8….. 9…..10… 11... 12… ชาวบ้าน 1…. 2…. 3…. 4…. 5….. 6….. 7….. 8….. 9…..10… 11... 12… เด็ก 1…. 2…. 3…. 4…. 5….. 6….. 7….. 8….. 9….. 10… 11... 12… ครู 1…. 2…. 3…. 4…. 5….. 6….. 7….. 8….. 9….. 10… 11... 12… ช่าวบ้าน 1…. 2…. 3…. 4…. 5….. 6….. 7….. 8….. 9….. 10… 11... 12… เด็ก/ครู/ ช่าวบ้าน 1.มีความรู้ เข้าใจในASEAN 2.เด็ก/ครู มี 5 สมรรถนะหลักสากล 3.มีความพร้อมสู่ ASEAN

80 Work shop เรื่อง การศึกษาเพื่อการมีงานทำ
1.ศึกษาวิเคราะห์ข้อมูล 1.1 ศึกษายุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัดว่ามีอะไรบ้าง? เกี่ยวข้องกับการศึกษาอย่างไร? 1.2 ศึกษายุทธศาสตร์จังหวัดตากว่ามีอะไรบ้าง ? เกี่ยวข้องกับการศึกษาอย่างไร? ศึกษาบริบทของท้องถิ่น (ทรัพยากรธรมชาติ /ภูมิอากาศ /ภูมิประเทศ /วัฒนธรรมประเพณี /วิถีชีวิต 1.4 วิเคราะห์ Demand – Supply ในพื้นที่ ศักยภาพด้านเศรษฐกิจ ศักยภาพด้านวัฒนธรรม การท่องเที่ยว ศักยภาพด้านอุตสาหกรรม ศักยภาพด้านเกษตรกรรม ศักยภาพด้านพาณิชยกรรม ศักยภาพด้านงานสร้างสรรค์

81 Work shop เรื่อง การศึกษาเพื่อการมีงานทำ
2.วิเคราะห์ว่าท้องถิ่นควรจัดการศึกษาเพื่อการมีงานทำ(เรียนรู้อาชีพ)ที่สอดคล้องกับปริบท คืออาชีพอะไรบ้าง? สถาบันการศึกษา/ภูมิปัญญาที่จะมาช่วยสนับสนุนได้แก่อะไรบ้าง ? อย่างไร? ด้านเศรษฐกิจ ด้านวิชาการ (วัฒนธรรม การท่องเที่ยว ) ด้านอุตสาหกรรม ด้านเกษตรกรรม ด้านพาณิชยกรรม ด้านงานสร้างสรรค์ 3.วิธีการ/กระบวนการ/กิจกรรมหลักที่ควรทำ ในการจัดการศึกษาเพื่อการมีงานทำในท้องถิ่น ระดับเขตและสถานศึกษา

82 Work shop เรื่อง การศึกษาเพื่อการมีงานทำ
ยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัด สาระสำคัญที่ได้ จากการศึกษา อาชีพที่รองรับ/ส่งเสริม 1……………………………….. ……………………………………………………… …………………………………………………….. ……………………………………………………… …………………………………………………….. ………………………………………………………. 2………………………………… ……………………………………………………… …………………………………………………….. 3………………………………… ……………………………………………………… …………………………………………………….. ……………………………………………………… …………………………………………………….. ………………………………………………………. 4………………………………… ……………………………………………………… …………………………………………………….. 5………………………………… ……………………………………………………… …………………………………………………….. ……………………………………………………… …………………………………………………….. ………………………………………………………. 5………………………………… …………………………………………………………………………………………………………….. 3……………………………………………………..

83 Work shop เรื่อง การศึกษาเพื่อการมีงานทำ
อาชีพที่รองรับ/ส่งเสริม ยุทธศาสตร์ จังหวัดตาก สาระสำคัญที่ได้ จากการศึกษา 1……………………………….. ……………………………………………………… …………………………………………………….. ……………………………………………………… …………………………………………………….. ………………………………………………………. 2………………………………… ……………………………………………………… …………………………………………………….. 3………………………………… ……………………………………………………… …………………………………………………….. ……………………………………………………… …………………………………………………….. ………………………………………………………. 4………………………………… ……………………………………………………… …………………………………………………….. 5………………………………… ……………………………………………………… …………………………………………………….. ……………………………………………………… …………………………………………………….. ………………………………………………………. 5………………………………… …………………………………………………………………………………………………………….. 3……………………………………………………..

84 Work shop เรื่อง การศึกษาเพื่อการมีงานทำ
Demand - Supply ศักยภาพของพื้นที่ อาชีพที่ควรส่งเสริม ……………………………………………………… …………………………………………………….. 1.ทรัพยากรธรรมชาติ …………………………………. ……………………………………………………… …………………………………………………….. ………………………………………………………. ……………………………………………………… …………………………………………………….. 2.ลักษณะภูมิประเทศ ………………………………….. ……………………………………………………… …………………………………………………….. ……………………………………………………… …………………………………………………….. ………………………………………………………. 3.ลักษณะภูมิอากาศ ………………………………….. ……………………………………………………… …………………………………………………….. 4.วัฒนธรรมประเพณี ………………………………….. ……………………………………………………… …………………………………………………….. ……………………………………………………… …………………………………………………….. ………………………………………………………. 5.ทรัพยากรมนุษย์ ………………………………….. ……………………………………………………… ……………………………………………………..

85 เด็ก Work shop เรื่อง ASEAN Input Process Needs Output/ Outcomes เก่ง
การจัด การศึกษาเพียงเพื่อ เก่ง ดี มีความสุข (เด็กจบการศึกษาแล้วยังไม่มีงานทำเยอะ) คน 1…. 2…. 3…. 4…. 5…. 6…. 7…. 8…. 9….10. 11.. 12… อา คาร สถานที่ 1…. 2…. 3…. 4…. 5…. 6…. 7…. 8…. วัสดุ ครุ ภัณฑ์ 1…. 2…. 3…. 4…. 5…. 6…. 7…. 8…. 9….10… เด็ก 1…. 2…. 3…. 4…. 5….. 6….. 7….. 8….. 9….. 10… 11... 12… ครู 1…. 2…. 3…. 4…. 5….. 6….. 7….. 8….. 9….. 10… 11... 12… ช่าวบ้าน 1…. 2…. 3…. 4…. 5….. 6….. 7….. 8….. 9….. 10… 11... 12… เด็ก เก่ง ดี มีความสุข มีงานทำ


ดาวน์โหลด ppt ASEAN and Thai Education

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google