งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

บทที่ 1 สัญญาณไฟฟ้าชนิดต่างๆ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "บทที่ 1 สัญญาณไฟฟ้าชนิดต่างๆ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 บทที่ 1 สัญญาณไฟฟ้าชนิดต่างๆ
เฉลยแบบฝึกหัด บทที่ 1 สัญญาณไฟฟ้าชนิดต่างๆ ผู้เฉลย นายสายยันต์ กันอินทร์

2 แบบฝึกหัดที่ 1.1 จากรูป จงหาส่วนประกอบคลื่นพัลส์ดังต่อไปนี้ E (v) 15
จากรูป จงหาส่วนประกอบคลื่นพัลส์ดังต่อไปนี้ E (v) 15 10 5 T (μs) 4 8 12 16 20 24 28 32

3 ความกว้างพัลส์ (tp) = 8 μs – 4 μs = 4 μs
ช่องว่างพัลส์(ti) = 12 μs – 8 μs = 4 μs ช่วงเวลาเกิดพัลส์ซ้ำ(prt) = (tp + ti) = 4 μs – 4 μs = 8 μs อัตราการเกิดพัลส์ซ้ำ(prr) = = = = x 10 Hz หรือ KHz 1 prt 1 8 μs 1 8 x 10 -6 1x 10 8 6 6

4 แรงดันสูงสุดของพัลส์(Ep) = 15 V
แรงดันเฉลี่ยของพัลส์(Eav) = (tp x Ep) = ( 4 μs x 15 V ) prt 8 μs = 60 V 8 = V ดิวตีไซเคิล(Duty Cycle) = Eav x 100 % = V x 100% Ep V = 50 %

5 แบบฝึกหัดที่ 1.2 จากรูปคลื่นดิฟเฟอเรนติเอเตด จงหาค่าเปอร์เซ็นต์อัตราส่วนความลาดเอียง (%P) เมื่อคลื่นมีความถี่ 10 KHz และช่วงเวลาเอียง(tt)

6 30 20 10 Ep -10 -20 -30 tt

7 วิธีทำ จาก P = E1 – E2 Ep 2 P = 30 V – 20 V = 10 V = 0.5 40 V V เพราะฉะนั้น %P = 0.5 x 100 % = 50 %

8 เพราะฉะนั้น tp = T = 100 μs = 50 μs 2 2
f เมื่อ f = 10KHz T = 1 = 100 μs 10X10 Hz เพราะฉะนั้น tp = T = 100 μs = 50 μs ดังนั้น tt = tp = 50 μs = 100 μs P 0.5 3

9 แบบฝึกหัดที่ 1.3 วงจรเชิงเส้นหนึ่งประกอบด้วยตัวต้านทาน50k Ω ต่ออนุกรมกับตัวเก็บประจุ 0.5 μF จงหาเวลาคงที่ วงจร RC วิธีทำ จาก τ = RC = 50 k x 0.5 μ = (50 x 10) x (0.5 x 10) = 25 x 10 τ = 25 ms 3 -6 -3

10 แบบฝึกหัดที่ 1.4 วงจรไฟฟ้าหนึ่งประกอบด้วยตัวเหนี่ยวนำ 60 mH ต่ออนุกรมกับตัวต้านทาน 200 Ω จงหาค่าเวลาคงที่ วงจร RL วิธีทำ จาก τ = L R = 60 m = (60 x 10) τ = 0.3 x หรือ 300 x 10 หรือ τ = 300 μs -3 -3 -6

11 แบบทดสอบท้ายบทที่ 1 X X X
จงพิจารณาเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคำตอบเดียว 1. ลักษณะสัญญาณที่ถูกกำหนดขึ้นมาตามธรรมชาติและนำไปใช้งานอย่างกว้างขวางและแพร่หลายคือคลื่นชนิดใด ก) ไซน์ ข) พัลส์ ค) สี่เหลี่ยม ง) อินติเกรต 2.คลื่นที่เกิดจากการผสมคลื่นหลายชนิดเข้าด้วยกัน คือคลื่นชนิดใด ก) ไซน์ ข) เอียง ค) ขั้นบันได ง)สามเหลี่ยม 3.คลื่นสี่เหลี่ยมเกิดขึ้นได้จากการผสมคลื่นใดเข้าด้วยกัน ก) ไซน์ ข) เอียง ค) ขั้นบันได ง) เอกซ์โพเนเชียล แบบทดสอบท้ายบทที่ 1 X X X

12 X 4. คลื่นพัลส์กับคลื่นสี่เหลี่ยมแตกต่างกันในส่วนใด
4. คลื่นพัลส์กับคลื่นสี่เหลี่ยมแตกต่างกันในส่วนใด ก) ขนาดความแรงคลื่น ข) ความลาดเอียงคลื่น ค) ความถี่ของคลื่นที่เกิดขึ้น ง) ช่วงเวลาเกิดคลื่นเทียบกับช่วงช่องว่างคลื่น จากรูปต่อไปนี้ใช้ตอบคำถาม ข้อ 5 – 10 X E(v) 40 20 t(ms) 5 10 15 20 25 30 35 40

13 X X X X X X 5.ช่วงเวลา tP ของคลื่นมีค่าเท่าไร
ก) 5 ms ข) 10 ms ค) 15 ms ง) 20 ms 6.ช่วงเวลา prt ของคลื่นมีค่าเท่าไร ก) 10 ms ข) 20 ms ค) 30 ms ง) 40 ms 7.ค่า prr ของคลื่นมีค่าเท่าไหร่ 50 Hz ข) 100 Hz ค) 150 Hz ง) 200 Hz 8.แรงดัน E av ของคลื่นมีค่าเท่าไร่ ก) 10 V ข) 15 V ค) 20 V ง) 25 V 9.ที่เวลา 20 ms ถูกเรียกว่าอะไร ก) ขอบขาขึ้น ข) ขอบขาลง ค) ช่องวางพัลส์ ง) ความกว้างพัลส์ 10.ช่วงเวลา 20 – 30 msถูกเรียกว่าอะไร ช่องว่างพัลส์ ข) ความกว้างพัลส์ ค) อัตราการเกิดพัลส์ซ้ำ ง) ช่วงเวลาเกิดพัลส์ซ้ำ X X X X X X


ดาวน์โหลด ppt บทที่ 1 สัญญาณไฟฟ้าชนิดต่างๆ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google