งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

แนวทางการดำเนินงานสุขภาพจิต ของโรงพยาบาลชุมชน ในปีงบประมาณ 2553

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "แนวทางการดำเนินงานสุขภาพจิต ของโรงพยาบาลชุมชน ในปีงบประมาณ 2553"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 แนวทางการดำเนินงานสุขภาพจิต ของโรงพยาบาลชุมชน ในปีงบประมาณ 2553
แนวทางการดำเนินงานสุขภาพจิต ของโรงพยาบาลชุมชน ในปีงบประมาณ 2553 โดย รองอธิบดีกรมสุขภาพจิต ( นายแพทย์วชิระ เพ็งจันทร์ )

2 1.แนวโน้มปัญหาสุขภาพจิต Trend of Mental Health Problem

3 1.แนวโน้มปัญหาสุขภาพจิต(ต่อ)
Trend of Mental Health Problem โรคทางจิต เป็นสาเหตุการตาย เพียง 1+ % Mortality Rate โรคทางจิต เป็นภาระสูญเสีย จากการเจ็บป่วยทั้งหมด11 % Barden of Diseases

4 Global Burden of Disease (GBD): ภาระโรค
Global Burden of Disease analysis provides a comprehensive and comparable assessment of mortality and loss of health due to diseases, injuries and risk factors for all regions of the world

5 การจัดอันดับความสูญเสียปีสุขภาวะ (Disability Adjusted Life Year : DALY) ของประชากรไทย ปี พ.ศ. 2547

6 ระบาดวิทยาสุขภาพจิต ปี 2546 Mental Disorders Prevalence 2003
Alcohol dependence Alcohol abuse

7 2.การดำเนินงานสุขภาพจิตที่สำคัญในระดับพื้นที่
ปีงบประมาณ 2553 ประกอบด้วย โครงการแนวทางการพัฒนาคุณภาพระบบบริการสุขภาพจิตและจิตเวช สำหรับรพศ. /รพท. /รพช. /PCU โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคซึมเศร้า โครงการเฝ้าระวังและช่วยเหลือผู้ที่เสี่ยงต่อการฆ่าตัวตาย โครงการแก้ไขปัญหาวิกฤตสุขภาพจิตในพื้นที่จังหวัดชายแดนใต้ โครงการพัฒนากฎหมายสุขภาพจิตระยะต่อเนื่อง

8 การดำเนินงานที่สำคัญ
1.โครงการแนวทางการพัฒนาคุณภาพระบบบริการสุขภาพจิตและจิตเวชสำหรับรพศ. /รพท. /รพช. /PCU การดำเนินงานที่สำคัญ อบรมแนวทางการพัฒนาคุณภาพระบบบริการสุขภาพจิตและจิตเวช สำหรับ รพศ. รพท. รพช. PCU จังหวัดใหม่ ( อ่างทอง พระนครศรีอยุธยา สุรินทร์ สตูล นราธิวาส พังงา กระบี่ ยโสธร มุกดาหาร หนองคาย ร้อยเอ็ด เลย สมุทรปราการ ชลบุรี กทม. กำแพงเพชร พิจิตร ปราจีนบุรี สุพรรณบุรี กาญจนบุรี นครปฐม แพร่ พะเยา เชียงราย พิษณุโลก ) สนับสนุนการฝึกอบรม และถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านบริการสุขภาพจิต และจิตเวช แก่ รพศ. รพท. รพช. PCU จังหวัดเดิม

9 2.โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคซึมเศร้า
การดำเนินงานที่สำคัญ อบรมพัฒนาศักยภาพของบุคลากรผู้ปฏิบัติ (แพทย์ /พยาบาล ) ในการดูแล เฝ้าระวังโรคซึมเศร้า( ในพื้นที่ที่มีการเปลี่ยนโยกย้ายบุคลากรที่รับผิดชอบ ) การดูแลเฝ้าระวังโรคซึมเศร้าในผู้สูงอายุที่มีโรคเรื้อรังทางกาย 5 โรค (มะเร็ง เบาหวาน หัวใจ หลอดเลือดในสมอง ไตวายเรื้อรัง ) จำนวน 148,000 คน (งบ P&P Expressed Demand Service ปีงบประมาณ 2553 )

10 การดูแลเฝ้าระวังโรคซึมเศร้ากับการจ่ายชดเชยค่าบริการ
หน่วยบริการดำเนินการในกลุ่มเป้าหมาย กรมสุขภาพจิตตรวจสอบ คัดกรอง ประเมิน ส่งแบบรายงานผลการดูแลเฝ้าระวังโรคซึมเศร้า บันทึกข้อมูลการให้บริการลงในโปรแกรมระบบดูแลเฝ้าระวังโรคซึมเศร้าของ กรมสุขภาพจิต 2Q 9Q,8Q สปสช.จ่ายค่าชดเชย 300 บาท/ราย แจ้งผลและให้สุขภาพจิตศึกษา ปรับเปลี่ยนความคิดและพฤติกรรม ให้การช่วยเหลือตามความรุนแรง ส่งต่อสู่ระบบการดูแลรักษา งวดที่ 1 จ่าย 200 บาท เมื่อประเมินด้วย 9Q≥7, ให้สุขภาพจิตปรับเปลี่ยนฯ งวดที่ 2 จ่าย 100 บาท เมื่อติดตามประเมินด้วย 9Q ≥4 ครั้ง

11 4.โครงการแก้ไขปัญหาวิกฤตสุขภาพจิตในพื้นที่จังหวัดชายแดนใต้
3.โครงการเฝ้าระวังและช่วยเหลือผู้ที่เสี่ยงต่อการฆ่าตัวตาย การดำเนินงานที่สำคัญ ประชุมวิชาการเครือข่ายผู้ปฏิบัติป้องกันแก้ไขปัญหาการฆ่าตัวตาย 76 จังหวัด 4.โครงการแก้ไขปัญหาวิกฤตสุขภาพจิตในพื้นที่จังหวัดชายแดนใต้ การดำเนินงานที่สำคัญ พัฒนาศักยภาพนักจิตวิทยาในศูนย์ฟื้นฟูเยียวยา / บุคลากรสาธารณสุข ของสถานบริการสาธารณสุขใน 4 จังหวัดชายแดนใต้ (สงขลา ปัตตานี ยะลา นราธิวาส ) ในหลักสูตรต่างๆ เช่นการดูแลผู้ป่วยเด็กที่ได้รับผลกระทบ การเสริมสร้างพลังใจแก่สตรีผู้สูญเสีย การบำบัดความคิดและพฤติกรรม ฯลฯ

12 5.โครงการพัฒนากฎหมายสุขภาพจิตระยะต่อเนื่อง
การดำเนินงานที่สำคัญ เผยแพร่ความรู้กฎหมายสุขภาพจิต ให้บุคลากรที่เกี่ยวข้องทั้งในระบบบริการ (รพศ. รพท. รพช. ) และนอกระบบบริการ มีความรู้ ความเข้าใจ สามารถปฏิบัติตามระเบียบ และประกาศที่บัญญัติไว้ในพรบ.สุขภาพจิต ได้อย่างถูกต้อง

13 3.การดำเนินงานต่อไปในอนาคต
กรมสุขภาพจิต ร่วมกับ สปสช. ราชวิทยาลัยจิตแพทย์แห่งประเทศไทย สมาคมจิตแพทย์แห่งประเทศไทย และผู้แทนจากสมาคมผู้บกพร่อง ทางจิต อยู่ระหว่างดำเนินการผลักดันการใช้ยาจิตเวชที่จำเป็นสำหรับ ผู้ป่วยโรคจิต และผู้ป่วยซึมเศร้า (Risperidone และ Sertraline) เข้าไปอยู่ในบัญชียาหลักแห่งชาติ เพื่อให้ผู้ป่วยจิตเวชสามารถเข้าถึงยา ที่จำเป็นและมีคุณภาพได้ ทั้งนี้ สปสช.จะจัดงบประมาณเพิ่มเติมให้ ปีละ 50 ล้านบาท โดย สปสช. จะดำเนินการประสานการจัดซื้อยารวม และ มอบการดำเนินการให้กรมสุขภาพจิตรับผิดชอบการติดตามการใช้ยา และกระจายยาให้แก่หน่วยบริการผ่านระบบ VMI

14 ความสุขที่ยั่งยืนของคนไทย
ประชาชนมีสุขภาพจิตที่ดี มีความรู้ความเข้าใจด้านสุขภาพจิต มีทัศนคติที่ดี สามารถดูแลและจัดการกับปัญหาสุขภาพจิต อยู่ร่วมกันในสังคมได้


ดาวน์โหลด ppt แนวทางการดำเนินงานสุขภาพจิต ของโรงพยาบาลชุมชน ในปีงบประมาณ 2553

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google