งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์
กระบวนการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง ตำบลสามัคคี อำเภอร่องคำ จังหวัดกาฬสินธุ์ โดย สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสามัคคี อำเภอร่องคำ จังหวัดกาฬสินธุ์

2 อัตราป่วยด้วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงของจังหวัดกาฬสินธุ์ ปี 2551 - 2553
ประชากร เบาหวาน ความดันโลหิตสูง จำนวน (ราย) อัตราป่วย (ต่อแสน) 2551 995,331 27,867 2,799.8 23,726 2,383.7 2552 994,631 33,141 3,332.0 29,973 3,013.5 2553 995,252 34,581 3,474.6 31,606 3,175.7

3 อัตราป่วยความดันโลหิตสูง
อัตราป่วยด้วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง 3 อำเภอแรกของจังหวัดกาฬสินธุ์ ปี อำเภอ อัตราป่วยเบาหวาน (ต่อแสนประชากร) อัตราป่วยความดันโลหิตสูง เขาวง 6,222.2 6,108.7 นาคู 5,714.9 5,352.0 ร่องคำ 4,696.1 4,520.4 อัตราตาย ร่องคำ และ ต่อแสนประชากร ตำบลสามัคคี และ ต่อแสนประชากร

4 กรอบแนวคิด กระบวนการการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพผู้ป่วยเบาหวานความดัน ซึ่งมีขั้นตอน ดังต่อไปนี้ ขั้นที่ 1 ศึกษาและวิเคราะห์บริบทชุมชน ขั้นที่ 2 จัดทำแผนชุมชนร่วมกันเพื่อดูแลกลุ่มเบาหวาน/ความดัน ขั้นที่ 3 จัดทำประชาคม เพื่อกำหนดเป็นพันธะสัญญาเพื่อกำหนดรูปแบบการดูแลกลุ่มเบาหวาน/ความดัน ขั้นที่ 4 จัดตั้งเครือข่ายพันธะสัญญาประชาชน ขั้นที่ 5 จัดกิจกรรมเบาหวานความดันสัมพันธ์ ขั้นที่ 6 จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างชุมชน ขั้นที่ 7 สร้างเครือข่ายการเรียนรู้ระหว่างชุมชน ขั้นที่ 8 ประเมินผล 1. พฤติกรรมสุขภาพ - อาหาร - ออกกำลังกาย - อารมณ์ - สูบบุหรี่ - ดื่มสุรา สภาวะสุขภาพ ได้แก่ระดับน้ำตาล ระดับความดันโลหิต และภาวะแทรกซ้อนที่เกิดจากโรคเบาหวานความดันโลหิตสูง ข้อมูลทั่วไป ได้แก่ เพศ อายุ การศึกษา รายได้ สถานะทางสังคม สภาพความเป็นอยู่ และรูปแบบการดำรงชีวิต พฤติกรรมสุขภาพ ด้าน อาหาร ออกกำลังกาย อารมณ์ สูบบุหรี่ ดื่มสุรา INPUT PROCESS OUTPUT OUTCOME ระดับการมีส่วนร่วมของชุมชน ในการดูแลผู้ป่วยเบาหวาน และความดันโลหิตสูง

5 วัตถุประสงค์ วัตถุประสงค์ทั่วไป เพื่อศึกษากระบวนการในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่เหมาะสมของผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง วัตถุประสงค์เฉพาะ 1. เพื่อศึกษาบริบทชุมชน 2. เพื่อศึกษาพฤติกรรมสุขภาพของผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง 3. เพื่อสร้างเครือข่ายในการเฝ้าระวังพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่เหมาะสมของผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง 4. เพื่อสร้างกระบวนการในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่เหมาะสมของผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง 5. เพื่อพัฒนากระบวนการและสร้างองค์ความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง

6 รูปแบบการวิจัยและพัฒนา ( Research and Development) พื้นที่ดำเนินการ
รูปแบบงานวิจัย รูปแบบการวิจัยและพัฒนา ( Research and Development) พื้นที่ดำเนินการ ตำบลสามัคคี อำเภอร่องคำ จังหวัดกาฬสินธุ์

7 วิธีการดำเนินงาน ขั้นที่ 1 ศึกษาและวิเคราะห์บริบทชุมชนเพื่อค้นหาจุดอ่อนจุดแข็งของชุมชน พฤติกรรมสุขภาพวิถีการดำรงชีวิตของชุมชน ขนบธรรมเนียมประเพณีของชุมชน ทรัพยากรของชุมชน และอัตลักษณ์ของชุมชน ขั้นที่ 2 จัดทำแผนชุมชนร่วมกันเพื่อดูแลกลุ่มเบาหวาน/ความดัน โดยเน้นการมีส่วนร่วมของชุมชน ขั้นที่ 3 จัดทำประชาคม เพื่อกำหนดเป็นพันธะสัญญาและกำหนดรูปแบบการดูแล กลุ่มเบาหวาน/ความดันโดยเน้นให้ชุมชนผลักดันการดูแลผู้ป่วยเบาหวานความดัน ให้เป็นวาระของชุมชน

8 วิธีการดำเนินงาน (ต่อ)
ขั้นที่ 4 จัดตั้งเครือข่ายพันธะสัญญาประชาชน เพื่อติดตามการดำเนินงานของชุมชนให้เป็นไปตามแผนชุมชน ขั้นที่ 5 จัดกิจกรรมเบาหวานความดันสัมพันธ์ ได้แก่ การตรวจสุขภาพ การอบรมการตรวจสุขภาพด้วยตนเองและผู้ดูแล การตรวจสุขภาพโดย สหวิชาชีพ อบรมให้คำแนะนำให้เปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภค ลดความเครียด ควบคุมน้ำหนัก ออกกำลังกายสม่ำเสมอโดยเน้นบริบทชุมชนเป็นหลัก การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ภายในชุมชน เดือนละ 1 ครั้ง

9 วิธีการดำเนินงาน (ต่อ)
ขั้นที่ 6 จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างชุมชน 3 เดือนต่อครั้ง ขั้นที่ 7 สร้างเครือข่ายการเรียนรู้ระหว่างชุมชนเพื่อประเมินสภาวะสุขภาพ และสรุปองค์ความรู้เพื่อนำสู่การปฏิบัติต่อไป ขั้นที่ 8 ประเมินผล

10 ผลการศึกษา

11 การับรู้ความสามารถในการดุแลตนเอง
ประเด็นความคิดเห็น เฉลี่ย S.D แปลผล 1. ด้านการรับรู้ความสามารถในการดูแลตนเองเกี่ยวกับโรคและอาหาร 3.54 1.00 มาก 2. ด้านการรับรู้ความสามารถในการดูแลตนเองเกี่ยวกับการรับประทานอาหาร 3.76 0.85 3. ด้านการรับรู้ความสามารถตนเองด้านการออกกำลังกาย 3.44 0.83 4. ด้านการรับรู้ความสามารถในการดูแลสุขภาพโดยทั่วไป และสุขภาพเท้า 3.37 0.97 ปานกลาง 5. ด้านความสามารถในการดูแลตนเองด้านการใช้ยา 3.40 1.35 6. ด้านการรับรู้ความสามารถในการดูแลตนเองเกี่ยวกับการมาตรวจที่แพทย์นัดได้ถูกต้อง 4.35 0.77 มากที่สุด รวม 3.63 1.03

12 การปฏิบัติตนในการดูแลสุขภาพตนเอง
ประเด็นความคิดเห็น เฉลี่ย S.D แปลผล ความปฏิบัติตนในการดูแลเกี่ยวกับโรคและอาการ 3.60 1.02 มาก ด้านการปฏิบัติตนในการดูแลตนเองเกี่ยวกับอาหาร 3.69 0.98 ด้านการปฏิบัติตนในการดูแลตนเองเกี่ยวกับการออกกำลังกาย 3.38 0.87 ปานกลาง ด้านการปฏิบัติตนในการดูแลตนเองเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพตนเอง 3.57 0.97 ด้านการปฏิบัติตนในการดูแลตนเองเกี่ยวกับการใช้ยา และการมาตามนัด 4.29 มากที่สุด รวม 0.99

13 รูปแบบการกำหนดวาระชุมชน
สะท้อนผล เกี่ยวกับสถานการณ์โรค การรับรู้ความสามารถ ในการดูแลตนเองและการปฏิบัติตัวของผู้ป่วย วิเคราะห์ชุมชน + บทบาท (ความต้องการรับและให้) กำหนดกิจกรรมต่อบทบาท กระบวนการกลุ่มโดยแบ่งกลุ่มดังนี้ 1. กลุ่ม องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 2. กลุ่ม ผู้นำชุมชน 3. กลุ่ม อาสาสมัครสาธารณสุข 4. กลุ่ม ผู้ดูแล 5. กลุ่ม ผู้ป่วย 6. กลุ่ม ประชาชน + องค์กรชุมชน ประกาศกิจกรรมต่อบทบาทเป็นวาระชุมชน

14 “ชุมชนร่วมสร้าง เจ้าหน้าที่ร่วมเสริม เริ่มต้นดูแล แก้ปัญหาหวานดัน”
การกำหนดวาระชุมชน 1. ส่งเสริมการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ 2. ติดตามเยี่ยมผู้ป่วยเบาหวานความดัน 1 คน/ครั้ง/เดือนโดยสมัชชาชุมชน 3. ส่งเสริมการปลูกผักสวนครัวและสมุนไพรในทุกครัวเรือน 4. รณรงค์ให้ลดการรับประทานอาหารหวาน มัน เค็ม 5. ส่งเสริมให้ชุมชนปลอดเหล้าในงานบุญ งานศพ/กฐิน/งานบวช 6. สนับสนุนการให้และสร้างองค์ความรู้แก่ผู้ดูแล ผู้ป่วยเบาหวาน และความดัน โลหิตสูง 7. สนับสนุนให้มีเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในชุมชน และระหว่างชุมชน 8. ส่งเสริมการผลิตข้าวก้อง และผลิตภัณฑ์จากข้างก้อง 9. สนับสนุนรางวัลแก่บุคคล/ชุมชนดีเด่นที่สามารถควบคุมระดับน้ำตาลและ ความดันโลหิตใน ผู้ป่วย รวมถึงพฤติกรรมสุขภาพที่ดี “ชุมชนร่วมสร้าง เจ้าหน้าที่ร่วมเสริม เริ่มต้นดูแล แก้ปัญหาหวานดัน”

15 บทบาทของสมัชชา กลุ่ม อปท.
1. จัดทำแผนสนับสนุนงบประมาณในการจัดทำสวนสุขภาพประจำหมู่บ้าน 2. สนับสนุนให้มีชมรมการออกกำลังกายประจำหมู่บ้าน 3. สนับสนุนอุปกรณ์ในการออกกำลังกาย เช่น ฟุตบอล ตะกร้อ ยางยืด กะชา ฮุลาฮุป ไม้พลอง ฯลฯ 4. ให้คำแนะนำในการรับประทาน ส่งเสริมการปลูกผักปลอดสารพิษ 5. จัดหาแหล่งน้ำในการปลูกผักปลอดสารพิษ 6. สนับสนุนให้มีเครือข่ายผู้ป่วยเบาหวาน และความดัน ตลอดจนการ แลกเปลี่ยนเรียนรู้เดือนละ 2 ครั้ง 7. ส.อบต.แต่ละหมู่บ้านและเจ้าหน้าที่ อบต. เข้ามามีส่วนร่วมในการ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของผู้ป่วย 8. ประกาศเป็นตำบลต้นแบบสุขภาวะ

16 บทบาทของสมัชชา (ต่อ) กลุ่มผู้นำชุมชน
1. ส่งเสริมการตำข้าวกินเองในครัวเรือน 2. งดเหล้าในงานประเพณีต่างๆ เช่น งานบวช งานกฐิน งานศพ 3. รณรงค์ลดอาหารหวาน มัน เค็ม จัด 4. ส่งเสริมการปลูกผักปลอดสารพิษทุกครัวเรือน

17 บทบาทของสมัชชา (ต่อ) กลุ่ม อ.ส.ม.
1. พบปะพูดคุยแลกเปลี่ยน ตลอดจนการส่งเสริมการออกกกำลังกาย ทุกวัน อาทิตย์ ณ สุขศาลาหมู่บ้าน 2. ส่งเสริมให้ผู้ป่วยออกกำลังกายทุกวันตอนเช้าหลังจากตื่นนอน วันละ 15 – 30 นาที 3. เยี่ยมบ้านพูดคุยแลกเปลี่ยนระหว่างผู้ป่วย กับ อสม. อาทิตย์ละ 1 ครั้ง 4. รณรงค์งานบุญปลอดเหล้า เช่น งานศพ งานบวช งานกฐิน 5. ประกวดชุมชนดีเด่นที่สามารถควบคุมผู้ป่วยเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง 6. ประกวดคู่หู อสม. ผู้ป่วยเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงที่สามารถควบคุมน้ำตาลได้ดี 7. การตรวจสุขภาพผู้ป่วยที่สุดศาลา (วัดความดัน เจาะหาน้ำตาลในเลือด) พบปะพูดคุยแลกเปลี่ยนเรื่องการปฏิบัติตัว เพื่อควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด 8. ส่งเสริมการปลูก/บริโภคพืชผักสวนครัว รั้วกินได้ในชุมชน ทุกชุมชน

18 บทบาทของสมัชชา (ต่อ) กลุ่มประชาชน + องค์กรชุมชน
1. รณรงค์ปลูกพืชสมุนไพรในชุมชน เพื่อบำบัดโรคเบาหวาน ความดันโลหิต สูง และอื่นๆ 2. มอบรางวัลสำหรับครอบครัวตัวอย่างในการปลูกผักปลอดสารพิษ 3. มีอุปกรณ์และสถานที่ออกกำลังกายในชุมชนอย่างพอเพียง 4. กิจกรรมให้ความรู้เกี่ยวกับโรคเบาหวาน, ความดันโลหิตสูงอย่างต่อเนื่อง 5. กิจกรรมธรรมะตามสาย ร่วมกับ อบต. 6. มอบรางวัลแก่ผู้ป่วยเบาหวานที่ร่วมกิจกรรมอย่างสม่ำเสมอ

19 บทบาทของสมัชชา (ต่อ) กลุ่มผู้ดูแล
1. ให้กำลังใจผู้ป่วยโดยการวมกลุ่มออกเยี่ยมบ้านเดือนละ 2 ครั้ง 2. แนะนำการกินอาหารที่ปลอดภัยต่อสุขภาพ เน้น ปลา ผัก ลดการบริโภค อาการ หวาน มัน เค็ม จัด 3. ให้ความรู้ และพิษภัยของยาเสพย์ติด 4. กระตุ้นให้ผู้ป่วยร่วมกิจกรรมการออกกำลังกายรวมกับผู้ที่เกี่ยวข้อง อสม. เจ้าหน้าที่ ผู้ดูแล 5. ให้ความรู้กับผู้ป่วย ผู้ดูแล ในเรื่องการดูแลผู้ป่วย พฤติกรรมการบริโภค การอยู่การกิน การลดละเลิก อาหารหวาน มัน เค็มจัด และ พฤติกรรมเสี่ยง การดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ การสูบบุหรี่ 6. การให้รางวัลกับผู้ป่วยที่เข้าร่วมกิจกรรมกับอสม. อย่างสม่ำเสมอ 7. ให้ความรู้แก่ อสม. ผู้ดูแล เรื่อง การดูแลเท้า โรคแทรกซ้อนอื่นๆ เช่น น้ำตาลสูง น้ำตาลต่ำ 8. การดูแลสุขภาพโดยการพักผ่อนให้เพียงพอ การสอดแทรกธรรมะทาง หอกระจายข่าว เสียงตามสาย

20 บทบาทของสมัชชา (ต่อ) กลุ่มผู้ป่วยเบาหวาน
1. ได้รับการอบรมความรู้ที่ถูกต้อง เรื่อง อาหาร การออกกำลังกาย และการ ผ่อนคลายความเครียด 2. มีกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องสุขภาพ และการดูแลตนเองเดือนละ 1 ครั้ง ระหว่างผู้ป่วยเบาหวานด้วยกัน และระหว่างผู้ป่วยเบาหวานกับผู้ที่เกี่ยวข้อง 3. จัดตั้งกลุ่มออกกำลังกายผู้ป่วยเบาหวาน/ความดัน และของบประมาณจาก หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ออกกำลังกายทุกวันตอนเช้า 4. กิจกรรมการควบคุมการรับประทานอาหาร 5. กิจกรรมการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ 6. กิจกรรมการผ่อนคลายความเครียด เข้าวัดฟังธรรม ดูหลังฟังเพลง

21 แผนงานตามวาระชุมชน วาระชุมชน กิจกรรมหลัก ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ระยะเวลา
(ว ด ป) หน่วย จำ นวน เริ่ม ต้น สิ้น สุด 1. ส่งเสริม การออกกำลัง กายอย่าง สม่ำเสมอ 1. จัดหาสถานที่ออก กำลังกาย อปท./ผู้นำชุมชน ชุมชน 15 ก.พ. 54 มี.ค. 2. สนับสนุนอุปกรณ์ ในการออกกำลังกาย อปท. 3. จัดตั้งกลุ่มออก กำลังกายผู้ป่วย เบาหวาน/ความดัน สมัชชาชุมชน

22 แผนงานตามวาระชุมชน (ต่อ)
กิจกรรมหลัก ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ระยะเวลา (ว ด ป) หน่วย จำ นวน เริ่ม ต้น สิ้น สุด 1. ส่งเสริม การออกกำลัง กายอย่าง สม่ำเสมอ 4. ส่งเสริมให้คนใน ชุมชนออกกำลังกาย อย่างสม่ำเสมอ 45 นาที (3 วัน/สัปดาห์) สมัชชาชุมชน ชุมชน 15 ก.พ. 54 ก.ย. 5. กระตุ้นให้ผู้ป่วย ร่วมกิจกรรมการออก กำลังกาย ผู้ดูแล คน 218 6. จัดทำสวนสุขภาพประจำหมู่บ้าน อปท. มี.ค.

23 ผลการดำเนินงานตามวาระชุมชน
โครงการส่งเสริมการออกกำลังกาย ผู้รับผิดชอบ อาสาสมัครสาธารณสุข วัตถุประสงค์ เป้าหมาย ตัวชี้วัด กิจกรรม 1. เพื่อให้ประชาชนมีสุขภาพที่แข็งแรงอย่างถ้วนหน้า 2.เพื่อให้ประชาชนได้ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ 3.เพื่อให้ประชาชนได้คลายเครียด มีสุขภาพจิตที่ดี ประชาชนในพื้นที่ตำบลสามัคคี ประชาชนมีการออกกำลังกายร้อยละ80 1.เสนอโครงการเพื่อขออนุมัติ 2. แต่งตั้งคณะทำงานระดับพื้นที่ 3. การประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนออกกำลังกาย ผลการดำเนินงาน ปัจจัยสู่ความสำเร็จ มีการพิจารณาโครงการที่รวดเร็วและให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรม 1.ผู้นำมีวิสัยทัศดี 2.ชาวบ้านให้ความร่วมมือ 2. ได้รับความร่วมมือจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องร้อยละ 70 3.มีเครือข่ายทุกภาคส่วนทำงานร่วมกัน 3. ชาวบ้านมีอุปกรณ์ออกกำลังกายไว้ใช้ในขณะที่รอรับบริการ 4. รู้บทบาทหน้าที่ของตัวเอง

24 แผนงานตามวาระชุมชน (ต่อ)
กิจกรรมหลัก ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ระยะเวลา (ว ด ป) หน่วย จำ นวน เริ่ม ต้น สิ้น สุด 2. ติดตาม เยี่ยมผู้ป่วย เบาหวาน ความดัน 1 คน/ครั้ง/ เดือนโดย สมัชชาชุมชน 1. จัดให้ความรู้ อปท. /ผู้นำชุมชน/อสม./ ผู้ดูแล/ประชาชน ใน การติดตามเยี่ยม ผู้ป่วยเบาหวานความ ดัน จนท.สธ. ครั้ง 1 ก.พ. 54 2. จัดทำแผนติดตาม เยี่ยมผู้ป่วยเบาหวาน ความดัน แผน 3. ติดตามเยี่ยมผู้ป่วย เบาหวานความดัน ชุมชน 15 1คน/เดือน/ครั้ง 4. สรุปปัญหาอุปสรรค 6 เดือนละ1ครั้ง

25 ผลการดำเนินงานตามวาระชุมชน
โครงการทีมเครือข่ายสุขภาพ ดูแลกาย ดูแลใจ ชาวตำบลสามัคคีที่บ้าน ผู้รับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสามัคคี วัตถุประสงค์ เป้าหมาย ตัวชี้วัด กิจกรรม 1. เพื่อสร้างแนวทางการดำเนินงานสุขภาพยุคใหม่ให้เกิดขึ้นในตำบลสามัคคี 2. เพื่อส่งเสริมสนับสนุนให้เกิดเครือข่ายในการติดตามดูแลผู้ป่วยในตำบลสามัคคี 3. เพื่อพัฒนากระบวนการและสร้างองค์ความรู้ในดูแลสุขภาพของผู้ป่วยเรื้อรังและผู้สูงอายุ ผู้พิการ  ตำบลสามัคคี จำนวน 15 หมู่บ้าน  ประชาชนในพื้นที่ได้รับการติดตามดูแลร้อยละ100  1. การอบรมการดูแลกาย ใจ ผู้ป่วยในชุมชนโดยเน้นชุมชนเป็นสำคัญ - จัดให้ความรู้อปท./ผู้นำชุมชน/อสม./ผู้ดูแล/ประชาชน ครูในการติดตามเยี่ยมผู้ป่วยเบาหวานความดัน ผลการดำเนินงาน ปัจจัยสู่ความสำเร็จ  1. ผู้ดูแลผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูงทุกคน มีความรู้ในการดูแลผู้ป่วย ร้อยละ 100 1. ผู้นำมีวิสัยทัศน์ ประชาชนเข้าใจให้ความร่วมมือชุมชนเข้มแข็ง มีเครือข่ายแพทย์แผนไทยและหมอพื้นบ้าน 2. ประชาชนมีส่วนร่วมมีเครือข่ายทุกภาคส่วน เข้าใจบทบาทหน้าที่

26 แผนงานตามวาระชุมชน (ต่อ)
กิจกรรมหลัก ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ระยะเวลา (ว ด ป) หน่วย จำ นวน เริ่ม ต้น สิ้น สุด 3. ส่งเสริม การปลูกผัก สวนครัวและ สมุนไพรใน ทุกครัวเรือน 1. รณรงค์ปลูกพืช สมุนไพรในชุมชน สมัชชาชุมชน ครั้ง 2 มี.ค. มิ.ย. 2. ส่งเสริมการปลูก/ บริโภคพืชผักสวนครัว รั้วกินได้ในชุมชน ชุม ชน 15 ก.พ. 54 ก.ย. 3. แนะนำในการ รับประทาน ส่งเสริม การปลูกผักปลอด สารพิษ 4. จัดหาแหล่งน้ำใน การปลูกผักปลอดสารพิษ อปท. 5. มอบรางวัลสำหรับ ครอบครัวตัวอย่างใน

27 ผลการดำเนินงานตามวาระชุมชน
โครงการกระบวนการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพวิถีชีวิต เศรษฐกิจพอเพียง ตำบลสามัคคี อำเภอร่องคำ จังหวัดกาฬสินธุ์ ผู้รับผิดชอบ พัฒนาชุมชน เกษตรตำบลสามัคคี วัตถุประสงค์ เป้าหมาย ตัวชี้วัด กิจกรรม 1. เพื่อให้นักจัดการสุขภาพชุมชน และ อสม.มีความรู้ ความเข้าใจเรื่องโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง 2. เพื่อสร้างเครือข่ายการดูแลโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ในชุมชน 3. เพื่อเฝ้าระวังสภาวะสุขภาพของประชาชน ตำบลสามัคคี จำนวน 15 หมู่บ้าน ประชาชนมีการปลูกผักสมุนไพรและมีการทำบัญชีครัวเรือนร้อยละ 100 1. ส่งเสริมการจัดทำบัญชีครัวเรือนทุกหลังคาเรือนโดยการจัดอบรม 2. ส่งเสริมการปลูกสมุนไพรในครัวเรือน โรงเรียน วัด สถานที่ราชการ 3. รณรงค์การใช้สมุนไพรในครัวเรือน 4.ติดตามผลการใช้สมุนไพรในครัวเรือน วัด โรงเรียนสถานที่ราชการ เดือนละ 1 ครั้ง ผลการดำเนินงาน ปัจจัยสู่ความสำเร็จ 1. มีการสนับสนุนกล้าพันธุ์สมุนไพรให้ทุกครัวเรือนมีสมุนไพรร้อยละ 80 1. ผู้นำมีวิสัยทัศน์ ประชาชนเข้าใจให้ความร่วมมือ 2. ชุมชนเข้มแข็ง มีเครือข่ายแพทย์แผนไทยและหมอพื้นบ้าน3. ประชาชนมีส่วนร่วม มีเครือข่ายทุกภาคส่วน เข้าใจบทบาทหน้าที่

28 แผนงานตามวาระชุมชน (ต่อ)
กิจกรรมหลัก ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ระยะเวลา (ว ด ป) หน่วย จำ นวน เริ่ม ต้น สิ้น สุด 4. รณรงค์ให้ ลดการ รับประทาน อาหารหวาน มัน เค็ม 1. รณรงค์ลดอาหาร หวาน มัน เค็ม จัด สมัชชาชุมชน ชุม ชน 15 มี.ค. 54 2. แนะนำการกินอาหาร ที่ปลอดภัยต่อสุขภาพ เน้น ปลา ผัก ลดการ บริโภคอาการ หวาน มัน เค็ม จัด อสม./ผู้ดูแล ก.พ. ก.ย. 3. จัดกิจกรรมการ ควบคุมการรับประทาน อาหาร เดือนละ 1 ครั้ง

29 ผลการดำเนินงานตามวาระชุมชน
โครงการกระบวนการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพวิถีชีวิต เศรษฐกิจพอเพียง ตำบลสามัคคี อำเภอร่องคำ จังหวัดกาฬสินธุ์ ผู้รับผิดชอบ ชุมชน วัตถุประสงค์ เป้าหมาย ตัวชี้วัด กิจกรรม 1. เพื่อให้นักจัดการสุขภาพชุมชน และ อสม.มีความรู้ ความเข้าใจเรื่องโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง 2. เพื่อสร้างเครือข่ายการดูแลโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ในชุมชน 3. เพื่อเฝ้าระวังสภาวะสุขภาพของประชาชน ตำบลสามัคคี จำนวน 15 หมู่บ้าน การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมสุขภาพผู้ป่วยเบาหวาน 1. รณรงค์ลดอาหารหวาน มัน เค็ม จัด 2. แนะนำการกินอาหารที่ปลอดภัยต่อสุขภาพ เน้น ปลา ผัก ลดการบริโภคอาหาร หวาน มัน เค็ม จัด 3. จัดกิจกรรมการควบคุมการรับประทานอาหาร ผลการดำเนินงาน ปัจจัยสู่ความสำเร็จ 1. ผู้ป่วยเบาหวานมีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมสุขภาพ ในเรื่องอาหาร อารมณ์ การออกกำลังกาย และพฤติกรรมเสี่ยง ดีขึ้น 1. การมีส่วนร่วมของชุมชน 2. ผู้ป่วยตระหนัก เห็นความสำคัญ

30 แผนงานตามวาระชุมชน (ต่อ)
กิจกรรมหลัก ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ระยะเวลา (ว ด ป) หน่วย จำ นวน เริ่ม ต้น สิ้น สุด 5. ส่งเสริมให้ ชุมชนปลอด เหล้าในงาน บุญ งานศพ/ กฐิน/งานบวช 1. จัดทำประชาคมงด เหล้าในงานประเพณี ต่างๆ เช่น งานบวช งานกฐิน งานศพ สมัชชาชุมชน ชุม ชน 15 มี.ค. 54 2. งดเหล้าในงาน ประเพณีต่างๆ เช่น งาน บวช งานกฐิน งานศพ ก.พ. ก.ย. 3. สรุปปัญหาอุปสรรค ทุก 3 เดือน

31 ผลการดำเนินงานตามวาระชุมชน
ระเบียบข้อบังคับตำบลสามัคคีว่าด้วยการงดเหล้าในงานศพ ผู้รับผิดชอบ กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน ตัวแทนนครัวเรือน ตำบลสามัคคี วัตถุประสงค์ เป้าหมาย ตัวชี้วัด กิจกรรม 1.เป็นการสร้างเสริมชุมชนให้เข้มแข็ง 2.เป็นการประหยัดค่าใช้จ่ายในงานศพ 3. เพื่อเป็นประเพณีอันดีงามใช้ชุมชนมีการช่วยเหลือเอื้ออาทรซึ่งกันและกัน ตำบลสามัคคี 15 หมู่บ้าน ตำบลสามัคคีเป็นตำบลปลอดเหล้าในงานศพ ร้อยละ 100 1. ประชุมทำประชาคมหมู่บ้าน 2.รณรงค์ประชาสัมพันธ์ทางหอกระจายข่าว 3.ขยายผลต่อเนื่องเพื่อเข้าสู่โครงการตำบลต้นแบบคนดี สุขภาพดี ผลการดำเนินงาน ปัจจัยสู่ความสำเร็จ 1. มีระเบียบข้อบังคับครบทุกหมู่บ้าน 2. งานศพปลอดเหล้าในตำบลสามัคคีร้อยละ 100 1.ชาวตำบลสามัคคีมีความตระหนักอยากลดค่าใช้จ่ายที่ไม่จำเป็น 2.มีการติดตามอย่างต่อเนื่อง 3.เป็นหมู่บ้านที่มีความเข้มแข็ง 4. มีเครือข่ายในหมู่บ้าน 5.ทุกครัวเรือนมีพันธะสัญญาร่วมกัน

32 แผนงานตามวาระชุมชน (ต่อ)
กิจกรรมหลัก ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ระยะเวลา (ว ด ป) หน่วย จำ นวน เริ่ม ต้น สิ้น สุด 6. สนับสนุน การให้และ สร้างองค์ ความรู้แก่ ผู้ดูแล ผู้ป่วย เบาหวาน และ ความดันโลหิต สูง 1. กิจกรรมปรับเปลี่ยน พฤติกรรมสุขภาพผู้ป่วย เบาหวานความดัน จนท.สธ. คู่ 218 ก.พ. 54 2. อบรมความรู้เรื่อง อาหาร การออกกำลัง กาย การผ่อนคลาย ความเครียด 3. ผู้นำชุมชน/อบต. เข้ามามีส่วนร่วมในการ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม คน 30 4. กิจกรรมให้ความรู้ เสียงตามสายเกี่ยวกับ โรคอย่างต่อเนื่อง ผู้นำ/ อปท./อสม. ชุมชน 15 เดือนละ 1 ครั้ง 6. การดูแลสุขภาพโดย การพักผ่อนให้เพียงพอ การสอดแทรกธรรมะ ก.ย.

33 ผลการดำเนินงานตามวาระชุมชน
โครงการทีมเครือข่ายสุขภาพ ดูแลกาย ดูแลใจ ชาวตำบลสามัคคีที่บ้าน ผู้รับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสามัคคี วัตถุประสงค์ เป้าหมาย ตัวชี้วัด กิจกรรม 1. เพื่อสร้างแนวทางการดำเนินงานสุขภาพยุคใหม่ให้เกิดขึ้นในตำบลสามัคคี 2. เพื่อส่งเสริมสนับสนุนให้เกิดเครือข่ายในการติดตามดูแลผู้ป่วยในตำบลสามัคคี 3. เพื่อพัฒนากระบวนการและสร้างองค์ความรู้ในดูแลสุขภาพของผู้ป่วยเรื้อรังและผู้สูงอายุ ผู้พิการ ตำบลสามัคคี จำนวน 15 หมู่บ้าน ประชาชนในพื้นที่ได้รับการติดตามดูแลร้อยละ100 1. จัดให้ความรู้อปท./ผู้นำชุมชน/อสม./ผู้ดูแล/ประชาชน ครูในการติดตามเยี่ยมผู้ป่วยเบาหวานความดัน 2 . การติดตามเยี่ยมผู้ป่วยในชุมชนโดย เจ้าหน้าที่สาธารณสุข อาสาสมัครสาธารณสุข องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ผู้นำชุมชน นักกายภาพ ส.อบต. ฯลฯ 3. รณรงค์ ประชาสัมพันธ์ ผลการดำเนินงาน ปัจจัยสู่ความสำเร็จ 1. ผู้ดูแล ผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูงทุกคน มีความรู้ในการดูแลผู้ป่วย ร้อยละ 100 1. ผู้นำมีวิสัยทัศน์ ประชาชนเข้าใจให้ความร่วมมือชุมชนเข้มแข็ง 2. มีเครือข่ายแพทย์แผนไทยและหมอพื้นบ้าน 3. ประชาชนมีส่วนร่วม มีเครือข่ายทุกภาคส่วนเข้าใจบทบาทหน้าที่

34 แผนงานตามวาระชุมชน (ต่อ)
กิจกรรมหลัก ผู้รับผิด ชอบ ผลผลิต ระยะเวลา (ว ด ป) หน่วย จำ นวน เริ่ม ต้น สิ้น สุด 7. สนับสนุนให้ มีเวทีแลก เปลี่ยนเรียนรู้ ในชุมชน และ ระหว่างชุมชน 1.กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เรื่องสุขภาพ และการดูแล ตนเองในชุมชนเดือนละ 1 ครั้ง ระหว่างผู้ป่วยเบาหวานด้วยกัน และระหว่างผู้ป่วยเบาหวานกับผู้ ที่เกี่ยวข้อง สมัชชา ชุมชน 15 เดือน ละ 1 ครั้ง 2. กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ตนเองระหว่างชุมชน 3 เดือน/ ครั้ง ระหว่างผู้ป่วยเบาหวาน ด้วยกัน และระหว่างผู้ป่วย เบาหวานกับผู้ที่เกี่ยวข้อง 3 เดือน/ครั้ง 4. กิจกรรมการผ่อนคลาย ความเครียด เข้าวัดฟังธรรม ดู หนัง ฟังเพลง ก.พ. 54 ก.ย.

35 ผลการดำเนินงานตามวาระชุมชน
โครงการ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ดูแลผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ผู้รับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสามัคคี ชุมชน ตำบลสามัคคี วัตถุประสงค์ เป้าหมาย ตัวชี้วัด กิจกรรม 1. เพื่อสร้างแนวทางการดำเนินงานสุขภาพยุคใหม่ให้เกิดขึ้นในตำบลสามัคคี 2. เพื่อส่งเสริมสนับสนุนให้เกิดเครือข่ายในการติดตามดูแลผู้ป่วยในตำบลสามัคคี 3. เพื่อพัฒนากระบวนการและสร้างองค์ความรู้ในดูแลสุขภาพของผู้ป่วยเรื้อรังและผู้สูงอายุ ผู้พิการ ตำบลสามัคคี จำนวน 15 หมู่บ้าน ประชาชนในพื้นที่ได้รับการติดตามดูแลร้อยละ100 1.กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องสุขภาพ และการดูแลตนเองในชุมชนเดือนละ 1 ครั้ง 2. กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องสุขภาพ และการดูแล ตนเองระหว่างชุมชน ระหว่างผู้ป่วยเบาหวานด้วยกัน และ ระหว่างผู้ป่วยเบาหวานกับผู้ที่เกี่ยวข้อง 4. กิจกรรมการผ่อนคลายความเครียด เข้าวัดฟังธรรม ดูหนัง ฟังเพลง ผลการดำเนินงาน ปัจจัยสู่ความสำเร็จ 1. ผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูงทุกคน มีความรู้ในการดูแลผู้ป่วย และมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 1. ผู้นำมีวิสัยทัศน์ ประชาชนเข้าใจให้ความร่วมมือชุมชนเข้มแข็ง 2. มีเครือข่ายแพทย์แผนไทยและหมอพื้นบ้าน 3. ประชาชนมีส่วนร่วม มีเครือข่ายทุกภาคส่วนเข้าใจบทบาทหน้าที่

36 แผนงานตามวาระชุมชน (ต่อ)
กิจกรรมหลัก ผู้รับผิด ชอบ ผลผลิต ระยะเวลา (ว ด ป) หน่วย จำ นวน เริ่ม ต้น สิ้น สุด 8. ส่งเสริมการ ผลิตข้าวกล้อง และผลิตภัณฑ์ จากข้าวกล้อง ส่งเสริมการตำข้าวกินเองในครัวเรือน สมัชชา ชุมชน ชุม ชน 15 ก.พ. 54 ก.ย. สร้างโรงสีข้าวก้องในชุมชน อปท. โรง 1 เม.ย ส่งเสริมให้เกิดผลิตภัณฑ์จากข้าวก้อง

37 ผลการดำเนินงานตามวาระชุมชน
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการแปรรูปผลผลิตเกษตรประจำปี 2554 ผู้รับผิดชอบ สำนักงานเกษตรอำเภอร่องคำ วัตถุประสงค์ เป้าหมาย ตัวชี้วัด กิจกรรม 1. เพื่อให้ประชาชนสามารถเก็บผลผลิตให้นานขึ้น 2. เพื่อให้ผู้ป่วยสามารถควบคุมระดับน้ำตาลได้ 3. เพื่อให้มีความรู้ในการแปรรูปผลผลิตเกษตร สมาชิกกลุ่มแปรรูปการเกษตร บ้านนาเรียง จำนวน 4 หมู่บ้าน ประชาชนมีการแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร ร้อยละ 80 1.ประชุมเจ้าหน้าที่ กำหนดเป้าหมาย 2. ทำแผนฝึกอบรม 3. ฝึกอบรมหลักสูตรลักษณะที่ดีในการแปรรูปผลผลิต 4. ขยายผลต่อเนื่องสู่การแปรรูปผลิตข้าวกล้อง ผลการดำเนินงาน ปัจจัยสู่ความสำเร็จ ประชาชนบ้านนาเรียงมีการแปรรูปผลผลิตเกษตร (ผลิตภัณฑ์ข้าวกล้อง) ร้อยละ 50 ประชาชนเข้าใจให้ความร่วมมือชุมชนเข้มแข็ง ประชาชนมีส่วนร่วมเข้าใจบทบาทหน้าที่ มีเครือข่ายทุกภาคส่วน

38 แผนงานตามวาระชุมชน (ต่อ)
กิจกรรมหลัก ผู้รับผิด ชอบ ผลผลิต ระยะเวลา (ว ด ป) หน่วย จำ นวน เริ่ม ต้น สิ้น สุด 9. สนับสนุนรางวัลแก่บุคคล/ชุมชนดีเด่นที่สามารถควบคุมระดับน้ำตาลและความดันโลหิตในผู้ป่วย รวมถึงพฤติกรรมสุขภาพที่ดี 1. ประกวดคู่หู อสม. ผู้ป่วยเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงที่สามารถควบคุมน้ำตาลได้ดี สมัชชาชุมชน ครั้ง 2 พ.ค. ส.ค. 2. ประกวดชุมชนดีเด่นที่สามารถควบคุมผู้ป่วยเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง 3. มอบรางวัลแก่ผู้ป่วยเบาหวานที่ร่วมกิจกรรมอย่างสม่ำเสมอ 4. การให้รางวัลกับผู้ป่วยที่เข้าร่วมกิจกรรมกับ อสม. อย่างสม่ำเสมอ

39 ผลการดำเนินงานตามวาระชุมชน
โครงการกระบวนการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพวิถีชีวิต เศรษฐกิจพอเพียง ตำบลสามัคคี อำเภอร่องคำ จังหวัดกาฬสินธุ์ ผู้รับผิดชอบ พัฒนาชุมชน เกษตรตำบล องค์การบริหารส่วนตำบล โรงพยาบาลตำบลสามัคคี ชุมชน ตำบลสามัคคี ชื่อโครงการ /วัตถุประสงค์ เป้าหมาย ตัวชี้วัด กิจกรรม 1. เพื่อนำกระบวนการในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ 2. เพื่อส่งเสริมสนับสนุนให้เกิดเครือข่ายในการเฝ้าระวังพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่เหมาะสม 4. เพื่อให้ประชาชนตำบลสามัคคีสามารถจัดการรายรับรายจ่ายภายในครัวเรือน 3. เพื่อสร้างองค์ความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง หมู่บ้านทั้ง 15 หมู่บ้าน ในตำบาลสามัคคี ประชาชนตำบลสามัคคีมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพร้อยละ 80 1.ประกวดคู่หู อสม. ผู้ป่วยเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงที่สามารถควบคุมน้ำตาลได้ดี 2.ประกวดหมู่บ้านดีเด่นที่สามารถควบคุมผู้ป่วยเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง 3.มอบรางวัลแก่ผู้ป่วยเบาหวานและอสม.ที่ร่วมกิจกรรมอย่างสม่ำเสมอ

40 กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้
1. กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างผู้ป่วยที่มีระดับน้ำตาลสูงในกลุ่ม ( มากกว่า 180) 2. กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างผู้ป่วยที่มีระดับน้ำตาลที่อยู่ในระดับดีในกลุ่ม ( ต่ำกว่า 150) 3. กิจกรรมรวมกลุ่ม สรุปผล 4. กิจกรรมรวมกลุ่มสาธิต ทำกิจกรรม

41 กิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
สร้างความรู้ความเข้าในเกี่ยวกับโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง รวมทั้งแนวทางการปฏิบัติตัว สาธิตและฝึกปฏิบัติตัวในการลดความเสี่ยงต่อภาวะแทรกซ้อนที่เกิดจากโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง สร้างแนวคิด ความเข้าใจ ให้เกิดความตระหนักในการดูแลสุขภาพทั้งจากตนเองและผู้ดูแล

42 พฤติกรรมการดูแลสุขภาพ
พฤติกรรมสุขภาพด้านอาหาร

43 พฤติกรรมการดูแลสุขภาพ (ต่อ)
พฤติกรรมสุขภาพด้านอารมณ์

44 พฤติกรรมการดูแลสุขภาพ (ต่อ)
พฤติกรรมสุขภาพทางกายและการออกกำลังกาย

45 พฤติกรรมการดูแลสุขภาพ (ต่อ)
พฤติกรรมเสี่ยงทางด้านสุขภาพ

46 สภาวะสุขภาพ ค่าดัชนีมวลกาย

47 สภาวะสุขภาพ รอบเอว

48 สภาวะสุขภาพ ค่าความดันโลหิต (บน)

49 สภาวะสุขภาพ ค่าความดันโลหิต (ล่าง)

50 สภาวะสุขภาพ ค่าน้ำตาลในเลือด


ดาวน์โหลด ppt สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google