งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การที่จะให้มันทำงานก็ต้องจ่ายไฟให้มันตามที่กำหนด

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การที่จะให้มันทำงานก็ต้องจ่ายไฟให้มันตามที่กำหนด"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การที่จะให้มันทำงานก็ต้องจ่ายไฟให้มันตามที่กำหนด
รีเลย์ (Relay) คือ อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่ทำหน้าที่ ตัด-ต่อวงจร คล้ายกับสวิตซ์ โดยใช้หลักการหน้าสัมผัส การที่จะให้มันทำงานก็ต้องจ่ายไฟให้มันตามที่กำหนด สมชาติ แสนธิเลิศ

2 สัญลักษณ์ สมชาติ แสนธิเลิศ

3 จะประกอบไปด้วยขดลวด (Coil) 1 ชุด และ หน้าสัมผัส (Contactor)
โครงสร้างของรีเลย์ จะประกอบไปด้วยขดลวด (Coil) 1 ชุด และ หน้าสัมผัส (Contactor) ซึ่งในหน้าสัมผัส 1 ชุด จะประกอบไปด้วย 1. ขา C หรือ COM หรือ ขาคอมมอน จะเป็นขาต่อระหว่าง NO และ NC สมชาติ แสนธิเลิศ

4 2. ขา NO (Normally opened หรือ ปกติเปิด) หน้าสัมผัสแบบปกติเปิด โดยปกติขานี้จะเปิดเอาไว้ จะทำงานเมื่อเราป้อนแรงดันให้รีเลย์ 3. ขา NC (Normally closed หรือ ปกติปิด) หน้าสัมผัสแบบปกติปิด โดยปกติขานี้จะต่อกับขา C ในกรณีที่เราไม่ได้จ่ายแรงดัน หมายเหตุ ใน รีเลย์ 1 ตัว อาจมีหน้าสัมผัสมากกว่า 1 ชุด เช่น 2 ชุด, 4 ชุด เป็นต้น สมชาติ แสนธิเลิศ

5 การทำงานของรีเลย์ เมื่อมีกระแสไฟฟ้าไหลผ่านขดลวด จะทำให้ขดลวดเกิดสนามแม่เหล็กไปดึง แผ่นหน้าสัมผัส C ดึงลงมา แตะหน้าสัมผัส NO ทำให้มีกระแสไหลผ่านหน้าสัมผัสไปได้ สมชาติ แสนธิเลิศ

6 ใช้ในการควบคุมไฟฟ้ากำลัง มีขนาดใหญ่กว่ารีเลย์ธรรมดา
ประเภทของรีเลย์ 1. รีเลย์กำลัง (Power relay) หรือมักเรียกกันว่าคอนแทกเตอร์ (Contactor or Magneticcontactor) ใช้ในการควบคุมไฟฟ้ากำลัง มีขนาดใหญ่กว่ารีเลย์ธรรมดา ใช้ในการควบคุมไฟฟ้ากำลัง มีขนาดใหญ่กว่ารีเลย์ธรรมดา สมชาติ แสนธิเลิศ

7 2. รีเลย์ควบคุม (Control Relay) มีขนาดเล็กกำลังไฟฟ้าต่ำ ใช้ในวงจรควบคุมทั่วไปที่มีกำลังไฟฟ้าไม่มากนัก หรือเพื่อการควบคุมรีเลย์หรือคอนแทกเตอร์ขนาดใหญ่ รีเลย์ควบคุม บางทีเรียกกันง่าย ๆ ว่า “รีเลย์” สมชาติ แสนธิเลิศ

8 ข้อคำถึงในการใช้งานรีเลย์ทั่วไป
1. แรงดันใช้งาน หรือแรงดันที่ทำให้รีเลย์ทำงานได้ 2. การใช้งานกระแสผ่านหน้าสัมผัส 3. จำนานหน้าสัมผัสการใช้งาน สมชาติ แสนธิเลิศ

9 (microphone and speaker) (microphone and speaker)
ไมโครโฟนและลำโพง ไมโครโฟนและลำโพง (microphone and speaker) (microphone and speaker) ไมโครโฟน (microphone) ทำหน้าที่เปลี่ยนคลื่นเสียงให้เป็นสัญญาณไฟฟ้า สมชาติ แสนธิเลิศ

10 ส่วนประกอบของไมโครโฟน 1. ตะแกรงครอบ 2. ไดอะแกรม
3. ขดลวด 4. แม่เหล็กถาวร สมชาติ แสนธิเลิศ

11 2. ไดอะแฟรมสั่นลักษณะอัดและคลายตัว
การทำงานของไมโครโฟน 1. คลื่นเสียงเข้ามา 2. ไดอะแฟรมสั่นลักษณะอัดและคลายตัว 3. ขดลวดเกิดการเคลื่อนที่ตามไดอะแฟรม สมชาติ แสนธิเลิศ

12 4. ขดลวดตัดกับสนามแม่เหล็กถาวร
5. เกิดแรงดันไฟฟ้าออกมาที่ขดลวด ไมโครโฟนชนิดนี้เรียกว่าไมโครโฟนแบบไดนามิก สมชาติ แสนธิเลิศ

13 1. ตั้งมิเตอร์ไปที่ย่าน R x 1
การตรวจสอบไมโครโฟน 1. ตั้งมิเตอร์ไปที่ย่าน R x 1 2. วัดที่ขดลวด 3. ถ้าเข็มขึ้นแสดงว่าไมโครโฟนดี สมชาติ แสนธิเลิศ

14 ทำหน้าที่เปลี่ยนสัญญาณไฟฟ้าให้เป็นสัญญาณเสียง
ลำโพง (speaker) ทำหน้าที่เปลี่ยนสัญญาณไฟฟ้าให้เป็นสัญญาณเสียง สมชาติ แสนธิเลิศ

15 1. สัญญาณไฟฟ้าเข้าที่ขั้วลำโพง 2. กระแสไฟผ่านขดลวดเสียง
การทำงานของลำโพง 1. สัญญาณไฟฟ้าเข้าที่ขั้วลำโพง 2. กระแสไฟผ่านขดลวดเสียง 3. เกิดสนามแม่เหล็กที่ขดลวดเสียง 4. กรวยลำโพงที่ยึดกับขดลวดเสียง เกิดการเคลื่อนที่ขึ้นลง 5. อากาศถูกแรงผลักดันเกิดเป็นคลื่น เสียง สมชาติ แสนธิเลิศ

16 มีทั้งแบบขอบกระดาษและขอบยางทำหน้าที่ ยึดกรวยลำโพงเข้ากับเฟรม
ส่วนประกอบของลำโพง 1. ขอบลำโพง มีทั้งแบบขอบกระดาษและขอบยางทำหน้าที่ ยึดกรวยลำโพงเข้ากับเฟรม สมชาติ แสนธิเลิศ

17 ทำจากกระดาษจะยึดติดกับขดลวดเสียง
2. กรวยลำโพง ทำจากกระดาษจะยึดติดกับขดลวดเสียง 3. แผ่นเพลทด้านบน กันเส้นแรงแม่เหล็กให้อยู่ภายในช่องว่าง 4. แผ่นเพลท ส่วนกลาง กันไม่ให้สนามแม่เหล็กกระจายออกมา 5. แท่งแม่เหล็ก สร้างสนามแม่เหล็กภายในลำโพง 6. โครงเหล็ก 7. ขดลวดเสียง คือขดลวดที่วางในช่องแคบๆภายในลำโพง เรียก ทับศัพท์ว่า วอยซ์คอยล์ สมชาติ แสนธิเลิศ

18 มีลักษณะเป็นลอน อยู่ด้านหลังกรวย ทำหน้าที่
8. สไปเดอร์ มีลักษณะเป็นลอน อยู่ด้านหลังกรวย ทำหน้าที่ เหมือนสปริง เพื่อให้เกิดการยืดหยุ่นของกรวย ลำโพง สมชาติ แสนธิเลิศ

19 1. ตั้งมิเตอร์ไปที่ย่าน R x 1
การตรวจสอบลำโพง 1. ตั้งมิเตอร์ไปที่ย่าน R x 1 2. วัดที่ขดลวด 3. ถ้าเข็มขึ้นแสดงว่าไมโครโฟนดี สมชาติ แสนธิเลิศ

20 ใบงาน รีเลย์ สมชาติ แสนธิเลิศ

21 สมชาติ แสนธิเลิศ

22 สมชาติ แสนธิเลิศ


ดาวน์โหลด ppt การที่จะให้มันทำงานก็ต้องจ่ายไฟให้มันตามที่กำหนด

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google