งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

บทที่ 3 วิธีดำเนินการวิจัย ศึกษาข้อมูลที่เกี่ยวข้อง

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "บทที่ 3 วิธีดำเนินการวิจัย ศึกษาข้อมูลที่เกี่ยวข้อง"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 บทที่ 3 วิธีดำเนินการวิจัย ศึกษาข้อมูลที่เกี่ยวข้อง
ออกแบบและสร้างเครื่องทดสอบ สร้างเอกสารประกอบการทดสอบทดสอบ สร้างเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยทดสอบ วิเคราะห์ข้อมูลและสถิติที่ใช้

2 ออกแบบและสร้างเครื่องทดสอบ
ศึกษาข้อมูล จากเนื้อหาวิชา จากสถานศึกษา จากบริษัท กำหนดเนื้อหาและวัตถุประสงค์ ออกแบเครื่องทดสอบ ปรับปรุงแก้ไข อาจารย์ที่ปรึกษา สร้างเครื่องทดสอบ ปรับปรุงแก้ไข ผู้เชี่ยวชาญ ทดลองใช้เก็บข้อมูล ได้เครื่องทดสอบการล้าตัวของวัสดุ

3 สร้างเอกสารประกอบการทดลอง
ศึกษาวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม เนื้อหาเกี่ยวกับการล้าตัว รายละเอียดของชุดทดลอง ขั้นตอนการทดลอง ออกแบบเอกสารประกอบเครื่องทดสอบ อาจารย์ที่ปรึกษาตรวจสอบ สร้างเอกสารประกอบเครื่องทดสอบ ผู้เชี่ยวชายตรวจสอบเอกสาร ได้เอกสารประกอบเครื่องทดสอบพร้อมนำไปใช้

4 สร้างเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
1. ศึกษาข้อมูลวิธีสร้างแบบประเมิน 2. กำหนดรูปแบบของคำถาม โดยศึกษาจากตำรา เอกสารและงานวิจัยอื่นๆ ที่คล้ายคลึงกัน 3. สร้างแบบประเมินผลสำหรับสอบถามความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญ 4. ให้อาจารย์ที่ปรึกษาพิจารณาแบบประเมินผลที่สร้างขึ้น และปรับปรุงแก้ไข 5. ให้ผู้เชี่ยวชาญทำการประเมิน

5 การวิเคราะห์ผลประสิทธิภาพของเครื่องทดสอบ
วัสดุที่ใช้ทำการทดสอบ เหล็ก st 37 เป็นวัสดุทดสอบ จำนวน 16 ชิ้น โดยขนาดของชิ้นทดสอบเส้นผ่านศูนย์กลาง( d ) 8 มิลลิเมตร มีค่ารัศมี มิลลิเมตร ตามมาตรฐานของเครื่อง WP140 Fatigue Testing และคำนวณหาค่าความเค้นอัดสลับได้มีความผิดพลาด ไม่เกิน 10 %

6 ตาราง ค่า S และค่า N ของวัสดุเหล็ก ที่ได้จากเครื่องมาตรฐาน
แรง F ( N ) ความเค้นสดับ จำนวนรอบจนขาด N 200 400 10100 150 300 84984 125 250 399232 100 ตารางที่ 4-2 ค่า S และค่า N ของวัสดุเหล็ก ที่ได้จากเครื่องที่สร้างขึ้น แรง F ( N ) ความเค้นสดับ จำนวนรอบจนขาด N 200 400 10605 150 300 88893 125 250 416119 100

7 แรง F ( N ) จำนวนรอบจนขาด N
ตารางที่ 4-3 ค่า S และค่า N ของวัสดุเหล็ก ( Test bar 1) จากตารางคู่มือ แรง F ( N ) ความเค้นสดับ จำนวนรอบจนขาด N 200 400 14030 Error ความเค้นดัดสลับ ตารางที่ 4-4 เปรียบเทียบค่า S และค่า N จากเครื่องมาตรฐานและเครื่องสร้างใหม่ ความเค้นสดับ N ( Cycle) เครื่องมาตรฐาน เครื่องที่สร้างขึ้น 10 % 400 10100 10605 + 5 % 300 84984 88893 % 250 399232 416119 % 200 %

8 สรุปผล - เครื่องทดสอบความล้าของวัสดุ สามารถหาค่าความเค้นสลับของเหล็ก st 37 โดยมีความผิดพลาดไม่เกิน 10 % เมื่อเทียบกับเครื่องมาตรฐาน - ผลการประเมินความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 9 ท่าน ทั้ง 3 ด้าน คือ ด้านการออกแบบ , ด้านการทดสอบ , ด้านคุณภาพเครื่องทดสอบ ต้องมีค่า IOC มากกว่า 0.5 ด้าน - ดังนั้นจึงสรุปได้ว่า เครื่องทดสอบความล้าของวัสดุที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์กำหนด ไว้ในสมมติฐาน

9 อภิปรายผล จากการทดลองใช้เครื่องทดสอบความล้าของวัสดุที่สร้างขึ้น สามารถคำนวณหาค่าความเค้นดัดสลับมีความผิดพลาดไม่เกิน 10 % เมื่อเปรียบเทียบกับเครื่องมาตรฐาน เนื่องจากโครงสร้างเล็กกะทัดรัด และแข็งแรง ไม่มีเสียงดัง การเคลื่อนย้ายสะดวก อุปกรณ์หา ซื้อได้ง่ายในท้องตลาด

10 ข้อเสนอแนะ ในการทดลองหาประสิทธิภาพ ชิ้นทดสอบ ขนาด ผิว จะต้องไปตามมาตรฐาน ควรมีการถ่ายทำเป็นสื่อ เกี่ยวกับการเรียนการสอน และการทดสอบไว้ เพื่อเผยแพร่ ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้เพิ่มเติม


ดาวน์โหลด ppt บทที่ 3 วิธีดำเนินการวิจัย ศึกษาข้อมูลที่เกี่ยวข้อง

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google