งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ปรัชญาการศึกษาทั่วไป

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ปรัชญาการศึกษาทั่วไป"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ปรัชญาการศึกษาทั่วไป
จรัส สุวรรณเวลา โครงการสัมมนาทบทวนปรัชญาการศึกษาทั่วไป การเสวนา อุดมศึกษาไทยกับการพัฒนาการเรียนรู้ เครือข่ายการศึกษาทั่วไปแห่งประเทศไทย ๒๑ มิถุนายน ๒๕๕๖

2 อุดมศึกษา การศึกษาทั่วไป

3 ICT อุดมศึกษา การศึกษาทั่วไป อุดมศึกษา การศึกษาทั่วไป

4 Bologna 1088 - สำนักคัมภีร์
MEDIEVAL UNIVERSITY Bologna สำนักคัมภีร์ มหาวิทยาลัยไทย UNIVERSITY OF PARIS Sorbonne วิชาชีพ OXFORD - CAMBRIDGE United Kingdom - ศึกษิต มหาวิทยาลัยญี่ปุ่น Humboldt University of Berlin วิจัย Community Colleges บริการชุมชน

5 Professionalism สำหรับใช้งาน ในระบบราชการ ในการใช้งานได้ โดยตรง
มหาวิทยาลัยไทย เน้นวิชาชีพ สร้างนักวิชาการ สำหรับใช้งาน ในระบบราชการ เน้นการนำความรู้จากต่างประเทศ เข้ามาใช้งาน ในการพัฒนาประเทศ เน้นความรู้และทักษะ ในการใช้งานได้ โดยตรง Professionalism early specialization การศึกษาทั่วไป เท่าที่จำเป็นในวิชาชีพ

6 พายุ ประเทศไทย กระแสประชาธิปไตย โลกาภิวัฒน์ บริการไร้พรมแดน
การระเบิดขององค์ความรู้ ความรู้เสมือนมีชีวิต โลกาภิวัฒน์ บริการไร้พรมแดน การร่วมมือข้ามชาติ การแข่งขันข้ามชาติ ICT CAPITALISM กระแสทุนนิยม กลไกตลาด การแข่งขัน มุ่งหากำไรสูงสุด พายุ ประเทศไทย ประชากร ผู้สูงอายุ ประชากรอุดมศึกษาเปลี่ยน การพัฒนาประเทศ การปรับใช้ความรู้ที่เหมาะสม ความรู้เฉพาะกรณี เฉพาะท้องถิ่น การเปลี่ยนแปลงที่ไม่แน่นอน ความสลับซับซ้อน สิทธิการเข้าถึงอุดมศึกษา สิทธิการได้รับอุดมศึกษาที่มีคุณภาพ กระแสประชาธิปไตย

7 คุณสมบัติบัณฑิตที่พึงประสงค์
ศึกษาวิชาชีพ วิชาเฉพาะ การศึกษาเพื่อ สมรรถนะที่จำเป็น ทักษะที่จำเป็น คุณลักษณะสำหรับอนาคต คุณธรรมจริยธรรม

8 วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี
วิทยาการก้าวหน้า วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี KNOWLEDGE EXPLOSION 20 5 2000+ TECHNOLOGIES INNOVATIONS

9 COMPILATION & ACCUMULATION OF
ความรู้เสมือนมีชีวิต เกิดใหม่ ใช้งาน ดับ COMPILATION & ACCUMULATION OF KNOWLEDGE นักวิชาการต้องสามารถหาความรู้ใหม่ได้ ตลอดชีวิต

10 ด้วยการใช้ความรู้เป็นฐาน
มวลความรู้ในโลก GLOBAL KNOWLEDGE POOL ขยายมากเชิงระเบิด และ ต่อกันเข้าด้วยอินเตอรเนต ความรู้ที่พิสูจน์แล้ว EXPLICIT KNOWLEDGE KNOWLEDGE ACCESS KNOWLEDGE VALIDATION KNOWLEDGE VALUATION KNOWLEDGE OPTIMIZATION KNOWLEDGE DISSEMINATION KNOWLEDGE DIVIDE ช่องว่างทางความรู้ การพัฒนาและแก้ปัญหา ด้วยการใช้ความรู้เป็นฐาน

11 KNOWLEDGE ACCESS เจตคติ เวลา Computer / Internet Languages
ICT CONNECTIVITY COMPETENCIES: Computer / Internet ความสามารถ เจตคติ เวลา COMPETENCIES: Languages

12 Critical appraisal of evidences
GLOBAL KNOWLEDGE POOL KNOWLEDGE ACCESS KNOWLEDGE VALIDATION KNOWLEDGE VALUATION KNOWLEDGE OPTIMIZATION/ UTILIZATION KNOWLEDGE DISSEMINATION RESEARCH METHODOLOGIES Critical appraisal of evidences Systematic reviews การเรียนรู้ด้วยการค้นคว้า การเรียนรู้ที่ใช้การวิจัยเป็นฐาน การใช้ความรู้ การแก้ปัญหา วิจารณญาณ บนฐานของข้อมูล และการใช้เหตุผล

13 สังคมความรู้ ยุคที่ ๑ คุณภาพชีวิต ความมั่งคั่ง ความสะดวกสบาย
ความเจริญ คุณภาพชีวิต ความมั่งคั่ง ความสะดวกสบาย ควบคุมโรค บรรเทาทุกข์ อายุยืน ความสามารถในการแข่งขัน ผลิตภาพ ความเสื่อม ทรัพยากรธรรมชาติหดหาย สิ่งแวดล้อมเสื่อมโทรม สังคม –บริโภคนิยม วัตถุนิยม เหลื่อมล้ำ เอารัดเอาเปรียบ อยุติธรรม ข่มเหงคุกคาม เห็นแก่ตัว ลดขันติ ความอยาก ไม่รู้จักพอ ความขัดแย้ง

14 ความรับผิดชอบต่อสังคม
สังคมความรู้ยุคที่ ๑ เสมอภาค เข้าถึง ความยุติธรรมในสังคม ความเอื้อเฟื้อ ช่วยเหลือกัน สงบ & สันติสุข “เศรษฐกิจพอเพียง” พอประมาณ ทางสายกลาง ปัญญา เมตตาธรรม ความรับผิดชอบต่อสังคม มนุษยธรรม สิทธิมนุษยชน สังคมความรู้ยุคที่ ๒ วิทยาศาสตร์ & เทคโนโลยี ทุนนิยม การค้า การตลาด การแข่งขัน ปัจเจกบุคคล ความไม่เสมอภาค ความไม่ยุติธรรม ความแหลื่อมล้ำ การเอารัดเอาเปรียบ ความขัดแย้ง จิตสาธารณะ สมดุล คุณธรรม

15 การใช้ความรู้ OPEN KNOWLEDGE SYSTEM WEB 2.0 EFFECTIVENESS BENEFIT
KM KNOWLEDGE MANAGEMENT HOW TO EFFECTIVENESS BENEFIT SAFETY COMPATIBILITY FEASIBILITY ADAPTATION EXPLICIT KNOWLEDGE KNOWLEDGE BROKER การใช้ความรู้ ประโยชน์ ของความรู้ ผู้มีความรู้ ผู้ได้รับผล ผู้เกี่ยวข้อง ผู้กำกับดูแล ความรู้ใหม่

16 VALIDATION / VALUATION
ปฏิรูปการเรียนรู้ ปัญญา ความอยากรู้ INTERNALISATION REFLECTION ภาวนามยปัญญา KNOWLEDGE UTILIZATION สูตมยปัญญา OPTIMISATION KNOWLEDGE ACCESS COMMUNICATION DISSEMINATION SCIENCES TECHNOLOGIES SOCIAL SC. HUMANITIES KNOWLEDGE VALIDATION / VALUATION จินตมยปัญญา

17 ความรู้เป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ ผูกขาดโดยนักวิชาชีพ
ICT เป็นปัญหา หรือ โอกาส ความรู้เป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ ผูกขาดโดยนักวิชาชีพ ความรู้เป็นสมบัติสาธารณะ

18 Technology Divide เทคโนโลยีราคาแพง ประเทศที่ผลิต และส่งออกความรู้
การค้นพบ นวัตกรรม สิทธิบัตร ผูกขาด การตั้งราคาเทคโนโลยี ประเทศที่ผลิต และส่งออกความรู้ การค้าเสรี ความจำเป็นต้องใช้ความรู้ ทรัพยากรจำกัด เจียดไปซื้อเทคโนโลยี ยากจนลง ประเทศที่นำเข้า และพึ่งความรู้ การจัดการ ทรัพย์สินทางปัญญา ประเทศไทยต้องวิจัย และสร้างนวัตกรรมเอง จึงจะมีความสามารถในการแข่งขัน

19 ความรู้ 4.สร้างความคิด จุดยืน 3. สร้างนวัตกรรม สำหรับประชาชน
1. การนำความรู้มาใช้ ในการพัฒนา เพื่อความเจริญ ทันโลก “อย่างยั่งยืน” 2. การสะสมภูมิปัญญา ความรู้จากประสบการณ์ และจากข้อมูลเฉพาะถิ่น ที่เป็นองค์รวม “อย่างเปิดกว้าง” บทบาท ความรู้ ปัญญา 4.สร้างความคิด จุดยืน สำหรับประชาชน ใช้ข้อมูล เหตุผล ไม่งมงาย ไม่ถูกหลอก ลดความขัดแย้ง 3. สร้างนวัตกรรม เป็นฐาน ความสามารถใน การแข่งขันของชาติ 5. ฐานคุณธรรม จริยธรรม ซื่อสัตย์สุจริต เมตตากรุณา เอื้อเฟื้อ บุพการี “เศรษฐกิจพอเพียง”

20 ความสามารถในวิชาชีพ – ข้อมูล ความรู้
ความสามารถในการเข้าถึง – internet, language competencies ความสามารถในการเลือก -- critical appraisal, research methods ความสามารถในการปรับใช้ – holistic, economic, humanistic ความสามารถในการสอน สื่อสาร ถ่ายทอด -- communication skills การทำงานเป็นทีม – trust, respect for others, leadership ความสามารถในวิชาชีพ – ข้อมูล ความรู้ การตัดสินใจ ฝีมือ ความคิด ปัญญา ธรรมะ คุณสมบัติของบัณฑิต เปลี่ยนไป

21 ทั่วไป ? คุณสมบัติบัณฑิตที่พึงประสงค์ วิชาเฉพาะ สมรรถนะที่จำเป็น
ศึกษาวิชาชีพ วิชาเฉพาะ การศึกษาเพื่อ สมรรถนะที่จำเป็น ทักษะที่จำเป็น คุณลักษณะสำหรับอนาคต คุณธรรมจริยธรรม การศึกษา ทั่วไป ?


ดาวน์โหลด ppt ปรัชญาการศึกษาทั่วไป

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google