งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การสร้างแผนที่ยุทธศาสตร์ปฏิบัติการย่อย (Mini-SLM)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การสร้างแผนที่ยุทธศาสตร์ปฏิบัติการย่อย (Mini-SLM)"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การสร้างแผนที่ยุทธศาสตร์ปฏิบัติการย่อย (Mini-SLM)
Workshop 6 การสร้างแผนที่ยุทธศาสตร์ปฏิบัติการย่อย (Mini-SLM)

2 การสร้างแผนปฏิบัติการย่อย (Mini-SLM)
ขั้นตอนนี้ประกอบด้วย การกำหนดจุดหมายปลายทางเฉพาะประเด็น การวิเคราะห์กิจกรรมสำคัญ การสร้างแผนที่ยุทธศาสตร์ปฏิบัติการย่อย (Mini-SLM) การนิยามวัตถุประสงค์อย่างละเอียด การทดสอบระบบการปฏิบัติการของกลุ่มงาน

3 การกำหนดจุดหมายปลายทางเฉพาะประเด็น
ผู้บริหาร (หรือรวมทั้งคณะ) จะเป็นผู้กำหนดประเด็นหรือวาระ (Agenda) ที่ต้องการใช้ แผนที่ยุทธศาสตร์ในการบริหารการเปลี่ยนแปลง “การดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรัง(เบาหวาน/ความดันและCOPD)”

4 ขั้นตอนการสร้างแผนที่ยุทธศาสตร์ปฏิบัติการย่อย (Mini - SLM)
ต้องทำการปรับจุดหมายปลายทางเฉพาะ ตามประเด็นที่กำหนด สร้างโดยใช้ตารางช่วยสร้างแผนที่ยุทธศาสตร์กลุ่มงาน ( ตาราง 6 ช่อง) เชิงคุณค่า ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย การบริหารจัดการ สำคัญ เรียนรู้และพัฒนา มุมมอง 3-5 กลยุทธ์ต่อ 1 วัตถุประสงค์ - ฯลฯ ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน กิจกรรม กลยุทธ์ วัตถุประสงค์ของยุทธศาสตร์ จุดหมายปลายทาง ระดับ ชุมชนทำอะไรได้บ้าง ประชาชนเข้มแข็งอย่างไร ประเภทของภาคเครือข่าย เข้มแข็งอย่างไร ระบบ อะไรบ้างที่ต้องการพัฒนา พัฒนาอย่างไร คน / ข้อมูล / องค์กร / ต้องการให้แข็งแรงอย่างไร การปรับจุดหมายปลายทางเฉพาะประเด็นทำให้..... ทุกคนเห็นภาพว่างานที่ตนรับผิดชอบจะมีส่วนตอบสนองจุดหมายปลายทางข้อใดขององค์กร สื่อความให้ทุกคนในกลุ่มงานทราบว่าองคืกรต้องการอะไรจากลุ่มงาน เป็นปัจจัยที่สำคัญของแผนที่ยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการย่อยที่จะดำเนินการต่อไป ช่วยให้เกิดความชัดเจนว่าน้ำหนักของกลุ่มงานควรอยู่ ณจุดใด

5 วิธีการปรับจุดหมายปลายทาง
แต่ละกลุ่มงานต้องนำจุดหมายปลายทางเดิมที่กำหนดไว้ตั้งแต่เริ่มต้นสร้างแผนที่ยุทธศาสตร์ (เฉพาะระดับที่ตรงกับระดับของกลุ่มงาน) มาปรับให้เป็นจุดหมายปลายทางของกลุ่มงาน คือการมาพิจารณาใหม่ว่า จุดหมายปลายทางข้อใด ที่กลุ่มงานสามารถตอบสนองได้ ก็นำมาใช้เป็นจุดตั้งต้นในการสร้างแผนที่ยุทธศาสตร์ย่อยในขั้นตอนต่อไป และปรับให้สอดคล้องกับประเด็นที่กำหนด

6 J.2 กลุ่มงาน พัฒนาการมีส่วนร่วม
ภาคี ประชาชน การจัดระบบข้อมูล การสื่อสารผ่านหอกระจายขาว/วิทยุชุมชน มีระบบการจัดเก็บข้อมูลที่มีประสิทธิภาพ การพัฒนาแกนนำ การทำงานแบบมีส่วนร่วม มีเทคโนโลยี/องค์ความรู้ใหม่/ภูมิปัญญาท้องถิ่น สมรรถนะองค์กร จัดระบบสิ่อสารที่ดี จัดระบบสื่อสารที่ดีเข้าถึงกลุ่มเป้าหมาย อปท.เข้มแข็ง ภาครัฐ อสม. NGO มีบทบาท มีระบบสนับสนุน ชุมชนมีทักษะวางแผนชุมชน มีโครงการของชุมชน ผวจ.สสจ.อบจ.สนับสนุน . เพ็ญพิมล ศศิวรรณ เอมอร แผนที่ SLM แสดงกลุ่มงาน กระบวนการ พื้นฐาน สมยศ Job.4 Job.1 Job.3 J.2 กลุ่มงาน พัฒนาการมีส่วนร่วม J.2 กลุ่มงาน พัฒนาการมีส่วนร่วม ได้รับมอบหมายหน้าที่ 4 กล่องวัตถุประสงค์ ใน 2 ระดับ คือ 1.ระดับกระบวนการ 2.ระดับภาคี

7 (1) (2) (5) ระดับ มุมมอง จุดหมายปลายทาง (3) วัตถุประสงค์ (4) กลยุทธ์
ภาคี/เครือข่าย เชิงผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ๑.มีเครือข่ายและพันธมิตรที่ทำงาน/ ประสานงานร่วมกันในทุกระดับและทุกเครือข่าย หน่วยงานภาครัฐ ชมรมอสม. องค์กรเอกชน มีบทบาท ๑. สร้างสัมพันธไมตรีระหว่างภาคี เครือข่าย ๒. กำหนดบทบาท ภารกิจ ร่วมกันของแต่ละภาคี เครือข่าย โดยยึดประชาชนเป็นหลัก ๒.มีการประสานใช้ทรัพยากรร่วมกัน (คน ,เงิน ,สิ่งของ) ให้มีการใช้ทรัพยากรร่วมกัน ๑. ประสานแผนของทุกภาคส่วน โดยยึดประโยชน์ของประชาชนเป็นหลัก ๒. กำหนดเป้าหมาย กลวิธีเพื่อใช้ทรัพยากรร่วมกัน ๓.ภาคี/เครือข่ายมีความเข้มแข้ง อปท.มีความเข้มแข็ง ๑. สร้างจิตสำนึก อุดมการณ์ ๒. พัฒนาศักยภาพของบุคลากร ในอปท.

8 ตารางช่วยสร้างแผนที่ยุทธศาสตร์กลุ่มงาน( ตาราง 6 ช่อง)
ระดับ (1) มุมมอง (2) จุดหมาย ปลายทาง (3) วัตถุประสงค์ (4) กลยุทธ์ (5) กิจกรรมสำคัญ (6) ภาคี/ เครือข่าย เชิงผู้มีส่วน ได้ส่วนเสีย ๑.มีการสร้าง เครือข่ายและ พันธมิตรที่ กว้างขวาง ใน การเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรค ไข้หวัดนก หน่วยงานภาครัฐ ชมรมอสม. องค์กรเอกชน มีบทบาทในการเฝ้า ระวังป้องกันและ ๑. สร้างสัมพันธไมตรีระหว่างภาคี เครือข่าย ๒. กำหนดบทบาท ภารกิจ ร่วมกันของแต่ละภาคี เครือข่าย โดยยึดประชาชนเป็นหลัก ๒.มีการ ประสานใช้ ทรัพยากร ร่วมกันในการ ดำเนินงาน ให้มีการใช้ ๑. ประสานแผนของทุกภาคส่วน โดยยึดประโยชน์ของประชาชนเป็นหลัก ๒. กำหนดเป้าหมาย กลวิธีเพื่อใช้ทรัพยากรร่วมกัน ๓.ภาคี/ครือข่าย มีความเข้มแข็ง ในการดำเนิน งานป้องกันและ ส่งเสริมให้ภาคี/ เครือข่ายมีความ เข้มแข็งในการ ดำเนินงานป้องกัน และควบคุมโรค ๑. สร้างจิตสำนึก อุดมการณ์ ๒. พัฒนาศักยภาพของบุคลากร ภาคี / เครือข่าย

9 (1) (2) (5) ระดับ มุมมอง จุดหมายปลายทาง (3) วัตถุประสงค์ (4) กลยุทธ์
กระบวนการ เชิงบริหารจัดการ ๑.มีระบบสนับสนุน เครือข่ายและพันธมิตร มีระบบสนับสนุนที่ดีใน การดำเนินงาน ๑. กำหนดแนวทางการบริหารจัดการให้เอื้อต่อการประสานงานทั้งภายใน/ภายนอกหน่วยงาน ๒. สร้างสัมพันธภาพที่ดีของบุคลากรทั้งภายใน/ภายนอกหน่วยงาน ๓. ส่งเสริมให้ ปชช.มีส่วนร่วมในการบริหารจัดการ ๒. มีการสื่อสารที่ดี ระหว่างพันธมิตร มีระบบสื่อสารที่ดีเข้าถึง กลุ่มเป้าหมาย ๑. สร้างช่องทางการสื่อสารให้สามารถติดต่อสื่อสารได้ถึงกันระหว่างหน่วยงาน / องค์กร ๒. ส่งเสริม สนับสนุนให้หน่วยงาน องค์กรใช้ช่องทางในการสื่อสาร ๓. มีการลดขั้นตอนการทำงานที่ซับซ้อนของแต่ละหน่วยงาน ลดขั้นตอนการทำงานที่ซับซ้อนของแต่ละหน่วยงาน ๑. ส่งเสริมให้มีการใช้เทคโนโลยีช่วยในการทำงาน ๒. พัฒนาศักยภาพของบุคลากรให้สามารถทำงานแทนกันได้ ๓. ทบทวนและลดขั้นตอนการทำงานที่ซับซ้อน ๔. มีระบบการจัดการเรียนรู้ที่ดี มีการส่งเสริมการเรียนรู้วัฒนาธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น สร้างระบบการจัดการเรียนรู้ ๑. กำหนดแบบแผนการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับพื้นที่ ๒. ส่งเสริมให้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างองค์กรอย่างต่อเนื่อง

10 ขั้นตอนที่ 5 การสร้างแผนที่ยุทธศาสตร์ ปฏิบัติการย่อย (Mini-SLM)
ขั้นตอนนี้ประกอบด้วย การกำหนดจุดหมายปลายทางเฉพาะประเด็น การวิเคราะห์กิจกรรมสำคัญ การสร้างแผนที่ยุทธศาสตร์ปฏิบัติการย่อย (Mini-SLM) การนิยามวัตถุประสงค์อย่างละเอียด การทดสอบระบบการปฏิบัติการของกลุ่มงาน

11 เขียนกิจกรรมสำคัญประมาณ 3-5 กิจกรรมสำคัญ ต่อ 1 กลยุทธ์
ตารางช่วยสร้างแผนที่ยุทธศาสตร์กลุ่มงาน( ตาราง 6 ช่อง) ระดับ (1) มุมมอง (2) จุดหมาย ปลายทาง (3) วัตถุประสงค์ (4) กลยุทธ์ (5) กิจกรรมสำคัญ (6) กระบวนการ บริหารจัดการ ๑.มีระบบ สนับสนุน เครือข่ายและ พันธมิตร ในการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรค ไข้หวัดนก มีระบบสนับสนุนที่ดี ในการดำเนินงาน การเฝ้าระวัง ๑. กำหนดแนวทางการบริหารจัดการให้เอื้อต่อการประสานงานทั้งภายใน/ภายนอกหน่วยงาน ๒. สร้างสัมพันธภาพที่ดีของบุคลากรทั้งภายใน/ภายนอกหน่วยงาน ๓. ส่งเสริมให้ ปชช.มีส่วนร่วมในการบริหารจัดการ ๒. มีการสื่อสารที่ ดีระหว่างพันธ- มิตรในด้านการ ควบคุมโรคไข้ หวัดนก มีระบบสื่อสารที่ดี ในการส่งข้อมูล หวัดนกให้เข้าถึง กลุ่มเป้าหมาย ๑. สร้างช่องทางการสื่อสารให้สามารถติดต่อสื่อสารได้ถึงกันระหว่างหน่วยงาน / องค์กร ๒. ส่งเสริม สนับสนุนให้หน่วยงาน องค์กรใช้ช่องทางในการสื่อสาร เขียนกิจกรรมสำคัญประมาณ 3-5 กิจกรรมสำคัญ ต่อ 1 กลยุทธ์

12 ขั้นตอนที่ 5 การสร้างแผนที่ยุทธศาสตร์ ปฏิบัติการย่อย (Mini-SLM)
ขั้นตอนนี้ประกอบด้วย การกำหนดจุดหมายปลายทางเฉพาะประเด็น การวิเคราะห์กิจกรรมสำคัญ การสร้างแผนที่ยุทธศาสตร์ปฏิบัติการย่อย (Mini-SLM) การนิยามวัตถุประสงค์อย่างละเอียด การทดสอบระบบการปฏิบัติการของกลุ่มงาน

13

14 วัตถุประสงค์ของยุทธศาสตร์ (แกนกลาง)
ตัวอย่างภาพวัตถุประสงค์ของยุทธศาสตร์พร้อมทั้งกิจกรรมสำคัญของกลุ่มงาน (พันธมิตร) นำวัตถุประสงค์ของกลุ่มงานมาวาง วัตถุประสงค์ของยุทธศาสตร์ (แกนกลาง) ฝึกอบรมทักษะวางแผนให้ แกนนำชุมชน ประชาชนมีบทบาทตามข้อตกลง สร้างระบบสื่อสาร สร้างและเตรียม วิทยากร สร้างแกนนำการ มีเครือข่ายทำงานพหุภาคี สำรวจ / ศึกษา / วางแผนชุมชน ขยายเครือข่าย พันธมิตร การทำงานแบบมีส่วนร่วม เปิดโครงการความร่วมมือ กำหนดบทบาทภาคี กับเครือข่าย กิจกรรมสำคัญ กิจกรรมสำคัญ

15 วัตถุประสงค์ของยุทธศาสตร์ (แกนกลาง)
ตัวอย่างภาพวัตถุประสงค์ของยุทธศาสตร์พร้อมทั้งกิจกรรมสำคัญของกลุ่มงาน (พันธมิตร) กิจกรรมสำคัญ ประชาชนมีบทบาทตามข้อตกลง มีเครือข่ายทำงานพหุภาคี การทำงานแบบมีส่วนร่วม กำหนดบทบาทภาคี สำรวจ / ศึกษา ขยายเครือข่าย พันธมิตร สร้างและเตรียม วิทยากร สร้างแกนนำการ วางแผนชุมชน สร้างระบบสื่อสาร ฝึกอบรมทักษะวางแผนให้ แกนนำชุมชน เปิดโครงการความร่วมมือ กับเครือข่าย พิจารณากิจกรรมสำคัญว่าสิ่งใดต้องทำก่อนหรือทำพร้อมกันจนถึงกิจกรรมสุดท้าย 5 4 4 3 2 1 1

16 นำกิจกรรมสำคัญมาเรียง ตามลำดับเวลาเพื่อสร้างภาพแผนที่
Mini - SLM ของกลุ่มงานพันธมิตร ประชาคมมีบทบาทตามข้อตกลง 5 ฝึกอบรมทักษะวางแผน 5 4 ให้แกนนำชุมชน 4 สร้างระบบสื่อสาร สร้างวิทยากร 3 4 4 2 สร้างแกนนำ 3 ประเภทต่างๆ 1 1 สำรวจ / ศึกษา / ขยาย 2 เครือข่ายพันธมิตร สร้างโครงการความ ทำความตกลงใน ร่วมมือกับเครือข่ายฯ บทบาทของพันธมิตร 1 1


ดาวน์โหลด ppt การสร้างแผนที่ยุทธศาสตร์ปฏิบัติการย่อย (Mini-SLM)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google