งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

โรคหลอดเลือดสมองเสื่อม

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "โรคหลอดเลือดสมองเสื่อม"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 โรคหลอดเลือดสมองเสื่อม
การป้องกันและควบคุม โรคหลอดเลือดสมองเสื่อม

2 การดำเนินงานป้องกันและควบคุม stoke
ขั้นเตรียมการ ประชุมปรึกษากับผู้ที่เกี่ยวข้องภายใน CUP ซึ่งประกอบด้วย - งานผู้ป่วยนอก - งานเวชปฏิบัติครอบครัวและชุมชน - เจ้าหน้าที่สถานีอนามัยทั้ง 7 ตำบล

3 วัตถุประสงค์ 1. บุคคลที่อยู่ในกลุ่มเสี่ยงได้รับการคัดกรองประเมินโอกาสเสี่ยงเบื้องต้นต่อการเป็นอัมพฤกษ์ อัมพาต 2. ประชาชน ในพื้นที่ได้รับข่าวสารเตือนภัยและแนวทางการปฏิบัติเพื่อป้องกันโรคอัมพฤกษ์ อัมพาต 3. ครอบครัวของผู้ที่อยู่ในกลุ่มเสี่ยงได้รับข้อมูลโรค การควบคุมปัจจัยเสี่ยงเพื่อเป็นการสนับสนุนในการดูแลตนเองและกลุ่มเสี่ยง

4 เป้าหมาย ผู้มีอายุ 40 ปีขึ้นไป และมีปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง (ร้อยละ80) ผู้ป่วยที่เป็น โรคเบาหวานและ โรคความดันโลหิตสูง ในพื้นที่ (ร้อยละ 100) ประเมินโอกาสเสี่ยงเบื้องต้น โรคอัมพฤกษ์ อัมพาต

5 ขั้นดำเนินการ 2. เตรียมชุมชน : อบรมแกนนำ หรือ อสม. เกี่ยวกับโรค
1. เตรียมข้อมูลผู้ที่อายุ 40 ปีขึ้นไป และข้อมูลผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานในพื้นที่รับผิดชอบ 2. เตรียมชุมชน : อบรมแกนนำ หรือ อสม. เกี่ยวกับโรค 3. ประเมินโอกาสเสี่ยงเบื้องต้นโรคอัมพฤกษ์ อัมพาต - ในสถานบริการ : เจ้าหน้าที่โรงพยาบาลและสถานีอนามัย - ในชุมชน : แกนนำและอสม.ประเมินในเบื้องต้น หรือการเยี่ยมบ้าน

6 ขั้นดำเนินการ (ต่อ) 4. ประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับโรคและการดูแลป้องกัน 5. ให้สุขศึกษารายกลุ่มและรายบุคคล 6. ให้คำปรึกษารายบุคคล 7. ดูแลกลุ่มผู้ที่ป่วยด้วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงให้ได้รับการรักษาอย่างต่อเนื่องด้วยการติดตามนัด (ลดเสี่ยง)

7 ผลกระทบจากสถานการณ์น้ำท่วม
อัตราการขาดนัดของผู้ป่วย เกณฑ์ ร้อยละ3

8 ผลกระทบจากสถานการณ์น้ำท่วม
ระดับน้ำตาลในผู้ป่วยกลุ่มUncontrol (FBS>180) เกณฑ์ที่ร้อยละ 10

9 การลดเสี่ยงช่วงสถานการณ์น้ำท่วม

10 การดำเนินงานภายหลังน้ำลด
สอดแทรกกิจกรรมการประเมินstoke ในการออกหน่วยเคลื่อนที่ฟื้นฟูหลังน้ำลด นอกเหนือจากการลดเสี่ยงโดยการให้ข้อมูลข่าวสารแล้ว ยังให้คำปรึกษาเพื่อลดภาวะเครียดของกลุ่มเป้าหมาย บันทึกข้อมูลลงในโปรแกรม

11 สรุปผลการประเมิน แบบประเมินเบื้องต้น แบบ ลดเสี่ยง ปกติ (คน) สูง
สูงปานกลาง สูงมาก แบบประเมินเบื้องต้น 92 (44.44%) 62 (29.95%) 56 (24.15%) 3 (1.45%) แบบ ลดเสี่ยง - 45 20 ระดับ ความเสี่ยง ชนิดแบบประเมิน

12 สรุปผลการดำเนินงาน 1.จากปัญหาน้ำท่วมทำให้การดำเนินงานต่างๆไม่เป็นไปตามแผนต้องปรับเปลี่ยนตามสถานการณ์ 2.ภายหลังน้ำลดพบว่าผู้ป่วยมีระดับน้ำตาลสูงขึ้น: ขาดยา ขาดนัด 3.พบผู้มีความดันโลหิตสูงรายใหม่เพิ่มขึ้น 4.การดำเนินงานใดๆหากมีการร่วมมือ ประสานงานภายใน CUP ที่ดีประสานงานองค์กรส่วนท้องถิ่นและชุมชนดี ย่อมที่จะประสบผลสำเร็จได้ดี

13 ข้อเสนอแนะ 1. สามารถนำผลการประเมินไปจัดกิจกรรมให้กับกลุ่มเสี่ยงแต่ละกลุ่มได้ เหมาะสม และนำเป็นผลงานวิชาการได้ 2.การให้ข้อมูลกับกลุ่มเป้าหมายควรเน้นด้านความตระหนัก และการรับรู้ต่อโอกาสเสี่ยงของการเกิดโรค , ความรุนแรงของโรค และเสริมแรงจูงใจในการดูแลสุขภาพ 3.การบันทึกข้อมูลในโปรแกรมที่ต้อง On line นั้นล่าช้ามาก ควรจะปรับเป็นโปรแกรมที่สำเร็จ ( Off line) แล้วจึง Export ข้อมูลส่งทาง Web หรือ แผ่น Dish


ดาวน์โหลด ppt โรคหลอดเลือดสมองเสื่อม

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google