งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ภาวะอุตสาหกรรม เครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ภาวะอุตสาหกรรม เครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ภาวะอุตสาหกรรม เครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์

2 แนวโน้มอัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจ
ภาวะเศรษฐกิจโลก % GDP Growth 2011p 2012p World 4.4 4.5 Advanced economies 2.4 2.6 Emerging and developing economies 6.5 - Thailand 4-5* - แนวโน้มอัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจ ประเทศคู่ค้า % GDP Growth 2011p 2012p - United States 2.8 2.9 EU 1.8 2.1 Japan 1.4 - China 9.6 9.5 - India 8.2 7.8 - ASEAN-5 5.4 5.7 ประมาณการเศรษฐกิจโลกปี 2554 ขยายตัว โดยมี % GDP Growth = 4.4% เป็นผลจากการขยายตัวทางเศรษฐกิจฟื้นตัวในกลุ่มประเทศเอเชีย ได้แก่ จีน อินเดีย เป็นหลัก สำหรับไทย % GDP Growth เป็นบวก 4.5% เนื่องจากการเร่งใช้จ่าย/ลงทุนจากภาครัฐประกอบกับการส่งออกที่มีแนวโน้มปรับตัวสูงขึ้นแต่อยู่ในอัตราชะลอลง เศรษฐกิจของประเทศคู่ค้าหลักของไทยปี 2554 มีอัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจที่ค่อนข้างดี ได้แก่ จีน อินเดีย อาเซียน ตะวันออกกลาง (การประมาณการยังไม่รวมวิกฤตการณ์จลาจลในประเทศลิเบีย อียิปต์ เป็นต้น) ส่วนประเทศคู่ค้าในแถบยุโรป มีสัญญาณฟื้นตัวในระดับที่ค่อนข้างต่ำ (จากประมาณการ %GDP Growth= 1.7%) Source: IMF, April 2011 Note: * From FPO, Thailand, March 2011

3 ภาวะอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์โลก
3.4% 6% 32% ปี %/ ปี %/ ปี % ความต้องการจากผลิตภัณฑ์สำเร็จรูป ความเชื่อมั่นของผู้บริโภคต่อเศรษฐกิจเพิ่มสูงขึ้นมาก ความต้องการส่วนใหญ่จากประเทศกำลังพัฒนา ที่มา: SIA, พฤษภาคม 2554

4 ภาพรวมภาวะอุตสาหกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ของไทย (ต่อ) มูลค่าส่งออกเดือนมกราคม-มีนาคม ปี 2554
ที่มา: กระทรวงพาณิชย์, พฤษภาคม 2554 (มูลค่าส่งออกสินค้ารวม และ มูลค่าส่งออกสินค้าอุตสาหกรรมรวม) สถาบันไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์, พฤษภาคม 2554 (มูลค่าส่งออกเครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์) ความสำคัญและการเชื่อมโยงการค้าระหว่างประเทศของ EE สัดส่วนการส่งออกเมื่อเทียบกับการส่งออกโดยรวมและส่งออกสินค้าอุตสาหกรรม: 25% ของมูลค่าส่งออกรวม แบ่งเป็น เครื่องใช้ไฟฟ้า 10% และ อิเล็กทรอนิกส์ 15% 33% ของมูลค่าส่งออกสินค้าอุตสาหกรรม แบ่งเป็น เครื่องใช้ไฟฟ้า 13% และอิเล็กทรอนิกส์ 20%

5 ภาพรวมภาวะอุตสาหกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ของไทย
ข้อมูล: สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม, พฤษภาคม 2554/ รวบรวมและวิเคราะห์: สถาบันไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์, พฤษภาคม 2554 หมายเหตุ: ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมเครื่องใช้ไฟฟ้ารวมคำนวณจากสินค้าเครื่องปรับอากาศ ตู้เย็น คอมเพรสเซอร์ พัดลม หม้อหุงข้าว กระติกน้ำร้อน สายไฟฟ้า CRT TV อัตราการขยายตัวของเครื่องใช้ไฟฟ้า เป็นผลจากการปรับตัวเพิ่มขึ้นของเครื่องปรับอากาศ (ผลิตเพิ่มขึ้นเพื่อรอจำหน่ายในหน้าร้อน/ตลาดในประเทศราคาลดลง(ความต้องการเพิ่มขึ้น)) การปรับตัวเพิ่มขึ้นของตู้เย็น (เป็นฐานการผลิตของผู้ผลิตจีน/เจาะตลาดในประเทศและฐานการส่งออก

6 ภาพรวมภาวะอุตสาหกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ของไทย
ข้อมูล: สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม, พฤษภาคม 2554/ รวบรวมและวิเคราะห์: สถาบันไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์, พฤษภาคม 2554 หมายเหตุ: ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์รวมคำนวณจากผลิตภัณฑ์ Semiconductor, IC, HDD, Printer อัตราการหดตัวของอิเล็กทรอนิกส์ เป็นผลจากการหดตัวของ HDD ขณะที่ ชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ปรับตัวเพิ่มขึ้น เช่น IC/Semi. IC ปรับตัวเพิ่มขึ้นจากสินค้าสำเร็จรูปอิเล็กทรอนิกส์ที่ใหม่ๆ เช่น iPad/iPhone เป็นต้น

7 ภาพรวมภาวะอุตสาหกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ของไทย
2554 2553 มูลค่าการส่งออกเครื่องใช้ไฟฟ้าในปี 2553 ปรับตัวเพิ่มขึ้น 29.57% ตลาดส่งออกหลัก ได้แก่ อาเซียน อียู ญี่ปุ่น ปัจจัยสนันสนุน อาเซียน(19%) ใช้สิทธิ์AFTA/ผลผูกพันไปยังคู่ค้าที่สามารถใช้สิทธิ์ FTA/ส่วนประกอบและชิ้นส่วนเพิ่มขึ้นมากเพื่อทำการผลิตเป็นสำเร็จรูป อียู ยอดส่งออกเพิ่มขึ้นมาจาก เครื่องปรับอากาศ มูลค่าส่งออกเครื่องใช้ไฟฟ้า เดือนม.ค.54 ปรับตัวสูงขึ้น จากการส่งออกในอาเซียนด้วยกันเอง แต่ปรับตัวไม่สูงมากนัก 11.67% ตลาดอื่นๆ เติบโตสูง AU เพิ่ม 6.65% (เครื่องใช้ไฟฟ้าภายในบ้าน เช่น A/C, W/M, ตู้เย็น เป็นต้น) IN เพิ่ม 27.88% (คอมเพรสเซอร์ TW เพิ่ม 41.89% (เครื่องปรับอากาศ) S.KR เพิ่ม 33.50% (กล้องถ่าย TV/VDO) HK เพิ่ม 38.19% (กล้องถ่าย TV/VDO) รวมสัดส่วน 5 ตลาดอื่นๆ ประมาณ 17% (ประมาณเท่ากับ 1 ตลาดหลัก) มูลค่าส่งออก (ล้านเหรียญ สหรัฐ) %QoQ %YoY ม.ค.-มี.ค.54 5,552.16 3.91 25.56 ข้อมูล: กรมศุลกากร, พฤษภาคม 2554/รวบรวมและวิเคราะห์: สถาบันไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์, พฤษภาคม 2554

8 ภาพรวมภาวะอุตสาหกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ของไทย
2554 2553 มูลค่าการส่งออกอิเล็กทรอนิกส์ ในปี 2553 ปรับตัวเพิ่มขึ้น 23.17% ตลาดส่งออกหลัก ได้แก่ จีน อาเซียน อียู US ปัจจัยสนันสนุน จีน ส่วนประกอบและชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ คอมพิวเตอร์ มูลค่าส่งออกอิเล็กทรอนิกส์ เดือนม.ค.54 ปรับตัวลดลงจากการปรับตัวลดลงของส่วนประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์ฯ 13.75% ที่ปรับตัวลดลงในเกือบทุกตลาดโดยเฉพาะตลาดจีนและสหรัฐอเมริกา จีนมีมาตรการลดความร้อนแรงทางเศรษฐกิจลงจากภาคอสังหาริมทรัพย์และภาวะเงินเฟ้อที่ปรับตัวสูงขึ้นของจีน ทำให้การนำเข้าสินค้าหรือส่วนประกอบฟุ่มเฟือยบางอย่างอาจหดตัวได้ มูลค่าส่งออก (ล้านเหรียญ สหรัฐ) %QoQ %YoY ม.ค.-มี.ค.54 8,084.34 -3.57 1.11 ข้อมูล: กรมศุลกากร, พฤษภาคม 2554/รวบรวมและวิเคราะห์: สถาบันไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์, พฤษภาคม 2554

9 ภาพรวมภาวะอุตสาหกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ของไทย
2554 2553 มูลค่านำเข้าเดือนม.ค.54 เครื่องใช้ไฟฟ้าในไทยส่วนใหญ่เป็นการส่งออกค่อนข้างมาก แต่มีบางอย่างต้องนำส่วนประกอบเข้ามาบ้าง จากตลาดต่างๆดังนี้ เครื่องอุปกรณ์ไฟฟ้าสำหรับตัดต่อป้องกันวงจรไฟฟ้า นำเข้าจากญี่ปุ่น เป็นเหล็ก ส่วนประกอบเครื่องรับโทรทัศน์ นำเข้าจากจีน เป็นหลัก เทปแม่เหล็กและจานแม่เหล็กฯ นำเข้าจาก อาเซียน เป็นหลัก สายไฟฟ้าและชุดสายไฟ นำเข้าจากจีนเป็นหลัก หม้อแปลงไฟฟ้าขนาดใหญ่ นำเข้าจากจีนและญี่ปุ่นเป็นหลัก มูลค่านำเข้า (ล้านเหรียญ สหรัฐ) %QoQ %YoY ม.ค.-มี.ค.54 4,553.14 4.32 23.08 ข้อมูล: กรมศุลกากร, พฤษภาคม 2554/รวบรวมและวิเคราะห์: สถาบันไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์, พฤษภาคม 2554

10 ภาพรวมภาวะอุตสาหกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ของไทย
2554 2553 มูลค่านำเข้าอิเล็กทรอนิกส์ นำเข้าสินค้า ดังนี้ IC นำเข้าจากญี่ปุ่นและไต้หวันเป็นหลัก วงจรพิมพ์ นำเข้าจากจีน ญี่ปุ่น และไต้หวัน MP นำเข้าจากจีน ไดโอดฯ นำเข้าจากญี่ปุ่น จีน อาเซียน มูลค่านำเข้า (ล้านเหรียญ สหรัฐ) %QoQ %YoY ม.ค.-มี.ค.54 6,547.15 3.24 13.80 ข้อมูล: กรมศุลกากร, พฤษภาคม 2554/รวบรวมและวิเคราะห์: สถาบันไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์, พฤษภาคม 2554

11 สัดส่วนมูลค่าส่งออก EE ไปยังตลาดหลัก ของประเทศสิงคโปร์ มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ และอินโดนีเซีย เดือนม.ค.54 13.23 Bil.US$ 6.18 Bil.US$ 1.06 Bil.US$ 1.03 Bil.US$ ที่มา: GTIS, พฤษภาคม 2554 (ข้อมูลล่าสุดเดือนมกราคม 2554)

12 ภาพรวมภาวะอุตสาหกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ของไทย
ที่มา:- เครื่องปรับอากาศ เครื่องซักผ้า เตาไมโครเวฟ ตู้เย็น กระติกน้ำร้อน หม้อหุงข้าว จากสำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม, พฤษภาคม 2554 (หมายเหตุ: เป็นปริมาณการขายในประเทศจากโรงงาน จากแบบสอบถามตามกฎกระทรวงว่าด้วยการแจ้งข้อมูลการประกอบกิจการโรงงาน พ.ศ (แบบร.ง.8)) เติบโตอย่างต่อเนื่องทุกตัว ยกเว้น TV(CRT) และกระติกน้ำร้อน(ดิจิตอล/สินค้าทดแทน)

13 ภาพรวมภาวะอุตสาหกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ของไทย
ประมาณการแนวโน้มอุตสาหกรรม เครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ พบว่า ในไตรมาสที่ 1/2553 มีการปรับตัวเพิ่มขึ้นทุกผลิตภัณฑ์ จากปัจจัยต่างๆที่นำมาเป็นตัวแปรชี้นำปรับตัวเพิ่มขึ้น ที่มา: แบบจำลองประมาณการอุตสาหกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์, สถาบันไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์, พฤษภาคม 2554 หมายเหตุ: Shipment = การผลิตสินค้าและส่งขายจากหน้าโรงงาน อัตราดอกเบี้ยเงินกู้ยืมฯ/ดัชนีราคาผู้ผลิต เครื่องใช้ไฟฟ้าฯ/ราคาน้ำมัน ให้ผลในทิศทางตรงกันข้าม (หากตัวแปรดังกล่าวมีทิศทางเพิ่มขึ้น อาจส่งผลกระทบกับดัชนีการส่งสินค้าลดลง) e = ประมาณการ

14 ภาพรวมภาวะอุตสาหกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ของไทย
Export ปี 2553: %Growth = 29.57% คาดการณ์ ปี 2554: %Growth = 13% Import ปี 2553: %Growth = 29.54% คาดการณ์ ปี 2554 = 14% ภาพรวมการส่งออกเครื่องใช้ไฟฟ้าปี 2553 = 29.57% ปัจจัยที่ส่วนช่วยให้การส่งออกเพิ่มสูงขึ้น ได้แก่ ชิ้นส่วน/ส่วนประกอบที่มีอุปสงค์จากสินค้าสำเร็จรูป การใช้สิทธิ์ FTA ตลาดส่งออก อาเซียน ฐานตัวเลขที่ต่ำ การปรับสมดุลของสินค้าคงคลัง และ สินค้าช่วงเทศกาล ฟุตบอลโลก โดยเฉพาะสินค้า AV คาดการณ์ปี 2554 คาดว่าจะปรับตัวเพิ่มขึ้น ร้อยละ 3-5 ข้อมูล: กรมศุลกากร, พฤษภาคม 2554, รวบรวมและวิเคราะห์: สถาบันไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์, พฤษภาคม 2554

15 ภาพรวมภาวะอุตสาหกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ของไทย
Export ปี 2553: %Growth = 23.17% คาดการณ์ 2554: %Growth = 9% Import ปี 2553: %Growth = 28.36% คาดการณ์ ปี 2554 = 9% ภาพรวมการส่งออกอิเล็กทรอนิกส์ปี 2553 = 23.17% ปัจจัยที่ส่วนช่วยให้การส่งออกเพิ่มสูงขึ้น ได้แก่ ชิ้นส่วน/ส่วนประกอบที่มีอุปสงค์จากสินค้าสำเร็จรูป การใช้สิทธิ์ FTA ตลาดส่งออก จีน ฐานตัวเลขที่ต่ำ การปรับสมดุลของสินค้าคงคลัง คาดการณ์ปี 2554 คาดว่าจะปรับตัวเพิ่มขึ้น ร้อยละ 7-8 ข้อมูล: กรมศุลกากร, พฤษภาคม 2554, รวบรวมและวิเคราะห์: สถาบันไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์, พฤษภาคม 2554

16 โอกาส ปัญหา อุปสรรค มีโอกาสทำการค้าขายภายใต้ FTA และ AEC มากขึ้น
วิกฤตราคาสินค้าวัตถุดิบสูงขึ้น เช่น ราคาน้ำมัน ซึ่งก่อให้เกิดจากภาวะเงินเฟ้อตามมาด้วย ทั้งนี้เป็นผลจากวิกฤตการณ์ในประเทศแถบตะวันออกกลางทำให้ราคาปรับสูงขึ้น ทิศทางอัตราดอกเบี้ยที่ปรับตัวสูงขึ้น การแข่งขันด้านราคามีมากขึ้นจากต้นทุนที่สูงขึ้น และสินค้าคงคลังที่สะสมในช่วงก่อนหน้า ทำให้การปรับราคาเพิ่มขึ้นทำได้ยาก ปัญหาการขาดแคลนแรงงานในภาคอุตสาหกรรม เฝ้าระวังการนำเข้าชิ้นส่วนและส่วนประกอบจากญี่ปุ่นซึ่งอาจจะขาดแคลนได้จากภัยพิบัติที่เกิดขึ้นเมื่อวันที่ 11 มี.ค.54 FTA ออสเตรเลีย/ AEC (เตรียมความพร้อมก่อนปี 2558) ราคาแข่งขันมากขึ้น เนื่องจากเริ่มมีการสะสมของสินค้าคงคลัง ปัญหาอุปสรรคในการพัฒนาศักยภาพและเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของอุตสาหกรรม ได้แก่ มาตรฐานสินค้า คุณภาพสินค้า การออกแบบ โจมตีสินค้าจากจีน ปัญหาอุปสรรคในการบริหารจัดการที่เอื้ออำนวยต่อการดำเนินธุรกิจ ได้แก่ Logistics ประกันความเสี่ยงที่เกิดจากค่าเงินผันผวน การประกันของเมื่อส่งไปยังประเทศใหม่ๆที่มิใช่คู่ค้าเดิม ข้อเสนอแนะ ประกันความเสี่ยงจากค่าเงินที่ผันผวน และวางแผนล่วงหน้าในการบริหารจัดการความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้นในอนาคต ขยายตลาดใหม่ๆที่มีศักยภาพ และรักษาส่วนแบ่งตลาดส่งออกเดิมไว้ พํฒนาผลิตภัณฑ์ โดยใช้กลยุทธ์ร่วมลงทุน เช่น Process/Production Improvement ร่วมกับบริษัทต้นแบบผลิตภัณฑ์ เป็นต้น การสร้างความพร้อมของอุตสาหกรรมดังกล่าว เช่น การพัฒนาแรงงานที่มีศักยภาพให้เพิ่มพูนความรู้ ทักษะในสายวิชาชีพมากขึ้น การซ่อมบำรุงรักษาสายการผลิตให้อยู่ในสภาพดีรองรับการใช้งานในอนาคต


ดาวน์โหลด ppt ภาวะอุตสาหกรรม เครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google