งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษก สมุทรปราการ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษก สมุทรปราการ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษก สมุทรปราการ
รายงานผลการประเมินการประกันคุณภาพ ตัวบ่งชี้ที่ ๑๑ ผลการบริหารความเสี่ยง เอกลักษณ์วิทยาลัย : เรียนรู้อย่างสร้างสรรค์ อัตลักษณ์นักศึกษา : แบ่งปันอย่างเอื้ออาทร

2 โครงสร้างผู้บริหารสถานศึกษา

3 โครงสร้างระบบการประกันคุณภาพ
นายอนันท์ งามสะอาด ผู้อำนวยการ รองผู้อำนวยการทุกฝ่าย นายพลสิทธิ์ เชื้อเหรียญทอง หัวหน้างานประกันคุณภาพฯ นายวิสิทธิ์ตพงศ์ แสงงาม ประธานกรรมการ ตัวบ่งชี้ที่ ๑๑ นางสาวน้ำทิพย์ เผือกรอด คณะทำงาน นายธีระวัตน์ สงค์แก้ว คณะทำงาน นางสาวสายม่าน ภู่หลำ คณะทำงาน

4 คำอธิบาย บริหารความเสี่ยง
สถานศึกษาระบุความเสี่ยงเพื่อให้สามารถวางแผนบริหารจัดการความเสี่ยงได้อย่างมีประสิทธิภาพ นำไปสู่ความสำเร็จของการดำเนินการตามแผนขององค์กรได้บรรลุเป้าหมายตามที่กำหนด

5 ตัวบ่งชี้ที่ ๑๑ ผลการบริหารความเสี่ยง
ตัวบ่งชี้ที่ ๑๑ ผลการบริหารความเสี่ยง นิยาม ความเสี่ยง หมายถึง โอกาสหรือเหตุการณ์ที่ไม่พึงประสงค์ที่อาจจะทำให้สถานศึกษาไม่บรรลุวัตถุประสงค์หรือเหตุการณ์ที่ไม่มีความแน่นอน ซึ่งหากเกิดขึ้นจะมีผลกระทบเชิงลบต่อวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายของสถานศึกษาโดยกำหนดความเสี่ยงที่สำคัญบังคับไว้ ๕ ด้าน ดังนี้ ๑. ความเสี่ยงด้านความปลอดภัยของผู้เรียน ครู และบุคลากรทางสถานศึกษา ๒. ความเสี่ยงด้านการทะเลาะวิวาท ๓. ความเสี่ยงด้านสิ่งเสพติด ๔. ความเสี่ยงด้านสังคม เช่น การตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร ๕. ความเสี่ยงด้านการพนันและการมั่วสุม

6 แผนผังการบริหารความเสี่ยงของนักเรียนนักศึกษา วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษก สมุทรปราการ
นักเรียน นักศึกษา นักเรียน นักศึกษา นักศึกษาที่มีพฤติกรรมเสี่ยง นักศึกษาที่มีพฤติกรรมเสี่ยง การคัดกรอง นักศึกษากลุ่มเสี่ยง การคัดกรอง นักศึกษากลุ่มเสี่ยง นักศึกษากลุ่มปกติ เข้าร่วมกิจกรรมปรับเปลี่ยน ระบบสมัครใจบำบัด นักศึกษากลุ่มปกติ เข้าร่วมกิจกรรมปรับเปลี่ยน ระบบสมัครใจบำบัด การเรียนการสอน ตามหลักสูตร การเรียนการสอน ตามหลักสูตร กิจกรรมเสริมหลักสูตร กิจกรรมเสริมหลักสูตร นักศึกษามีความมุ่งมั่นในการบริหารจัดการอาชีวศึกษาเชิงบูรณาการตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงผลิตและพัฒนากำลัง คนให้มีสรรถนะวิชาชีพก้าวสู่ประชาคมอาเซียนคล้องกับวิสัยทัศน์ของสถานศึกษา นักศึกษามีความมุ่งมั่นในการบริหารจัดการอาชีวศึกษาเชิงบูรณาการตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงผลิตและพัฒนากำลัง คนให้มีสรรถนะวิชาชีพก้าวสู่ประชาคมอาเซียนคล้องกับวิสัยทัศน์ของสถานศึกษา

7 ปฏิทินการดำเนินงาน ลำดับที่ รายละเอียด ระยะเวลา 1.
ศึกษาเอกสารรายละเอียดตัวบ่งชี้ ตุลาคม 2555 2. ประชุมคณะทำงาน 3. รวบรวมเอกสาร โครงการ/กิจกรรม ตุลาคม - พฤศจิกายน 2555 4. สรุปรายละเอียด/หาเอกสารหลักฐาน ธันวาคม 2555 5. นำส่งสรุปรายงานให้หัวหน้างานประกันคุณภาพ

8 ผลการดำเนินงานพบว่า ประเด็นการพิจารณา ปีการศึกษา 2552 ปีการศึกษา 2553
ปีการศึกษา 2554 ๑. ด้านความปลอดภัยในสถานศึกษา ๒.ด้านการทะเลาะวาท ๓.ด้านสิ่งเสพติด ๔.ด้านสังคม ๕.ด้านการพนันและการมั่วสุม รวม

9 ผลการดำเนินงาน สรุปพบว่า มีการพัฒนาต่อเนื่องในระดับดีมาก มีค่าผลคะแนนเท่ากับ 5

10 รายละเอียดและผลการปฏิบัติงาน แหล่งข้อมูล / หลักฐาน / ร่องรอย
ประเด็นการพิจารณา มี / ไม่มีการปฏิบัติ รายละเอียดและผลการปฏิบัติงาน แหล่งข้อมูล / หลักฐาน / ร่องรอย ๑. ตัวแทนครู บุคลากร และนักเรียน-นักศึกษาจากทุกส่วนงาน มีส่วนร่วมในการค้นหาและระบุความเสี่ยงด้านความปลอดภัยภายในสถานศึกษา มีการยอมรับความเสี่ยงที่เกิดขึ้นจากการสร้างสรรค์ รวมทั้งมีมาตรการให้ครู และบุคลากรในทุกหน่วยงาน มีการป้องกันและควบคุมความเสี่ยงด้วยตนเองอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง และมีการแก้ไขปรับปรุงเพื่อลดความเสี่ยงที่เกิดขึ้น โดยสามารถควบคุมความเสี่ยงให้ลดลงอย่างต่อเนื่อง มีการสร้างความร่วมมือในการค้นหา/วิเคราะห์ความเสี่ยงและกำหนดประเด็นความเสี่ยงด้านความปลอดภัยภายในสถานศึกษาโดยมีประเด็นความเสี่ยงเรียงตามลำดับความสำคัญที่จะต้องป้องกันและแก้ปัญหา ดังนี้ ๑. ความปลอดภัยในทรัพย์สิน / ความปลอดภัยในโรงฝึกงาน ๒. ความปลอดภัยในการใช้อุปกรณ์ และเครื่องมือต่างๆ ๓. การเดินขึ้นลงบันได ๔. ทำป้ายนิเทศ / ป้ายเตือน / ข้อควรระวัง

11 รายละเอียดและผลการปฏิบัติงาน แหล่งข้อมูล / หลักฐาน / ร่องรอย
ประเด็นการพิจารณา มี / ไม่มีการปฏิบัติ รายละเอียดและผลการปฏิบัติงาน แหล่งข้อมูล / หลักฐาน / ร่องรอย ๑ .(ต่อ) -วางแผนและกำหนดมาตรการให้ครู และบุคลากรในทุกส่วนงาน ได้ป้องกันและควบคุมความเสี่ยงด้วยตนเองอย่างเป็นระบบและต่อเนื่องดังนี้ ๑. ผู้ที่เกี่ยวข้องกับโครงการด้านความปลอดภัยสถานศึกษาให้จัดดำเนินงานและปฏิบัติงานตามจุดประสงค์ของโครงการ ๒. ชี้แจงวิธีการใช้เครื่องมือ/อุปกรณ์ต่างๆ ให้เข้าใจและปฏิบัติตามคำแนะนำอย่างเคร่งครัด ๓. มีเครื่องหมายกำหนดทางขึ้นลงบันได ๔. จัดทำป้ายนิเทศ / ป้ายเตือน / ข้อควรระวัง

12 รายละเอียดและผลการปฏิบัติงาน แหล่งข้อมูล / หลักฐาน / ร่องรอย
ประเด็นการพิจารณา มี / ไม่มีการปฏิบัติ รายละเอียดและผลการปฏิบัติงาน แหล่งข้อมูล / หลักฐาน / ร่องรอย ๒. ตัวแทนครู บุคลากร และนักเรียน-นักศึกษาจากทุกส่วนงาน มีส่วนร่วมในการค้นหาและระบุความเสี่ยงด้านการทะเลาะวิวาท มีการยอมรับความเสี่ยงที่เกิดขึ้นจากการสร้างสรรค์ รวมทั้งมีมาตรการให้ครู และบุคลากรในทุกหน่วยงาน มีการป้องกันและควบคุมความเสี่ยงด้วยตนเองอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง และ มีการแก้ไขปรับปรุงเพื่อลดความเสี่ยงที่เกิดขึ้น โดยสามารถควบคุมความเสี่ยงให้ลดลงอย่างต่อเนื่อง -มีการสร้างความร่วมมือในการค้นหา/วิเคราะห์ความเสี่ยงและ กำหนดประเด็นความเสี่ยงด้านการทะเลาะวิวาท โดยมีประเด็นความ เสี่ยงเรียงตามลำดับความสำคัญที่จะต้องป้องกัน และแก้ปัญหา ๑. การทะเลาะชกต่อยตบตี -มีมาตรการให้ครูและบุคลากรทุกหน่วยงานป้องกันและควบคุมความ เสี่ยงด้านการทะเลาะวิวาทด้วยตนเองอย่างเป็นระบบ และต่อเนื่อง โดยได้วางแผนและกำหนดให้มีการปฏิบัติงาน ดังนี้ ๑. จัดทำโครงการต่างๆที่เกี่ยวข้องกับการป้องกันและควบคุมความ เสี่ยงด้านการทะเลาะวิวาทโดยมีโครงการต่างๆ เช่น วันไหว้ครู ประชุมผู้ปกครองและปฐมนิเทศนักเรียนนักศึกษา อบรมคุณธรรมจริยธรรมนักเรียน นักศึกษาใหม่ หารายได้ระหว่างเรียน การจำหน่ายกิจกรรมกีฬาสีและนันทนาการ นักเรียนพบครูที่ปรึกษา การแข่งขันทักษะวิชาชีพระดับสถานศึกษา เป็นต้น ๒. วางแผนและกำหนดมาตรการให้ครู และบุคลากรในทุกส่วนงานได้ป้องกันและควบคุมความเสี่ยงด้วยตนเองอย่างเป็นระบบและ ต่อเนื่อง - รายงานผลการดำเนินโครงการ

13 รายละเอียดและผลการปฏิบัติงาน แหล่งข้อมูล / หลักฐาน / ร่องรอย
ประเด็นการพิจารณา มี / ไม่มีการปฏิบัติ รายละเอียดและผลการปฏิบัติงาน แหล่งข้อมูล / หลักฐาน / ร่องรอย ๓. ตัวแทนครู บุคลากร และนักเรียน-นักศึกษาจากทุก ส่วนงาน มีส่วนร่วมในการค้นหาและระบุความเสี่ยงด้านสิ่ง เสพติด มีการยอมรับความเสี่ยงที่เกิดขึ้นจากการ สร้างสรรค์ รวมทั้งมีมาตรการให้ครู และบุคลากรในทุก หน่วยงาน มีการป้องกันและควบคุมความเสี่ยงด้วยตนเอง อย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง และ มีการแก้ไขปรับปรุงเพื่อ ลดความเสี่ยงที่เกิดขึ้น โดยสามารถควบคุมความเสี่ยงให้ ลดลงอย่างต่อเนื่อง -มีการสร้างความร่วมมือในการค้นหา/วิเคราะห์ความเสี่ยงและกำหนดประเด็นความเสี่ยงด้านสิ่งเสพติด โดยมีประเด็นความเสี่ยง ที่จะต้องป้องกัน และแก้ปัญหา ดังนี้ ๑. ยาเสพติด ๒. การสูบบุหรี่ ๓. ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอร์ -มีมาตรการให้ครูและบุคลากรทุกหน่วยงานป้องกันและควบคุมความเสี่ยงด้านสิ่งเสพติดด้วยตนเองอย่างเป็นระบบ และต่อเนื่องโดยได้วางแผนและกำหนดให้มีการปฏิบัติงาน ดังนี้ ๑.จัดทำโครงการต่างๆที่เกี่ยวข้องกับการป้องกันและควบคุมความเสี่ยงด้านสิ่งเสพติดโดยมีโครงการต่างๆ เช่น การประชุมผู้ปกครองและปฐมนิเทศนักเรียน นักศึกษา โครงการประชุมผู้ปกครองนักเรียนตามนโยบายฯ ตรวจสุขภาพและตรวจสอบสารเสพติดนักเรียน นักศึกษา

14 รายละเอียดและผลการปฏิบัติงาน แหล่งข้อมูล / หลักฐาน / ร่องรอย
ประเด็นการพิจารณา (กิจกรรมที่ ๒) มี / ไม่มีการปฏิบัติ รายละเอียดและผลการปฏิบัติงาน แหล่งข้อมูล / หลักฐาน / ร่องรอย ๔. ตัวแทนครู บุคลากร และนักเรียน-นักศึกษาจากทุกส่วนงาน มีส่วนร่วมในการค้นหาและระบุความเสี่ยงด้านสังคม (เช่น การตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร) มีการยอมรับความเสี่ยงที่เกิดขึ้นจากการสร้างสรรค์ รวมทั้งมีมาตรการให้ครู และบุคลากรในทุกหน่วยงาน มีการป้องกันและควบคุมความเสี่ยงด้วยตนเองอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง และ มีการแก้ไขปรับปรุงเพื่อลดความเสี่ยงที่เกิดขึ้น โดยสามารถควบคุมความเสี่ยงให้ลดลงอย่างต่อเนื่อง -มีการสร้างความร่วมมือในการค้นหา/วิเคราะห์ความเสี่ยงและ กำหนดประเด็นความเสี่ยงด้านสังคม โดยมีประเด็นความเสี่ยง เรียงตามลำดับความสำคัญที่จะต้องป้องกัน และแก้ปัญหา ดังนี้ ๑. หลีกหนีการเข้าแถว ๒. ความสัมพันธ์ชู้สาว ๓. ไม่เคารพครู / ผู้อาวุโส ๔. ตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร ๕. การทำแท้ง -มีมาตรการให้ครูและบุคลากรทุกหน่วยงานป้องกันและควบคุมความ เสี่ยงด้านสังคมด้วยตนเองอย่างเป็นระบบ และต่อเนื่องโดยได้วางแผนและกำหนดให้มีการปฏิบัติงาน ดังนี้ ๑. จัดทำโครงการต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการป้องกันและควบคุมความเสี่ยงด้านสังคมโดยมีโครงการต่างๆ การประชุมผู้ปกครองและปฐมนิเทศนักเรียน นักศึกษา โครงการประชุมผู้ปกครองนักเรียนตามนโยบายฯ ตรวจสุขภาพและตรวจสอบสารเสพนักเรียน นักศึกษาและบุคลากร กีฬาและนันทนาการ วันไหว้ครู การสอนวิชาเพศศึกษา การพบครูที่ปรึกษา เป็นต้น

15 รายละเอียดและผลการปฏิบัติงาน แหล่งข้อมูล / หลักฐาน / ร่องรอย
ประเด็นการพิจารณา (กิจกรรมที่ ๒) มี / ไม่มีการปฏิบัติ รายละเอียดและผลการปฏิบัติงาน แหล่งข้อมูล / หลักฐาน / ร่องรอย ๕. ตัวแทนครู บุคลากร และนักเรียน-นักศึกษาจากทุกส่วนงาน มีส่วนร่วมในการค้นหาและระบุความเสี่ยงด้านการพนันและการมั่วสุม มีการยอมรับความเสี่ยงที่เกิดขึ้นจากการสร้างสรรค์ รวมทั้งมีมาตรการให้ครู และบุคลากรในทุกหน่วยงาน มีการป้องกันและควบคุมความเสี่ยงด้วยตนเองอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง และ มีการแก้ไขปรับปรุงเพื่อลดความเสี่ยงที่เกิดขึ้น โดยสามารถควบคุมความเสี่ยงให้ลดลงอย่างต่อเนื่อง -มีการสร้างความร่วมมือในการค้นหา/วิเคราะห์ความเสี่ยงและ กำหนดประเด็นความเสี่ยงด้านการพนันและการมั่วสุม โดยมีประเด็น ความเสี่ยงเรียงตามลำดับความสำคัญที่จะต้องป้องกัน และแก้ปัญหา ดังนี้ ๑. การมั่วสุมในห้องพัก ๒. การเล่นการพนัน ๓. การมั่วสุมในสถานที่อื่น -มีมาตรการให้ครูและบุคลากรทุกหน่วยงานป้องกันและควบคุมความ เสี่ยงด้านการพนันและการมั่วสุมด้วยตนเองอย่างเป็นระบบ และ ต่อเนื่องโดยได้วางแผนและกำหนดให้มีการปฏิบัติงาน ดังนี้ ๑. จัดทำโครงการต่างๆที่เกี่ยวข้องกับการป้องกันและควบคุมความเสี่ยงด้านการพนันและการมั่วสุมโดยมีโครงการต่างๆ เช่น โครงการประชุม ผู้ปกครอง เสริมสร้างประสบการณ์คุณภาพชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ไหว้ครู นักเรียนพบครูที่ปรึกษา กีฬาสีภายในและนันทนาการ การหารายได้ระหว่างเรียน เป็นต้น

16 คณะผู้จัดทำ ว่าที่ ร.ต.ธีระวัฒน์ สงค์แก้ว E-MAIL : TEL : 089-7502719
นางสาวน้ำทิพย์ เผือกรอด TEL : นางสาวสายม่าน ภู่หลำ TEL :


ดาวน์โหลด ppt วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษก สมุทรปราการ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google