งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การใช้สิทธิประโยชน์พิเศษ ด้านอากรขาเข้า ภายใต้ความตกลงเขตการค้าเสรี

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การใช้สิทธิประโยชน์พิเศษ ด้านอากรขาเข้า ภายใต้ความตกลงเขตการค้าเสรี"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การใช้สิทธิประโยชน์พิเศษ ด้านอากรขาเข้า ภายใต้ความตกลงเขตการค้าเสรี
FTAs WTO การใช้สิทธิประโยชน์พิเศษ ด้านอากรขาเข้า ภายใต้ความตกลงเขตการค้าเสรี ดร. นิลสุวรรณ ลีลารัศมี ประธานคณะกรรมการกฎว่าด้วยแหล่งกำเนิดสินค้า และมาตรการกีดกันทางการค้าที่มิใช่ภาษี สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย

2 WORLD TRADE ORGANIZATION
องค์การการค้าโลก WORLD TRADE ORGANIZATION องค์การระหว่างประเทศเพื่อดูแลการค้าทั่วโลก กำเนิด 1 มกราคม 2538 เป็นการรวมกลุ่มทางการค้าที่ใหญ่ที่สุด ปัจจุบันมีสมาชิก 148 ประเทศ ไทยเป็นสมาชิกอันดับที่ 59 อีก 24 ประเทศ (… ซาอุดิอาระเบีย รัสเซีย ลาว ….)

3 WTO “การรวมกลุ่มทางการค้า คือ RTAs”
RTAs = Regional Trade Agreements เป็นความตกลงระหว่างประเทศคู่สัญญาที่เอื้อผลประโยชน์ระหว่างกันให้ดีกว่า หรือมากกว่าเงื่อนไขความตกลงของ WTO ไม่ว่าประเทศเหล่านั้นจะเป็นสมาชิก WTO หรือไม่ก็ตาม Bilateral Free Trade Agreement: BFTA

4 เป้าหมายของการเปิดการค้าเสรี
ใช้เงื่อนไขความพร้อมและมีกำหนดระยะเวลาให้เตรียมการก่อนเปิดเสรี ครอบคลุมประเด็นที่เกี่ยวข้องกับการค้าทุกชนิด แบ่งออกได้เป็น 2 กลุ่ม คือ การค้าสินค้า (Trade in Goods) และ บริการ (Trade in Services) ~2553 ไทยจะเปิดการค้าเสรีเต็มรูปแบบ

5 ประเด็นเจรจาการค้าเสรี
IPRs Trade Remedies (SG, AD & CVD) Trade in Goods Temporary Entry (Mobility) of Business Persons Finance Competition Policy Trade in Services Science & Tech./ R & D Investment Government Procurement TBT Dispute Settlement Environ Cross Border Service SPS Custom Admin & Procedure Labor e-Commerce Telecom. Textiles and Apparel ROO SME General (Preamble, Definitions, Exception, Final Provisions)

6 การค้าสินค้า (Trade in Goods)
เปิดเสรีด้วยการลดอากรขาเข้า (Tariff) ระหว่างกัน จนในที่สุดมีอัตราร้อยละ 0 ทุกรายการ ลดและยกเลิกการอุดหนุน (Subsidy) ของรัฐ เพื่อไม่ให้มีการบิดเบือนราคาสินค้าส่งออกที่ต่ำกว่าความเป็นจริง ลดและยกเลิกการกีดกันทางการค้า (Non-Tariff Barrier: NTB) ที่ไม่เป็นธรรม

7 การค้าบริการ (Trade in Services)
เปิดเสรี 10 สาขา : บริการธุรกิจ การสื่อสารคมนาคมการก่อสร้างและวิศวกรรม สิ่งแวดล้อม การศึกษา การเงิน การจัดจำหน่าย นันทนาการ วัฒนธรรมและการกีฬา การท่องเที่ยว และการขนส่ง ไทยได้เปิดตั้งแต่ 1 ม.ค การเงิน (1 มี.ค. 42) และโทรคมนาคมขั้นพื้นฐาน (2549) ผูกพันเท่าที่กฎหมายไทยในปัจจุบันให้อำนาจไว้

8 สาขาที่เจรจาเปิดการค้าเสรี FTA
 สาขาเกษตร  สาขาอุตสาหกรรม  สาขาบริการ (การลงทุน ขนส่ง ฯลฯ)  สาขาทรัพยสินทางปัญญา

9  การเปิด FTA สาขาเกษตรของไทย
 รุกสินค้าที่มีศักยภาพสูง เช่น ข้าว ไก่ กุ้ง ปาล์ม มันสำปะหลัง ผลไม้ไทย ฯลฯ  กำหนดมาตรฐานคุณภาพนำเข้า-ส่งออกสินค้า เกษตร-อาหาร เช่น SPS [MRA]  เจรจาลดและยกเลิกการอุดหนุน (Subsidy)  สินค้าอ่อนไหวให้เปิดช้าที่สุด

10  การเปิดเสรีสาขาอุตสหกรรมของไทย
 รุกสินค้าที่มีศักยภาพสูง เช่น อาหาร รถยนต์และ ชิ้นส่วนยานยนต์ เพชรพลอย เฟอร์นิเจอร์ เครื่องประดับ เครื่องใช้ไฟฟ้า ฯลฯ  สร้างมาตรฐาน กำหนดคุณภาพสินค้า [MRA] เจรจายกเลิกการกีดกันที่เป็นอุปสรรค  สินค้าอ่อนไหวให้เปิดช้าที่สุด

11  การเปิดเสรีสาขาบริการของไทย
 เปิดทีละสาขา (Positive List Approach) เช่น ภัตตาคาร การท่องเที่ยว โรงแรม แพทย์แผนไทย การซ่อมบำรุง ฯลฯ  สาขาที่ยังไม่พร้อมให้เปิดช้าที่สุด ธนาคาร ประกันภัย การขนส่ง โทรคมนาคม ฯลฯ ด้านแรงงาน USA ได้แสดงท่าทีใช้เงื่อนไข ILO ภายใต้ FTA: US Chile และ/หรือ US-SG

12 การเปิดสาขาทรัพยสินทางปัญญาของไทย
® เปิดตามกรอบความตกลงของ WTO ™© เน้นความร่วมมือถ่ายทอดเทคโนโลยี โดยเฉพาะอย่างยิ่งด้านสิทธิบัตร ™© เน้นการรักษาภูมิปัญญาท้องถิ่น พันธุ์พืช และพันธุ์สัตว์

13 แผนภูมิวงจรการส่งออก
สินค้าไทย ราคาส่งออก 100 ศุลกากรจีน อากรขาเข้า 20% ราคาเพิ่ม 20 ผู้ซื้อจีน ราคาสุดท้าย 160 @ ค่าบริหารจัดการ ขนส่ง 20 @ กำไร ราคาเพิ่ม 40

14 แผนภูมิวงจรการส่งออก FTA
สินค้าไทย ได้แหล่งกำเนิด ราคาส่งออก 100 ศุลกากรจีน อากรขาเข้า 0% กำลังซื้อจีนเพิ่ม 20 7:1 (x20 เท่า) ราคาเพิ่ม 20 ผู้ซื้อจีน ราคาสุดท้าย 160 140 @ ค่าบริหารจัดการ ขนส่ง 20 @ กำไรจากการขาย 20 ราคาเพิ่ม 40

15 ขนาดตลาด FTA ประเมินจากประชากรไทย
1. ASEAN เท่า % 2. USA เท่า % 3. China เท่า % 4. AUS เท่า % 5. JPN เท่า % 6. India เท่า %

16 ตลาดส่งออกของไทย 2546 มูลค่า: ล้าน US$
มูลค่า สัดส่วน (%) 1. ASEAN 16, 2. USA 13, 3. EU 11, 4. JPN 11, 5. Others (FTAs) 26, รวม , %

17 ปัจจัยการผลิตที่ต้องคำนึงใน FTA
1. ขนาดกำลังการผลิต เพิ่มหรือลด โรงงานใหม่ 2. วัตถุดิบ นำเข้า ในประเทศ การจัดซื้อ 3. เครื่องจักร เก่า ใหม่ จำนวน ซื้อ นำเข้า 4. เทคโนโลยี ใช้มากขึ้น ซื้อ พัฒนา ? 5. เงินลงทุน ต้องขยายมาก กู้ หุ้นเพิ่มทุน 6. บุคลากร แรงงาน การตลาด ภาษา ฝึกอบรม

18 FTA ไทย-ออสเตรเลีย 1 ม.ค. 2548 ไทย-อินเดีย 82 9 ต.ค. 46
ไทย-ออสเตรเลีย 1 ม.ค. 2548 FTA Framework Agreement เลือกเจรจาประเด็นตกลงเงื่อนไขที่ต้องการ ไทย-อินเดีย 82 9 ต.ค. 46 EHS 0% Early Harvest Scheme อาเซียน-จีน 1 ต.ค. 46 ไทย-บาร์เรน 626 29 ธ.ค. 45

19 ประเด็นหลักในการเจรจาเปิดการค้าเสรี
1. ลดภาษีนำเข้าระหว่างกัน เลือกกลุ่มสินค้าได้ ? 2. มีเงื่อนไขแหล่งกำเนิดสินค้าที่ผลิตและส่งออก 3. อำนวยความสะดวก ขนผ่านด่านศุลกากร 4. เพิ่มกรอบความร่วมมือด้านอื่น และลด NTBs

20 การลดภาษีของไทยกับ FTAs
กลุ่ม U Unilateral ลดฝ่ายเดียว 0% ได้ทันที กลุ่ม R Reciprocal ต่างตอบแทน 0% 2549 กลุ่ม N Normal มีแผนลดภาษี 0% กลุ่ม S Sentitive ยังขอภาษีคุ้มครอง ? กลุ่ม O Others ระบุรายละเอียดและมีเหตุผล IN, AUS, JPN, PERU, USA, CHN, BAHRAIN

21 FTA (RTA) Tariff Update AUS IN CH USA JPN PERU MEX CHILE NZ
1. ASEAN 0-5% Tariff % Tariff 2. Bahrain (626) 3% Tariff 3. AUS (98% Tariff lines) 0% Tariff 0% Tariff 4. China (CH. 07 – 08) 0% Tariff ASEAN 5. JPN Negotiation 6. India(Interim) (82) 0% Tariff


ดาวน์โหลด ppt การใช้สิทธิประโยชน์พิเศษ ด้านอากรขาเข้า ภายใต้ความตกลงเขตการค้าเสรี

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google