งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

แนวทางการเสริมพลังใจ บุคลากรสาธารณสุข

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "แนวทางการเสริมพลังใจ บุคลากรสาธารณสุข"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 แนวทางการเสริมพลังใจ บุคลากรสาธารณสุข

2 แนวทางการเสริมพลังใจบุคลากรสาธารณสุข (Helper)
ประเมินสภาวะสุขภาพจิต จัดกิจกรรมกลุ่มสร้างความเข้มแข็ง ให้คำปรึกษา/ส่งต่อ Need รายบุคคล? ร่วมกันวางแผนในอนาคต สรุปผลการดำเนินงาน

3 และบุคลากรสำคัญในหน่วยงาน -
ขั้นตอน กิจกรรม / วิธีปฏิบัติ ผู้ปฏิบัติ กลุ่ม เป้าหมาย แหล่ง ข้อมูล / เอกสาร 1.ประเมินภาวะจิตใจของสมาชิกในองค์กร สัมภาษณ์หัวหน้าหน่วยงานและบุคลากรสำคัญที่รู้ ข้อมูลว่ามีเจ้าหน้าที่คนใดประสบภัยน้ำท่วมและมี ใครบ้างที่มีความเหนื่อยล้า เครียด กังวล ท้อแท้ สิ้นหวัง ฯลฯ จากวิกฤติครั้งนี้ ขอให้หัวหน้าหน่วยงานจัดประชุมบุคลากรในสังกัด เพื่อจัดกิจกรรมเสริมพลังใจ โดยใช้เวลาตามที่ เห็นสมควร(ประมาณ 2 ชั่วโมง) ทีมสุขภาพจิต หัวหน้าหน่วยงาน และบุคลากรสำคัญในหน่วยงาน - 2.จัดกิจกรรมกลุ่มเสริมพลังใจ จัดให้สมาชิกนั่งเป็นวงกลม ถ้ามีสมาชิกมากว่า 15 คน ควรจัดเก้าอี้เป็นครึ่งวงกลม 2 ชั้น ดำเนินกิจกรรมเป็น 3 ขั้นตอน ใช้เวลาขั้นตอนละ ประมาณ 30 นาทีในกลุ่มขนาดไม่เกิน 15 คน ดังนี้ ขั้นที่ 1 : แนะนำตัว / เล่าความภูมิใจของตนเอง ในการผ่านวิกฤติครั้งนี้ ขั้นที่ 2 : แต่ละคนเล่าอุปสรรคและวิธีการที่ ตนเองเอาชนะ / ผ่านพ้นอุปสรรคนั้นๆ ขั้นที่ 3 : ร่วมกันคิดและวางแผนการดูแลและ ช่วยเหลือผู้ประสบภัยในองค์กร ถ้าเป็นกลุ่มขนาดใหญ่ประมาณ คน ในแต่ละขั้นตอนจะต้องแบ่งกลุ่มย่อย 3-4 คน คุยกันตามประเด็นที่กำหนด แล้วค่อยมาสรุปให้กลุ่มใหญ่ฟัง โดยมีทีมสุขภาพจิตเป็นคุณอำนวย (facilitator) บุคลากรในสสจ./รพช./ รพสต.

4 ในกลุ่มที่มีปัญหารุนแรงควรนัดติดตามและส่งต่อตามความเหมาะสม
ขั้นตอน กิจกรรม / วิธีปฏิบัติ ผู้ปฏิบัติ กลุ่ม เป้าหมาย แหล่ง ข้อมูล / เอกสาร 3.ประเมิน สุขภาพจิต หลังกิจกรรมกลุ่มเสริมพลังใจ ขอให้ทุกคนคัดกรองปัญหาสุขภาพจิตด้วย ST 5 และ DS 8 หรือ 9Q/8Q ตามที่จังหวัดเลือก ให้คำปรึกษากลุ่มที่ประเมินว่ามีปัญหาหรือกลุ่มที่แจ้งความประสงค์ขอรับคำปรึกษา รวมทั้งกลุ่มที่มีผู้ส่งต่อหรือแนะนำให้ได้รับคำปรึกษาตามเวลาและสถานที่ที่เหมาะสม ในกลุ่มที่มีปัญหารุนแรงควรนัดติดตามและส่งต่อตามความเหมาะสม ทีมสุขภาพจิต บุคลากรในสสจ./รพช./ รพสต. แบบประเมิน ST 5 , 9Q/8Q หรือ DS 8 (เอกสาร 3.1) 4.ร่วมกันวางแผนการดำเนินงานในพื้นที่ นำเสนอแนวทางการดำเนินงานซ่อม/สร้างสุขภาพจิตผู้ประสบภัยให้กับบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุข ซักถามและแลกเปลี่ยนความคิดเห็น หน่วยงานจัดทำหรือปรับแผนการดำเนินงานในพื้นที่ บุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขในรพช./สสจ./รพสต. เอกสาร บทที่ 4 5.สรุปผล การ ดำเนินงาน เขียนสรุปผลการดำเนินงานตามบันทึก นำส่งบันทึกสรุปผลการดำเนินงานตามที่กำหนด - บันทึกสรุป ผลการดำเนินงาน (เอกสาร 3.2)

5 หลักการ เสริมพลัง ใช้ศักยภาพของสมาชิกมากกว่าผู้นำกลุ่ม
ไม่เน้นการระบาย(เล่าปัญหา) สมดุลระหว่าง อารมณ์กับการปรับตัว

6 กระบวนการกลุ่ม 3 ขั้นตอนหลัก
กระบวนการกลุ่ม 3 ขั้นตอนหลัก แนะนำวัตถุประสงค์และแต่ละคนเล่าสถานการณ์ที่ประสบคนละ 1 นาที 10 นาที สิ่งดีๆ ที่ได้พบท่ามกลางวิกฤต นาที เอาชนะอุปสรรคมาได้อย่างไร นาที มีอะไรที่มาช่วยกันได้ นาที มีใครบ้างที่ต้องการความช่วยเหลือเฉพาะด้านจิตใจสรุปและปิดคนละ 1 นาที 10 นาที

7 Group Setting ขนาดกลุ่มประมาณ 8 -12 คน ถ้ามากกว่านั้นควรแบ่งกลุ่มเพิ่ม
ประกอบด้วยสมาชิกในองค์กรที่ประสบเหตุการณ์ จัดกลุ่มเป็นวงกลม ใช้แต่เก้าอี้ ใช้เวลาประมาณชั่วโมงครึ่ง

8 ตัวอย่าง(จริง)

9 ขั้นตอนที่ 1 (สรุปเหตุการณ์โดยย่อ)
6 5 4 3 2 7 1 L 8 9 10 11 แม่อยู่กับเพื่อนบ้าน 5 8 น้ำท่วมทางออก จึงมาอยู่กรมแต่น้ำท่วม เข้าบ้านด้วย เปลี่ยนที่อยู่ 3 ครั้ง 2 ปิดบ้านไว้ ข้าวของเสียหายหนัก 9 หนีน้ำพร้อมลูกและ กลับมาขนย้ายสุนัข 6 ตัว 1 - ทำความรู้จัก - เห็นภาพรวมของกลุ่ม

10 สิ่งดีๆ ที่ได้พบ 6 4 4 ได้เตรียมตัวล่วงหน้า ดูแลญาติพี่น้อง
11 4 ได้เตรียมตัวล่วงหน้า ดูแลญาติพี่น้อง พึ่งตนเอง มีคนที่แย่กว่าตน ได้เพื่อนใหม่ ห่วงใย และติดต่อกัน 6 11 มองเห็นด้าน+ของเหตุการณ์

11 เอาชนะ อุปสรรคได้อย่างไร
อารมณ์ขัน บาดเจ็บจากการตกเรือ ดีใจที่ไม่รุนแรง 5 7 8 9 7 แม่ที่อยู่กับเพื่อนบ้านมีโรคประจำตัว พยายามไปเยี่ยมดูแลไม่ให้ขาดยา 5 9 รถจมน้ำ ควรมีสติ ช่วยกันในครอบครัว 8 กลับไปดูบ้าน 2 ครั้ง เป็นบ้านที่เพิ่งปรับปรุงใหม่ คิดว่า “เป็นของนอกตัว” เตรียมตัวใหม่ สรุป เรียนรู้วิธีคิด/วิธีแก้ปัญหา

12 มีอะไรที่ช่วยกันได้ แบ่งหน้าที่ทำงาน แบ่งปันอาหาร
ไปดูบ้าน/พาเพื่อนออกจากบ้าน เตรียมจิตอาสาไปทำความสะอาด โดยไม่เป็นภาระของเจ้าของบ้าน (อาหาร/อุปกรณ์) สิ่งที่ต้องการจากองค์กร : รถ ข้อเสนอแนะอื่นๆ : บทบาทสหกรณ์ ตั้งคณะทำงาน

13 ใครบ้างที่ต้องการความช่วยเหลือเฉพาะ
อาการบอกเหตุ: เศร้ากังวลจนทำอะไรไม่ถูก ลองทำแบบทดสอบ ใครบ้างในกลุ่ม/นอกกลุ่ม สรุป สิ่งที่ได้เรียนรู้ สิ่งที่จะทำต่อไป


ดาวน์โหลด ppt แนวทางการเสริมพลังใจ บุคลากรสาธารณสุข

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google