งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ระบบ L.C มีการแบ่งระบบตามขั้นตอน ดังต่อไปนี้

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ระบบ L.C มีการแบ่งระบบตามขั้นตอน ดังต่อไปนี้"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ระบบ L.C มีการแบ่งระบบตามขั้นตอน ดังต่อไปนี้
L.C. System การแบ่งครั้งที่ 1 อักษรเพียง 1 อักษร A H H Freight (General) B HA HA Passenger traffic C HB HB305 – Urban transportation D HC HC331 – Traffic engineering E-F HD HD374 – Bridges H HE – Water transportation H E J HF HF1001 – Railways การแบ่งครั้งที่ 1 การแบ่งครั้งที่ 2 การแบ่งครั้งที่ 3

2 การแบ่งครั้งที่ 2 มีอักษร 2 อักษร
K HG HG5601 – Automotive transportation L HJ HJ 5751 – Ferries M HM HM6000 – Postal service N HN HN Telecommunication industry P HQ HQ Telephone industry Q HS HS9719 – Artificial satellite การแบ่งครั้งที่ 1 การแบ่งครั้งที่ 2 การแบ่งครั้งที่ 3

3 การแบ่งครั้งที่ 3 มีอักษร และตัวอักษรเลขหมู่
R HT HT Air transportation S HV T HX U V Z การแบ่งครั้งที่ 3 การแบ่งครั้งที่ 2 การแบ่งครั้งที่ 1

4 เลขหมู่นี้นำมาใช้ในตัวเล่มของวัสดุ คือ การแบ่งครั้งที่ 4
เลขหมู่นี้นำมาใช้ในตัวเล่มของวัสดุ คือ การแบ่งครั้งที่ 4 การแบ่งครั้งที่ 4 จะถูกแบ่งละเอียดลงไปอีก โดยใช้ ตารางภายนอก ตารางภายใน เลขคัตเตอร์

5 ตำแหน่งการจัดเก็บหนังสือใน สำนักวิทยบริการ
ตำแหน่งการจัดเก็บหนังสือใน สำนักวิทยบริการ อาศัยหลักการเลขหมู่ (L.C) – ผู้แต่ง เลขหนังสือ (Book Namber ) หรือ เรียกรวมกันว่า เลขเรียกหนังสือ (call Number)

6 ชื่อแรกของ ชื่อเรื่อง
เราทราบกันมาก่อนว่า เลขเรียกหนังสือ = call number หลักการประกอบด้วย เลขหมู่ - ชื่อแรกของผู้แต่ง - เลขประวัติผู้แต่ง ชื่อแรกของชื่อเรื่อง เลขหมู่ หากเป็นระบบ D.C ป 117 ก ชื่อแรกของผู้แต่ง ชื่อแรกของ ชื่อเรื่อง เลขผู้แต่ง

7 = ในระบบเลขหมู่รัฐสภาอเมริกัน ( LC) มี เลขเรียกหนังสือ ( call number)
TK H3 TK H3 =

8 TK = Electrical enginecring
1 TK = Electrical enginecring 2 TK2851 = motors,general 3 .H3 = Harwood (autor) 4

9 TK 2851 .H3 อักษรแสดงสาขาวิชา เลขหมู่แสดง เนื้อหาเฉพาะ
ชื่อ – สกุล ผู้แต่ง และเลขประจำตัว (cutter)

10 HQ 756 .D76 Family,marriage Fathers,husbands
Dubrin (author ) และ เลขประจำตัว ( cutter) HQ756.D76 หรือ

11 บางครั้งเลขเรียกหนังสือ อาจมีความหมายซ้ำซ้อนกว่าเลขเรียกหนังสือข้างต้น
บางครั้งเลขเรียกหนังสือ อาจมีความหมายซ้ำซ้อนกว่าเลขเรียกหนังสือข้างต้น PS A5K3 เลขเรียกหนังสือ PS100 เลขหมู่ระบบL.C ประกอบด้วย ชื่อผู้แต่ง + ชื่อเรื่อง (เนื้อหา) .A5K3 เลขหนังสือ (book number )

12 .A5K3 เลขหนังสือ ( Book Number ) อาจเรียกว่า
เลขผู้แต่ง ( Author Number ) เลขคัตเตอร์ ( Cutter Number )

13 = เลขหมู่ (LC) + เลขหนังสือ (Book number
เลขเรียกหนังสือ ( Call Number ) เลขหมู่ (LC) + เลขหนังสือ (Book number = เลขหนังสือ Book number เลขผู้แต่ง (Author number) อาจเรียกว่า เลขคัตเตอร์ (cutter number) หรือ

14 นั่นคือ เลขหนังสือ(Book number) เป็นตัวเลขประจำตัวผู้แต่งใช้ประกอบหรือเลขผู้แต่ง หรือเลขคัตเตอร์ เลขหมู่ + เลขหนังสือ หรือเลขผู้แต่ง หรือเลขคัตเตอร์ ตัวเนื้อหาของหนังสือ เลขเรียกหนังสือ (call number ) PS100 .A5K3 =

15 การจัดเรียงหนังสือบนชั้นวางหนังสือ
เลขคัตเตอร์ในระบบ L.C มีความสำคัญมาก เพราะแยกแยะ เนื้อหานี้เฉพาะเจาะจง มีประโยชน์ในการจัด เรียงวัสดุห้องสมุด การจัดเรียงหนังสือบนชั้นวางหนังสือ 1 ยึดการเรียงลำดับตัวอักษร A-Z 2 กรณีมีอักษรซ้ำกันให้เรียงตามตัวเลขหมู่ กรณีอักษรซ้ำกัน – เลขหมู่ซ้ำกัน ให้เรียงตามชื่อผู้แต่ง 3 B T51 BF S2 BT M49 HV P2 HV A42 HV A7

16 การได้มาซึ่งตัวเลขเลขคัตเตอร์ (Cutter number) มีหลักการคือ
คำที่มีอักษรตัวเลขเป็น A, E, I, O, U (สระ) ให้ดูที่ พยัญชนะตัวที่ 2 ว่าเป็นอักษรใด โดยกำหนดเลขตามอักษร นั้นๆ หรือ อักษรที่ใกล้เคียงที่สุด 1. b d l,m n p r s,t u-y 2 3 4 5 6 7 8 9

17 Ex. : Abernathy .A2 Adams .A3 Aster .A8 Uttaradit .U8

18 คำขึ้นต้นด้วยอักษร s ให้ดูตัวอักษรตัวที่ 2 คือ
2. a ch e h,i m-p t u 2 3 4 5 6 7-8 9

19 Ex. : Saint .S2 Semens .S4 Steels .S7 Sunya .S9

20 คำขึ้นต้นด้วยอักษร Qu ให้ดูตัวอักษรตัวที่ 3 คือ
3. a e i o r y 3 4 5 6 7 8 Ex. : Queen .Q4 Quicker .Q5

21 คำขึ้นต้นด้วยพยัญชนะให้ดูอักษรที่ถัดไป หากไม่มีอักษรนั้น ๆ
ในตารางให้ดูที่สระที่อยู่ถัดไป 4. a e i o r u y 3 4 5 6 7 8 9

22 Ex. : Cecil .C4 Cyprus .C9 Chiengmai .C5 Phrae .P7

23 a-d e-h i-l m n-p r-t u-w x-z 2 3 4 5 6 7 8 9
หากต้องการเพิ่มจำนวนเลขที่ 2 ต่อจากเลขคัตเตอร์เดิม ให้ดูอักษรตัวที่ 3 5. a-d e-h i-l m n-p r-t u-w x-z 2 3 4 5 6 7 8 9

24 Ex. : Cadmus .C3(2) .C3(5) Campbell Cannon .C3(6)

25 Assignment : ให้นักศึกษา นำชื่อเพื่อนนักศึกษามาเขียนเป็นภาษาอังกฤษ
ให้นักศึกษา นำชื่อเพื่อนนักศึกษามาเขียนเป็นภาษาอังกฤษ จากนั้นให้ระบุเลข Cutter ของชื่อเหล่านั้น

26 ตัวอย่างของเลขเรียกหนังสือในระบบ L.C.
Mc Kinley C. Olson เขียนหนังสือ Unacceptable Risk : the Nuclear Power Controversy TK 1343 .O47 Technology

27 ผู้แต่งคนเดียวกัน เขียนหนังสือชื่อเรื่องเดียวกัน
ผู้แต่งคนเดียวกัน เขียนหนังสือชื่อเรื่องเดียวกัน แต่พิมพ์คนละครั้ง ให้ระบุปีต่อจากเลขเรียกหนังสือด้วย EX. : Paul F. Ploutz เขียนหนังสือ The Metric System : Content and Methods พิมพ์ครั้งที่ 1 คศ พิมพ์ครั้งที่ 2 คศ.1977 QC 93 .P57 1977 QC 93 .P57

28 Summer แต่งหนังสือ Retail Trade of Thailand
บางครั้ง จะมีเลขคัตเตอร์ 2 ครั้ง เช่น Joh P. Summer แต่งหนังสือ Retail Trade of Thailand HF .T5S6 .T5 หมายถึง ประเทศไทย .S6 หมายถึง Sommer

29 หรือ John Adams แต่งหนังสือเรื่อง Training
Of Staffs HF .T7A3 .T7 หมายถึง Training .A3 หมายถึง Adams


ดาวน์โหลด ppt ระบบ L.C มีการแบ่งระบบตามขั้นตอน ดังต่อไปนี้

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google