งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

1 ทิศทางการวิจัยและพัฒนา : ความท้าทายและการ ปรับเปลี่ยน ประยูร เชี่ยววัฒนา วันที่ 12 ตุลาคม 2548.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "1 ทิศทางการวิจัยและพัฒนา : ความท้าทายและการ ปรับเปลี่ยน ประยูร เชี่ยววัฒนา วันที่ 12 ตุลาคม 2548."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 1 ทิศทางการวิจัยและพัฒนา : ความท้าทายและการ ปรับเปลี่ยน ประยูร เชี่ยววัฒนา วันที่ 12 ตุลาคม 2548

2 2 ประเด็น  การวิจัยและพัฒนา : ความท้าทาย และอุปสรรค  จากหิ้งไปสู่ห้าง : กลไกที่จำเป็นและ สำคัญ  สวทช.: ทิศทางการวิจัยและพัฒนา

3 3 การวิจัยและพัฒนา : ความท้าทาย และอุปสรรค

4 4 ลักษณะของงานวิจัยและพัฒนา  โอกาสและความเสี่ยง  ต้นทุนและ ความจำกัดของ ทรัพยากร  กระบวนการที่ซับซ้อน จาก ห้องปฏิบัติการ กระทั่งสู่ ตลาด

5 5 โอกาส : MIT’S Technology Transfer Experience  Since MIT was founded in 1861  Graduates and faculty have: Started 4000 companies Employing 1,100,000 With sales of $230 billion/yr If a nation = 24 th largest country in the world Bank of Boston study –1997

6 6 Research $25.7 billion Discovery 11,607 disclosures 1 per $2.2 million Intellectual Assets 5339 new patent applications 1 per $4.8 million Transfer for Commercialization 3687 licenses and options 344 company starts 1999 AUTM Survey Jim Severson, NASULGC Annual Meeting, 2000

7 7 Terrence Feuerborn, Former Executive Director University of California System, Office of Tech Transfer 300 inventions rejected 50 inventions not licensed 34 licenses produce license issue fees 100 patent applications filed 50 inventions licensed 15 licenses produce < $1M 1 license produces > $1M 16 licenses produce income

8 8

9 9 Federally Funded Basic Research Creates New Ideas Applied Research & Innovation Capital to Develop Ideas No Capital The Valley of Death Early Stage Funding Gap To Innovation Charles W. Wessner, Ph.D.

10 10 จากหิ้งไปสู่ห้าง : กลไกที่จำเป็น และสำคัญ

11 11 1. Problem identification 2. Proposal Development 4. Program Management 6. Finalization 3. Screening Process 5. Program Monitoring 7. Commercialization

12 12 Problem identification  Mechanism: tripartite-public- private-R&D institute  Direction : Foresight Government policy Ministerial policy Organizational top down and bottom up In-house policy research

13 13 Commercialization  IP and IP Policy  Profit sharing  User negotiation  User and researcher interfacing  Legal matters  Financial matters

14 14 Bayh/Dole Law of 1980  Option to Ownership of Government Sponsored Inventions (2 Years or 90 Days before Patent Bar Date)  If Option Exercised, Must Patent and Diligently Seek a Licensee  Must Share a Portion of Royalty Income with Inventors  Non-Exclusive Royalty-Free License to Government  Government Retains March In Rights  Preference to Small Business (under 500 employees)  U.S. Manufacture if Exclusive License in U.S.

15 15 สวทช.: ทิศทางการวิจัยและ พัฒนา

16 16 NSTDA Strategic Planning แผนกลยุทธ์ แผนที่ 4 ของ สวทช ในช่วง ปีงบประมาณ 2549-2553 มุ่งเน้นให้เป็นแผนกลยุทธ์ที่ ตอบสนองกับสถานการณ์และความ ต้องการของสังคม สอดคล้องกับนโยบายและทิศทางการ พัฒนาประเทศ เป็นไปตามแผนงานในระดับกระทรวง เป็นแผนที่สามารถนำไปปฏิบัติให้เกิด ประสิทธิผลได้จริง

17 17 นโยบาย การวางแผนกลยุทธ์ การทำงานโดยมุ่ง 6 Clusters ได้แก่ Cluster 1 : อุตสาหกรรมอาหารและการเกษตร Cluster 2 : อุตสาหกรรมการแพทย์และ สาธารณสุข Cluster 3 : อุตสาหกรรมยานยนต์และการ ขนส่ง Cluster 4 : อุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ ไมโครชิพ และอิเล็กทรอนิกส์ Cluster 5 : อุตสาหกรรมพลังงานและ สิ่งแวดล้อม Cluster 6 : อุตสาหกรรมสิ่งทอและเคมีภัณฑ์

18 18 กลุ่ม A (Strategic Sub Cluster) หมายถึง งานที่ สวทช. ตั้งเป้าหมายที่จะดำเนินการ ให้บรรลุผลอย่างเป็นรูปธรรมภายในเวลาของแผน กลยุทธ์ (5 ปี ) โดยได้ประเมินศักยภาพและ ความสามารถของ สวทช. ในการดำเนินการเพื่อให้ บรรลุเป้าหมายแล้วว่าสามารถทำได้ ( จะด้วยการ ดำเนินการเอง หรือสนับสนุน ส่งเสริม หรือแม้แต่ นำเข้าก็ตาม ) ในการดำเนินการดังกล่าวจะดำเนินการใน ลักษณะ Sub Cluster ที่สามารถระบุ Value Chain S&T Demand และ Potential NSTDA Offering ได้ชัดเจน Keyword คือ – อยู่ใน Show Room ( พร้อม ขาย )

19 19 กลุ่ม B (Industrial Cluster)(1) หมายถึง งานที่ สวทช. ดำเนินการเพื่อตอบสนอง Cluster ทั้งหก แต่เนื่องจาก Cluster เหล่านี้มีความกว้างขวาง ซึ่งก่อให้เกิดความยาก ในการระบุ S&T Demand จึงจำเป็นต้องพัฒนา sub cluster เพื่อนำเข้าสู่กลุ่ม A ในขณะที่ยังพัฒนาอยู่ก็จะในกลุ่ม B ซึ่งมี ทั้งหมด 6 Clusters หรือ 4 กลุ่มย่อย มีการบริหารในลักษณะ โปรแกรมภายใต้ Cluster

20 20 กลุ่ม B (Industrial Cluster)(2) B1,B2 - Cluster อาหารและการเกษตร การแพทย์และสาธารณสุข B3,B4 - Cluster ซอฟต์แวร์ ไมโครชิพ อิเล็กทรอนิกส์ ยานยนต์ ขนส่ง B5,B6 - Cluster พลังงานและสิ่งแวดล้อม สิ่งทอ และเคมีภัณฑ์ B7 - Cluster การวิจัยพัฒนา และถ่ายทอด เทคโนโลยีเพื่อพัฒนา ชุมชนชนบทและผู้ด้อยโอกาส Keyword คือ – In Process ( กำลังผลิต )

21 21 กลุ่ม C (Essential Program)(1) หมายถึง งานที่มีความจำเป็นและต้องดำเนินการ ทั้งนี้เพื่อเป็นฐานสำหรับความสำเร็จของงานใน อนาคตของ สวทช. รวมไปถึงงานซึ่งไม่จัดอยู่ใน Sub Cluster หรือ Cluster ใด แต่เป็นงานที่จะทำ ให้เกิดการใช้ประโยชน์สูงสุดในการบริหารจัดการ ทรัพยากรของ สวทช. มี 2 กลุ่มย่อย

22 22 กลุ่ม C (Essential Program)(2) C1 (Platform Technology) – งานวิจัย พื้นฐานสำหรับ ความสำเร็จใน อนาคต C2 (Other missions) – งานที่ทำให้ สวทช. มี ประโยชน์สูงสุด ต่อประเทศ C3 – สถาบันที่ดำเนินงานในลักษณะโครงสร้าง พื้นฐาน

23 23 กลุ่ม D (Internal Management) หมายถึง งานบริหารจัดการภายในที่เป็นงานใน ลักษณะสนับสนุน มีมิติต่างๆ ดังนี้ - มิติด้านโปรแกรม - มิติด้านพันธกิจ (RDDE, HRD, TT, INFRA & Internal Management) - มิติด้านหน่วยงานตามเทคโนโลยี (BIOTEC, MTEC, NECTEC, NANOTEC, TMC )

24 24 รอง ผพว. ผศว. ผศอ. ผศน. NECTEC implementation BIOTEC implementation MTEC implementation NANOTEC implementation TMC implementation TLO function Steering Committee Feed back Monitor &Facilitate ผศช. ผศจ.


ดาวน์โหลด ppt 1 ทิศทางการวิจัยและพัฒนา : ความท้าทายและการ ปรับเปลี่ยน ประยูร เชี่ยววัฒนา วันที่ 12 ตุลาคม 2548.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google