งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

กระบวนการสารสนเทศงานวิจัย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "กระบวนการสารสนเทศงานวิจัย"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 กระบวนการสารสนเทศงานวิจัย
พันธุ์ปิติ เปี่ยมสง่า

2 หัวข้อวันนี้ ๑๐๓๐-๑๑๑๕ ๑๑๑๕-๑๒๐๐ กระบวนการสารสนเทศงานวิจัย
การเสนอโครงการวิจัยทุนอุดหนุนวิจัย มก. ปี ๒๕๕๑ โดยระบบเว็บ ๓ พฤศจิกายน ๒๕๔๙ พันธุ์ปิติ เปี่ยมสง่า - กระบวนการสารสนเทศงานวิจัย

3 ปัญหาของสารสนเทศใน มก.
ไม่มีข้อมูลที่ทันสมัย เนื่องจาก ข้อมูลมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ไม่มีการตรวจสอบ ใช้ความเชื่อใจในความมีจรรยาบรรณ ไม่สามารถรับรองข้อมูลได้ เคยเชื่อว่าผู้ให้ข้อมูลคงให้ถูกต้อง ข้อมูลของมหาวิทยาลัย แต่มหาวิทยาลัยไม่ได้รับรอง ไม่สามารถนำข้อมูลที่มีอยู่แล้วมาใช้ใหม่ได้ ๓ พฤศจิกายน ๒๕๔๙ พันธุ์ปิติ เปี่ยมสง่า - กระบวนการสารสนเทศงานวิจัย

4 ปัญหาของสารสนเทศใน มก.
มีการใช้ข้อมูลของหน่วยงานอื่น แต่ไม่ได้เชื่อมโยงโดยตรง ข้อมูลงานวิจัย ก็ต้องใช้ข้อมูลบุคคลากร สำนักประกัน ก็ใช้ข้อมูลของ สวพ มก. มีขนาดใหญ่มาก บุคคลากร นิสิต ภาควิชา คณะ ไม่มีกระบวนการที่ชัดเจน ข้อมูลวิจัยขอที่ใคร ทุกคน วิ่งขอที่นักวิจัยทั้งหมด ๓ พฤศจิกายน ๒๕๔๙ พันธุ์ปิติ เปี่ยมสง่า - กระบวนการสารสนเทศงานวิจัย

5 ปัญหาของสารสนเทศใน มก.
หน่วยงานที่ใช้ข้อมูลมีจำนวนมาก หน่วยงานภายใน ภาควิชาต่างๆ คณะต่างๆ วิทยาเขตต่างๆ กองแผนงาน กองการเจ้าหน้าที่ สำนักทะเบียน สำนักประกัน สถาบันวิจัย กองบริการ บัณฑิตวิทยาลัย หน่วยงานภายนอก กพร สมศ สกอ สกว สวพ เวียนหนังสือ ปีละหนึ่งครั้ง เท่านั้น ผู้ให้ข้อมูลเบื่อหน่ายต่อการขอซ้ำซ้อน สวพ.ไม่ได้ข้อมูลที่ครบถ้วนและถูกต้อง ๓ พฤศจิกายน ๒๕๔๙ พันธุ์ปิติ เปี่ยมสง่า - กระบวนการสารสนเทศงานวิจัย

6 การกำหนดผู้รับผิดชอบ ใน มก.
การเงิน กองคลัง บุคคลากร กองการเจ้าหน้าที่ หลักสูตร กองบริการการศึกษา นิสิต สำนักทะเบียน Infrastructure สำนักบริการคอมพิวเตอร์ งานวิจัย สถาบันวิจัยและพัฒนา ๓ พฤศจิกายน ๒๕๔๙ พันธุ์ปิติ เปี่ยมสง่า - กระบวนการสารสนเทศงานวิจัย

7 หน้าที่ จัดกระบวนการประมวลผลข้อมูล (process)
ข้อมูลถูกต้อง ทันสมัย ไม่ซ้ำซ้อน กำหนดผู้ให้ข้อมูล (data provider) ข้อมูลเกิดขึ้นจากใคร ผู้นั้นจะต้องเป็นผู้ให้ ทวนสอบ (validate) ข้อมูล ข้อมูลทุกชิ้นต้องได้รับการตรวจสอบ รับรอง (certify) ข้อมูล การนำข้อมูลไปใช้อ้างอิงต่างๆในมหาวิทยาลัยต้องได้รับการรับรองจากหน่วยงานที่ดูแล สร้างช่องทางการเข้าถึง (access) ข้อมูล ต้องให้หน่วยงานที่ไม่ได้เป็นผู้ดูแลข้อมูลมีโอกาสใช้ข้อมูล ๓ พฤศจิกายน ๒๕๔๙ พันธุ์ปิติ เปี่ยมสง่า - กระบวนการสารสนเทศงานวิจัย

8 กรณีความสำเร็จ : ผลการเรียนนิสิต
การให้ข้อมูล อาจารย์ ให้ข้อมูลผลการเรียนเพียงครั้งเดียว การตรวจสอบ โดยสำนักทะเบียน การนำข้อมูลไปใช้ ผลการเรียนไปใช้จะต้องใช้ transcript ซึ่งได้รับการรับรองจากสำนักทะเบียน ข้อสังเกต ข้อมูลเกรดมีปีละ > ๔๐๐๐๐๐ ข้อมูลงานวิจัยปีละ < ๑๐๐๐๐ ๓ พฤศจิกายน ๒๕๔๙ พันธุ์ปิติ เปี่ยมสง่า - กระบวนการสารสนเทศงานวิจัย

9 สารสนเทศงานวิจัย ผู้ให้ข้อมูล ข้อมูล ผู้ทวนสอบและรับรองข้อมูล
นักวิจัย ข้อมูล รายละเอียดงานวิจัยทั้งหมด (โครงการ  ผลลัพธ์) ผู้ทวนสอบและรับรองข้อมูล สวพ ผู้ใช้ข้อมูล หน่วยงานทั้งภายในและภายนอก มก. ที่ต้องการข้อมูลงานวิจัย ๓ พฤศจิกายน ๒๕๔๙ พันธุ์ปิติ เปี่ยมสง่า - กระบวนการสารสนเทศงานวิจัย

10 วิสัยทัศน์ สารสนเทศงานวิจัย
ข้อมูลถูกต้อง ทันสมัย รับรองได้ สะดวก ลดภาระงานของอาจารย์ นักวิจัย เพื่อให้รู้จักตัวเอง เพื่อกำหนดทิศทาง นำไปใช้เพื่อการแข่งขันได้ ๓ พฤศจิกายน ๒๕๔๙ พันธุ์ปิติ เปี่ยมสง่า - กระบวนการสารสนเทศงานวิจัย

11 แนวคิดของสารสนเทศงานวิจัย
ผู้ให้ข้อมูล อาจารย์ นักวิจัย เป็นผู้ให้ข้อมูลที่จะต้องลงนามรับรอง ผู้แทนนักวิจัย (proxy) หน่วยงานสามารถกำหนดผู้ทำหน้าที่กรอกแทนข้อมูลแทนได้ แต่ผู้รับผิดชอบจะต้องเป็นเจ้าของข้อมูลนั้นๆ ๓ พฤศจิกายน ๒๕๔๙ พันธุ์ปิติ เปี่ยมสง่า - กระบวนการสารสนเทศงานวิจัย

12 แนวคิดของสารสนเทศงานวิจัย
กระบวนการ กระบวนการจะถูกกำกับด้วยระบบซอฟต์แวร์ เช่น การรับข้อเสนอ การส่งรายงาน ฯลฯ เอกสารกระดาษ ยังจำเป็นอยู่บางส่วน โดยเฉพาะ การลงนาม ๓ พฤศจิกายน ๒๕๔๙ พันธุ์ปิติ เปี่ยมสง่า - กระบวนการสารสนเทศงานวิจัย

13 แนวคิดของสารสนเทศงานวิจัย
การทวนสอบข้อมูล สวพ จะทวนสอบข้อมูลทุกชิ้นเพื่อที่จะรับรองความถูกต้อง การรับรองข้อมูล เมื่อข้อมูลได้รับการทวนสอบ สวพจะสามารถรับรองข้อมูลได้ ๓ พฤศจิกายน ๒๕๔๙ พันธุ์ปิติ เปี่ยมสง่า - กระบวนการสารสนเทศงานวิจัย

14 ประโยชน์ของการรับรองข้อมูล
ข้อมูลจะเป็นทางการ การพิจารณาความดีความชอบใดๆ ควรจะพิจารณาจากข้อมูลที่ผ่านการรับรองแล้วเท่านั้น ข้อมูลที่ไม่ได้รายงานไม่ควรได้รับการพิจารณา ตย.ในส่วนของสวพ ปีหน้าจะพิจารณารางวัลต่างๆจากฐานข้อมูลของสวพเท่านั้น เก็บทุกอย่างครบก็พิจารณาได้ แผนเสนอมหาวิทยาลัย การพิจารณาตำแหน่งวิชาการ จะต้องใช้ข้อมูลที่รับรองแล้วเท่านั้น ๓ พฤศจิกายน ๒๕๔๙ พันธุ์ปิติ เปี่ยมสง่า - กระบวนการสารสนเทศงานวิจัย

15 ระบบสารสนเทศงานวิจัย
ระบบบริหารโครงการวิจัย สำหรับกระบวนการทั้งหมดใน ทุนอุดหนุนวิจัย มก. จะต้องผ่านระบบนี้เท่านั้น ข้อเสนอ ผล รายงาน ครุภัณฑ์ ลูกจ้าง วิเคราะห์ ประเมินผล หาจุดแข็งจุดอ่อน ระบบผลงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ รวบรวมและสรุปผลงานต่างๆ ผลงานตีพิมพ์ สิทธิบัตร ลิขสิทธิ์ กระจายข้อมูล ให้หน่วยงานต่างๆที่ต้องการนำข้อมูลไปวิเคราะห์ ๓ พฤศจิกายน ๒๕๔๙ พันธุ์ปิติ เปี่ยมสง่า - กระบวนการสารสนเทศงานวิจัย

16 ระบบผลงานวิจัยและงานสร้างสรรค์
โครงการวิจัย ทุนภายใน/นอก มก. ผลงาน ผลงานตีพิมพ์ในสารสาร การประชุมวิชาการ ทรัพย์สินทางปัญญา การนำไปใช้ประโยชน์ รางวัลนักวิจัย รางวัลผลงานวิจัย/สิ่งประดิษฐ์ รางวัลจากเสนอในการประชุมวิชาการ รายงานสรุป นักวิจัย ภาควิชา คณะ ๓ พฤศจิกายน ๒๕๔๙ พันธุ์ปิติ เปี่ยมสง่า - กระบวนการสารสนเทศงานวิจัย

17 แนวคิด สร้างความสัมพันธ์กับตัวบุคคลและหน่วยงาน
ข้อมูลทางการต่างๆจะป้อนให้โดย สวพ นักวิจัยไม่ต้องป้อน ข้อมูลจากฐานข้อมูลมาตรฐาน เช่น ISI, Scopus, ScienceDirect, ฯลฯ ข้อมูลที่นักวิจัยเองป้อนมาจะต้องส่งหลักฐาน เช่น บทความจะต้องส่งมาพร้อม หลักฐานการตอบรับ ข้อมูลที่ไม่ผ่านการทวนสอบ สวพ จะไม่รับรองข้อมูลนั้น ๓ พฤศจิกายน ๒๕๔๙ พันธุ์ปิติ เปี่ยมสง่า - กระบวนการสารสนเทศงานวิจัย

18 แนวคิด ข้อมูลต้องสะดวกในการนำไปใช้งานอื่น เช่น
สร้างระเบียนรายการขอตำแหน่งวิชาการ ส่งข้อมูลต่อให้หน่วยงานอื่น เช่น สภาวิจัย ทำรายงานเบื้องต้นให้หน่วยงานต่างๆใน มก. นำไปใช้เพื่อรายงานต่อ หน่วยงานภายนอก ภาควิชา คณะ สำนักประกัน ฯลฯ ๓ พฤศจิกายน ๒๕๔๙ พันธุ์ปิติ เปี่ยมสง่า - กระบวนการสารสนเทศงานวิจัย

19 การให้ความร่วมมือกับระบบของ สวพ
ข้อมูลจะถูกต้องที่สุด มีเก็บอยู่เพียงที่เดียว ไม่ซ้ำซ้อน เก็บโดยผู้ที่มีหน้าที่รับผิดชอบตามภาระหน้าที่ ให้การรับรอง เพื่อนำไปใช้ได้ ลดการขอข้อมูลจากหน่วยงานที่ไม่ได้รับผิดชอบโดยตรง ให้หน่วยงานนั้นมาขอที่ สวพ ลดภาระให้แก่ทุกหน่วยงานที่ต้องทำข้อมูลในส่วนนี้ สวพ จะรับผิดชอบทั้งหมด ๓ พฤศจิกายน ๒๕๔๙ พันธุ์ปิติ เปี่ยมสง่า - กระบวนการสารสนเทศงานวิจัย

20 กระบวนการสารสนเทศงานวิจัย
กระบวนการตัวอย่างที่ประสบความสำเร็จมีอยู่แล้ว เกรดนิสิต ที่สำเร็จ เพราะ เราเห็นว่าเป็นเรื่องสำคัญ ที่ผ่านมา ก็คิดว่าข้อมูลงานวิจัยสำคัญ แต่ไม่เคยคิดเรื่องกระบวนการรวบรวม อนาคต เชื่อว่า กระบวนการข้อมูลใน มก. จะเป็นระบบในทุกๆเรื่อง ๓ พฤศจิกายน ๒๕๔๙ พันธุ์ปิติ เปี่ยมสง่า - กระบวนการสารสนเทศงานวิจัย

21 ๓ พฤศจิกายน ๒๕๔๙ พันธุ์ปิติ เปี่ยมสง่า - กระบวนการสารสนเทศงานวิจัย

22 สำหรับผู้ขอทุนปี ๕๑ ๓ เมนู สร้างใบนำส่งข้อเสนอโครงการ
แก้ไข (ถ้าต้องการ) พิมพ์ใบนำส่ง ๓ พฤศจิกายน ๒๕๔๙ พันธุ์ปิติ เปี่ยมสง่า - กระบวนการสารสนเทศงานวิจัย

23 สำหรับผู้ที่ได้รับทุน ๕๐
๔ เมนู แบบแสดงรายละเอียด สัญญารับทุน ขออนุมัติเบิกเงิน รายงานความก้าวหน้า ๓ พฤศจิกายน ๒๕๔๙ พันธุ์ปิติ เปี่ยมสง่า - กระบวนการสารสนเทศงานวิจัย

24 ข้อมูลเจ้าของโครงการวิจัย
๓ พฤศจิกายน ๒๕๔๙ พันธุ์ปิติ เปี่ยมสง่า - กระบวนการสารสนเทศงานวิจัย

25 รายการโครงการวิจัย ๓ พฤศจิกายน ๒๕๔๙
พันธุ์ปิติ เปี่ยมสง่า - กระบวนการสารสนเทศงานวิจัย

26 ส่งแบบนำส่งข้อเสนอ ๓ พฤศจิกายน ๒๕๔๙
พันธุ์ปิติ เปี่ยมสง่า - กระบวนการสารสนเทศงานวิจัย

27 โครงการชุด/เดี่ยว โครงการต่อเนื่อง/ใหม่
โครงการชุด/เดี่ยว โครงการต่อเนื่อง/ใหม่ ส่งแบบนำส่งข้อเสนอการวิจัย โครงการวิจัยเดี่ยว แผนงานวิจัย หรือชุดโครงการวิจัย ๓ พฤศจิกายน ๒๕๔๙ พันธุ์ปิติ เปี่ยมสง่า - กระบวนการสารสนเทศงานวิจัย

28 ผู้ร่วมโครงการ ภายใน/ภายนอก
ข้อมูลผู้ร่วมโครงการ ผู้ร่วมโครงการภายใน มก. ผู้ร่วมโครงการภายนอก มก. ๓ พฤศจิกายน ๒๕๔๙ พันธุ์ปิติ เปี่ยมสง่า - กระบวนการสารสนเทศงานวิจัย

29 แก้ไข ๓ พฤศจิกายน ๒๕๔๙ พันธุ์ปิติ เปี่ยมสง่า - กระบวนการสารสนเทศงานวิจัย

30 พิมพ์ใบนำส่ง ๓ พฤศจิกายน ๒๕๔๙
พันธุ์ปิติ เปี่ยมสง่า - กระบวนการสารสนเทศงานวิจัย

31 ใบนำส่ง ๓ พฤศจิกายน ๒๕๔๙ พันธุ์ปิติ เปี่ยมสง่า - กระบวนการสารสนเทศงานวิจัย

32 ระบบผลงานวิจัยและงานสร้างสรรค์
๓ พฤศจิกายน ๒๕๔๙ พันธุ์ปิติ เปี่ยมสง่า - กระบวนการสารสนเทศงานวิจัย

33 ระเบียนประวัติโครงการวิจัย
รายชื่อโครงการที่มีสถานภาพเป็นหัวหน้าโครงการ รายชื่อโครงการที่มีสถานภาพเป็นผู้ร่วมโครงการ ๓ พฤศจิกายน ๒๕๔๙ พันธุ์ปิติ เปี่ยมสง่า - กระบวนการสารสนเทศงานวิจัย

34 การสร้างรายงานอัตโนมัติ
๓ พฤศจิกายน ๒๕๔๙ พันธุ์ปิติ เปี่ยมสง่า - กระบวนการสารสนเทศงานวิจัย


ดาวน์โหลด ppt กระบวนการสารสนเทศงานวิจัย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google