งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การประชุมเสวนาวิชาการ เรื่อง วิกฤติพืชอาหาร บนกระแสพลังงานทางเลือก

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การประชุมเสวนาวิชาการ เรื่อง วิกฤติพืชอาหาร บนกระแสพลังงานทางเลือก"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การประชุมเสวนาวิชาการ เรื่อง วิกฤติพืชอาหาร บนกระแสพลังงานทางเลือก
15 มิถุนายน 2554 ณ โรงแรมอิมพีเรียล ควีนส์ปาร์ค โดย ประวิทย์ ประกฤตศรี กรรมการผู้จัดการ บริษัท เพโทรกรีน จำกัด กลุ่มน้ำตาลมิตรผล Strictly Confidential, Internal Use Only

2 เนื้อหาในการนำเสนอ บริษัทในกลุ่มน้ำตาลมิตรผล
ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศทั่วโลก สถานการณ์ปริมาณน้ำมันดิบสำรองทั่วโลก เปรียบเทียบการนำเข้าน้ำมันเชื้อเพลิง แนวคิดเชิงกลยุทธ์ในการสร้างความมั่นคงทางอาหารและพลังงานอย่างยั่งยืนของภาครัฐ แนวโน้มการส่งออกของผลผลิตทางการเกษตรในประเทศไทย กรณีศึกษา ความสำเร็จในการพัฒนาของประเทศบราซิล คาดการณ์แนวโน้มผลผลิตภายใต้อิทธิพลการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศในอนาคต

3 กลุ่ม มิตรผล เราจะเป็นบริษัทชั้นนำระดับโลกในอุตสาหกรรมน้ำตาลและชีวพลังงาน โดยการใช้นวัตกรรมทางเทคโนโลยีและการจัดการ มุ่งสู่ความเป็นเลิศ เชื่อในคุณค่าของคน ตั้งอยู่ในความเป็นธรรม รับผิดชอบต่อสังคม

4 Business Units Five business categories of Mitr Phol Group are consisted of: Sugar Industry Particle Board Industry Bio-Energy Industry Ethanol Industry Warehouse and Logistics Industry

5 Petro Green Co., Ltd. Establish : 8 July 2005
Product : Anhydrous Bioethanol 99.8% 800,000 LPD or 260 Mil Lit per year Technology : MAGUIN SAS. France Address : 3rd Floor Ploenchit Center Building Sukhumvit Rd., Klongtoey Bangkok Thailand 1st Plant in 2007 Phukieo, Chaiyaphum 2nd Plant in 2007 Kuchinarai, Kalasin

6 Petro Green 3rd & 4th Plant
3rd Plant in 2008 Maesod Clean Energy Maesod, Tak 4th Plant in 2009 Danchang, Suphunburi

7 Petro Green Co., Ltd. Petro Green Co., Ltd.

8 เหตุการณ์การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศอย่างฉับพลัน
พายุไซโคลนพัดถล่มออสเตรเลียเกิดน้ำท่วมฉับพลัน ช่วงปลายปี 53 และ ต้นเดือน ก.พ. 54 เหตุการณ์พายุหิมะตกหนักในยุโรป ช่วงปลายปี 53 และหลายประเทศมีหิมะตกครั้งแรก เหตุการณ์น้ำท่วมหนักทั่วประเทศในปีที่ผ่านมา Strictly Confidential, Internal Use Only

9 การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
ผลกระทบจากลานินญา การเปลี่ยนแปลงจากเอลนินโญเป็นลานินญา คาดว่าจะก่อให้เกิดความเสียหายทางเศรษฐกิจในหลายประเทศ

10 ผลกระทบของลานินญา กับเอลนินโญในไทย
การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ผลกระทบของลานินญา กับเอลนินโญในไทย ความถี่ของการเกิดลานินญา และเอลนินโญ 2552 2549 2544 2539 2534 2529 2524 2519 2514 2509 2504 2499 2494 ลานินญา เอลนินโญ ฝนเริ่มตกช้าไป 1 เดือน ปี 2553 ปริมาณฝนตกที่ รง.มิตรผล (มม.) เส้นสีเขียวปี 52 เทียบกับเส้นปี 53 จะเห็นว่า ยอดของ Curve จะ Late ไปหนึ่งเดือน สำหรับปี 2554 ช่วงฝนตกมีแนวโน้มเลื่อนออกไปจากเดิมอีก ทำให้เห็นว่าสภาพภูมิอากาศเปลี่ยนแปลงไปมาก จนไม่อาจคาดการณ์ได้ รวมทั้งการคาดการณ์พืชผลผลิตทางการเกษตร ปี 2554 ปี 2552 มค. กพ. มีค. เมย. พค. มิย. กค. สค. กย. ตค. พย. ธค.

11 ผลกระทบของลานินญา กับเอลนินโญในไทย
การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ผลกระทบของลานินญา กับเอลนินโญในไทย ตั้งแต่ปี 2494 พบว่าอุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ยมีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้น ในขณะที่ปริมาณฝนและจำนวนวันฝนตกมีแนวโน้มลดลง ปริมาณฝนตกเฉลี่ยมีแนวโน้มลดลง สอดคล้องกับจำนวนวันที่มีฝนตกมีแนวโน้มลดลงเช่นกัน ปริมาณฝนที่ต่างจากค่าปกติ (มม.) ปี พ.ศ. อุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ยที่ต่างจากค่าปกติ (เซลเซียส) อุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ย มีแนวโน้มที่จะเพิ่มขึ้น ที่มา กรมอุตุนิยมวิทยา ปี พ.ศ.

12 พลังงานทดแทนจากผลิตผลทางการเกษตร ทำให้ CO2 หมุนเวียน

13 ประมาณการปริมาณน้ำมันดิบสำรองคงเหลือทั่วโลก
THE GROWING GAP Regular Conventional Oil: Discovery vs. Production Billion Barrels of Oil Per Year (Gb/a) ที่มา: BP’s Statistical Review of World Energy จากการสำรวจน้ำมันดิบสำรองคงเหลือทั่วโลก ปัจจุบันมีปริมาณ 1,333 ล้านบาเรล ซึ่งเทียบกับปริมาณความต้องการใช้น้ำมันดิบ ณ ปัจจุบัน สามารถใช้ได้อีกประมาณ 40 ปีข้างหน้า

14 เปรียบเทียบราคาน้ำมันดิบในตลาดโลก
ราคาน้ำมันดิบในตลาดโลกปัจจุบันมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น ใกล้เคียงกับปี 2008 (ซึ่งเป็นปีที่ราคาน้ำมันดิบ ทำสถิติสูงที่สุด)

15

16

17 เปรียบเทียบมูลค่าการนำเข้าน้ำมันเชื้อเพลิง
บริษัทฯ มีกำลังการผลิตเอทานอลจาก กากน้ำตาลหรือโมลาส ซึ่งถือเป็นผลพลอยได้จากการผลิตน้ำตาล (BY PRODUCT) เท่ากับ 800,000 ลิตรต่อวัน เทียบเท่าน้ำมันเบนซินเท่ากับ 568,000 ลิตรต่อวัน โดยราคาเบนซินหน้าโรงกลั่นของไทยอยู่ที่ประมาณ 24 บาทต่อลิตร (สนพ. 11 มิถุนายน 2554) ณ ราคาน้ำมันดิบประมาณ 100 usd ดังนั้น การผลิตเอทานอลของบริษัทฯ สามารถทดแทนการนำเข้าน้ำมันเบนซินได้มูลค่าประมาณ 4,498 ล้านบาทต่อปี ทั้งยังเป็นผลให้ราคาโมลาสในตลาดสูงขึ้น และทำให้ราคาผลผลิตอ้อยในตลาดสูงขึ้นด้วยเช่นกัน กำลังการผลิตเอทานอล 800,000 ลิตรต่อวัน เทียบเท่าน้ำมันเบนซิน = 800,000*0.71 (คำนวณจากค่าความร้อนเอทานอลเทียบกับเบนซินที่ 71%) = 568,000 ลิตรต่อวัน ดังนั้น สามารถทดแทนน้ำมันเบนซินมูลค่า 568,000*24*330 = 4,498 ล้านบาทต่อปี

18 ประเทศไทยกับปัญหาวิกฤติอาหารและพลังงาน
ปี 51ไทยนำเข้าเชื้อเพลิงจากต่างประเทศ กว่า 1.2 ล้านล้านบาท ความต้องการใช้น้ำมันเพิ่มสูงขึ้น การค้นพบแหล่งพลังงานใหม่ๆ น้อยลง ความต้องการการผลิตพืชพลังงานที่เพิ่มขึ้น การผลิตอาหารให้เพียงพอต่อการบริโภค ข้อจำกัดเรื่องพื้นที่ผลิตพืชอาหารและพลังงาน ความมั่นคงทางอาหาร วิกฤติพลังงาน แนวคิดเชิงกลยุทธ์ สำหรับประเทศไทยในการสร้าง ความมั่นคงทางอาหารและพลังงานอย่างยั่งยืน โดย คณะกรรมการธุรกิจเกษตรและอาหาร คณะกรรมการพลังงาน คณะกรรมการทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม หอการค้าแห่งประเทศไทย ข้อมูลจาก สนพ. ปี 52 ไทยนำเข้าเชื้อเพลิงจากต่างประเทศ 623,024 ล้านบาท ปี 53 ไทยนำเข้าเชื้อเพลิงจากต่างประเทศ 751,496 ล้านบาท

19 นโยบาย และแนวทางในการดำเนินการ
นโยบายการดำเนินการ นโยบายที่ 1 กำหนดเป้าหมายลดการพึ่งพาการนำเข้าพลังงานระยะยาว อย่างชัดเจน นโยบายที่ 2 กำหนดนโยบายและสร้างศักยภาพในการสร้างสมดุลระหว่างพืชอาหารและพืชพลังงานทุกชนิดให้ชัดเจน แนวทางการดำเนินการ แนวทางที่ 1 การจัดสรรการใช้ที่ดินทางการเกษตรอย่างเหมาะสม การบริหารจัดการการผลิตอย่างครบวงจรและยั่งยืน แบบจำลอง ข้าวและปาล์ม แนวทางที่ 2

20 แผนพัฒนาพลังงานทดแทน 15 ปี

21

22

23 World population will increase to 9 Bln in 40 years

24 Food products marketing

25 แนวโน้มการส่งออกของผลิตผลทางการเกษตรในไทย
2553 มค.-เมย. 2554 มค.-เมย. ที่มา : ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สำนักงานปลัดกระทรวงพาณิชย์ โดยความร่วมมือจากกรมศุลกากร 2553 มค.-เมย. 2554 มค.-เมย. ที่มา : ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สำนักงานปลัดกระทรวงพาณิชย์ โดยความร่วมมือจากกรมศุลกากร

26 สถานการณ์ของการผลิต การบริโภค และการค้าข้าวของโลก

27 ปัญหาในระบบเศรษฐกิจการผลิตข้าว
การปลูก ขาดแคลนน้ำ/น้ำท่วม ขาดแคลนเมล็ดพันธุ์ที่ดี ขาดแคลนแรงงาน ขาดความรู้ในการบริหารจัดการการผลิต มีข้อจำกัดในการใช้ เทคโนโลยี ขาดเงินทุน การสูญเสียในกระบวนการผลิต การเก็บเกี่ยว การแปรรูป ต้นทุนในการขนส่งที่เพิ่มขึ้น การตลาด ความไม่เสถียรของราคาพืชผล

28 แนวโน้มราคาส่งออกข้าวไทย

29

30 Food price always follow oil price

31 เชื้อเพลิงเอทานอลจากผลิตผลทางการเกษตร
วัตถุดิบ ปริมาณผลผลิตเฉลี่ย บริโภคในประเทศ ส่งออก 2551 – 2554 30% 70%  (ล้านตัน/ปี) อ้อย 80 * 25 55 มันสำปะหลัง 27.6 9.3 18.3 โมลาส 4 ล้านตัน = 1,000 ล้านลิตร

32 ความสำเร็จในการพัฒนาของประเทศบราซิล
Brazilian Success Story 1975 นโยบาย แอลกอฮอล์ แห่งชาติ (Proalcool) รักษาระดับราคา น้ำตาล บริษัท เพโทรบาส – รับซื้อ เอทานอล เพื่อ ผสมในน้ำมัน ในปี (1975) 1979 กลุมโอเปค รวมตัวกันขึ้นราคาน้ำมัน สนับสนุน นโยบาย พลังงาน การสนับสนุน จากภาครัฐ ให้มี ปั๊มเอทานอล 100% กำหนดราคา น้ำมันเบนซิน 59% ให้สินเชื่อดอกเบี้ยต่ำ กับผู้ผลิตเอทานอล สนันสนุนให้มีการผลิตรถยนต์ ที่ใช้เอทานอล 100% (E100) 1989 – 2003 วิกฤต เอทานอล 2003 เริ่มใช้รถยนต์ FFV to ใน ตลาดบราซิล ตลาดเอทานอล เติบโต อย่างยั่งยืน

33 Brazilian Success Story
Brazil ethanol crisis - sugar price increased - oil price decreased - lack of ethanol - E100-only vehicles completely dead FFV introduced (2003) - ethanol retrieval - re-growth and succeed - FFV = success key

34 ปัจจุบันยอดขายรถยนต์ FFV ยังคงเพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง
Brazilian Success Story Monthly FFV sales ปัจจุบันยอดขายรถยนต์ FFV ยังคงเพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยสัดส่วนยอดจำหน่าย FFV สูงกว่า 80% ของยอดจำหน่ายรถยนต์เบนซิน

35

36 www.mitrphol.com www.petrogreen.co.th
Thank You


ดาวน์โหลด ppt การประชุมเสวนาวิชาการ เรื่อง วิกฤติพืชอาหาร บนกระแสพลังงานทางเลือก

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google