งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ. ศ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ. ศ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ ส่วนราชการระดับจังหวัด PMQA เอกสารประกอบการจัดคลินิกให้คำปรึกษา การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ สำหรับส่วนราชการระดับจังหวัด มีนาคม 2554

2 TQM : Framework PMQA Model
2. การวางแผน เชิงยุทธศาสตร์ 5. การมุ่งเน้น ทรัพยากรบุคคล 1. การนำองค์การ 7. ผลลัพธ์ การดำเนินการ 3. การให้ความสำคัญ กับผู้รับบริการและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 6. การจัดการ กระบวนการ 4. การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ 2

3 เป้าหมายการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
รางวัลคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ เข้าสู่การสมัครขอรับรางวัล PMQA รางวัลคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐรายหมวด พัฒนาสู่ความโดดเด่นรายหมวด เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับก้าวหน้า (Progressive Level) 100 ผ่านการรับรองเกณฑ์ฯ 90 80 70 60 เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (Fundamental Level) 50 40 30 20 10 หมวด 1 หมวด 2 หมวด 3 หมวด 4 หมวด 5 หมวด 6 หมวด 7 ร้อยละของการ ผ่านเกณฑ์

4 Roadmap การพัฒนาองค์การ
2552 2553 2554 1 5 2 กรมด้านบริการ 3 6 4 เน้นความสำคัญกับผู้รับบริการ โดยออกแบบกระบวนงานและพัฒนาบุคลากรให้สามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 1 4 3 กรมด้านนโยบาย 2 6 5 เน้นความสำคัญของยุทธศาสตร์และการนำไปปฏิบัติ โดยมีระบบการวัดผลการดำเนินการที่เป็นระบบ 1 2 5 จังหวัด 4 3 6 เน้นความสำคัญของฐานข้อมูลในการผลักดันยุทธศาสตร์ภายใต้ระบบการนำองค์กรที่มีประสิทธิภาพ โดยยึดประชาชนเป็นศูนย์กลาง 1 3 2 Progressive Level สถาบันอุดมศึกษา 6 5 4 เน้นความสำคัญของการกำหนดทิศทางองค์กรที่ชัดเจน และการพัฒนาบุคลากรเพื่อเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง

5 การกำหนดตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพ
การบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 ตัวชี้วัด น้ำหนัก (ร้อยละ) 11.1 ร้อยละของการผ่านเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน 8 11.2 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายความสำเร็จของผลลัพธ์การดำเนินการ (ผลลัพธ์ของกระบวนการ) ของจังหวัดตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (หมวด 7) 6 11.3 ระดับความสำเร็จของการประเมินองค์การด้วยตนเองตามแนวทางการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน รวม 20

6 เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด PMQA 54
ตัวชี้วัดที่ 11.1 ร้อยละของการผ่านเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน ตัวชี้วัด น้ำหนัก (ร้อยละ) หมวด 5 หมวด 6 11.1 ร้อยละของการผ่านเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (วัดกระบวนการในการดำเนินการพัฒนาองค์การในหมวดที่ดำเนินการปีงบประมาณ พ.ศ. 2554) 4 รวม 8 เกณฑ์การให้คะแนน : วัดความสำเร็จของกระบวนการผ่านเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐานในหมวดที่ดำเนินการ โดยเกณฑ์การให้คะแนนแบ่งออกเป็นดังนี้ การประเมินผล น้ำหนัก (ร้อยละ) เกณฑ์การให้คะแนน 1 2 3 4 5 ร้อยละของการผ่านเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน 60 70 80 90 100

7 เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด PMQA 54
ตัวชี้วัดที่ ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายความสำเร็จของผลลัพธ์การดำเนินการ (ผลลัพธ์ของกระบวนการ) ของส่วนราชการตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (หมวด 7) ส่วนราชการเลือกตัวชี้วัดผลลัพธ์หมวด 1 – 6 ซึ่งเป็นตัวชี้วัดแนะนำของสำนักงาน ก.พ.ร. จำนวนหมวดละ 1 ตัวชี้วัด โดยแต่ละตัวชี้วัดมีค่าน้ำหนักคะแนนเท่ากันทุกตัวชี้วัด และผลรวมของน้ำหนักของทุกตัวชี้วัดรวมกันเท่ากับ 1 (รายละเอียดตัวชี้วัดผลลัพธ์ดังกล่าวปรากฏในภาคผนวก ข) ทั้งนี้ ให้ส่วนราชการแจ้งรายชื่อตัวชี้วัดที่เลือกดังกล่าวมาพร้อมกับการรายงานผลตามคำรับรองการปฏิบัติราชการรอบ 6 เดือน ตามแบบฟอร์มที่ 1 ตารางและสูตรการคำนวณ : หมายเหตุ: เกณฑ์การให้คะแนนจะแตกต่างกันในแต่ละตัวชี้วัด โดยมีรายละเอียดตามภาคผนวก ข ตัวชี้วัด (i) น้ำหนัก(Wi) เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับร้อยละ ของผลสำเร็จตามเป้าหมายของตัวชี้วัด คะแนนที่ได้ (SMi) คะแนน ถ่วงน้ำหนัก (Wi x SMi) 1 2 3 4 5 RM1 W1 SM1 (W1 x SM1) RM2 W2 SM2 (W2 x SM2) . RMIi Wi SMi (Wi x SMi)  Wi = 1 ผลรวมคะแนนถ่วงน้ำหนัก  (Wi x SMi)

8 เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด PMQA 54
ตัวชี้วัดที่ ระดับความสำเร็จของการประเมินองค์การด้วยตนเองตามแนวทางการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน การประเมินผล น้ำหนัก (ร้อยละ) เกณฑ์การให้คะแนน 1 2 3 4 5 ระดับความสำเร็จของการประเมินองค์การด้วยตนเองตามแนวทางการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน 6 การประเมินองค์การด้วยตนเองนั้น ให้ส่วนราชการดำเนินการ ดังนี้ 1. จัดทำลักษณะสำคัญขององค์กร 2. ประเมินองค์การด้วยตนเองหมวด 1 – 7 ตามโปรแกรมตรวจประเมิน FL 3. ประเมินองค์การด้วยตนเอง เพื่อผ่านการรับรองเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ระดับพื้นฐาน ตามโปรแกรม Self Certify FL

9 เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด PMQA 54
ตัวชี้วัดที่ ระดับความสำเร็จของการประเมินองค์การด้วยตนเองตามแนวทางการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน เกณฑ์การให้คะแนน : กำหนดเป็นระดับขั้นของความสำเร็จ (Milestone) แบ่งเกณฑ์การให้คะแนนเป็น 5 ระดับ พิจารณาจากความก้าวหน้าของขั้นตอนการดำเนินงานตามเป้าหมายแต่ละระดับ ดังนี้ ระดับคะแนน เกณฑ์การให้คะแนน 1 จัดทำลักษณะสำคัญขององค์กรได้ครบถ้วน 2 ประเมินองค์การด้วยตนเองตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (FL) ได้ครบถ้วน 3 ประเมินองค์การด้วยตนเอง เพื่อผ่านการรับรองการผ่านเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน ตามโปรแกรม Self Certify FL ได้ครบถ้วนไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ตามประเด็นการตรวจรับรอง 4 ประเมินองค์การด้วยตนเอง เพื่อผ่านการรับรองการผ่านเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน ตามโปรแกรม Self Certify FL ได้ครบถ้วนไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 ตามประเด็นการตรวจรับรอง 5 ประเมินองค์การด้วยตนเอง เพื่อผ่านการรับรองการผ่านเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน ตามโปรแกรม Self Certify FL ได้ครบถ้วนไม่น้อยกว่าร้อยละ 100 ตามประเด็นการตรวจรับรอง

10 การสนับสนุนจากสำนักงาน ก.พ.ร.
ชุดเครื่องมือการพัฒนาองค์การ หมวด 1 – 7 (Toolkits) คลินิกให้คำปรึกษารายกระทรวง ในกรณีที่ส่วนราชการแจ้งความประสงค์ โดยจะจัดให้กระทรวงละ 1 ครั้ง ให้คำปรึกษาผ่านห้องสนทนาระบบออนไลน์ (PMQA Chat Room) ที่ เว็บไซต์ วันจันทร์ ถึง พฤหัส – น. PMQA e-Learning เว็บไซต์ ติดตามความเคลื่อนไหวและข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับ PMQA จากเว็บไซต์ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ เอกสารและสื่อ ปี 2554

11 เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ระดับพื้นฐาน (Fundamental Level)

12 องค์ประกอบเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ในระดับพื้นฐาน (Fundamental Level)
ส่วนที่ 2 คำอธิบายแนวทางดำเนินการ ส่วนที่ 3 หลักเกณฑ์การพิจารณาการดำเนินการที่ครบถ้วนสมบูรณ์เพื่อให้ผ่านเกณฑ์ Fundamental Level

13 ตัวอย่างการประเมิน ตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (Fundamental Level)
เกณฑ์ หมวด 2 SP 6 จังหวัดต้องจัดทำรายละเอียดโครงการเพื่อใช้ในการติดตามผลการดำเนินงานให้สามารถบรรลุเป้าหมายตามแผนปฏิบัติราชการได้สำเร็จ ซึ่งประกอบด้วย ระยะเวลา ผู้รับผิดชอบ การจัดสรรทรัพยากรให้แก่แผนงานโครงการ/กิจกรรม คำอธิบาย การจัดทำรายละเอียดของแผนงาน/โครงการ เพื่อใช้ในการติดตามผลการดำเนินงานนั้น จังหวัดอาจใช้โปรแกรม Microsoft Project ในการจัดทำรายละเอียดดังกล่าว ซึ่งสามารถแสดงให้เห็นถึงรายละเอียดของแผน การดำเนินงาน แผนการใช้งบประมาณ และแผนการบริหารกำลังคน ได้อย่างครบถ้วน ทำให้การติดตามผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการต่าง ๆ มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น วิธีการประเมิน ผ่าน / ไม่ผ่าน – จะผ่านต่อเมื่อทำครบทุก bullet A - มีการจัดทำรายละเอียดของแผนงาน/โครงการ ซึ่งต้องประกอบด้วย ระยะเวลาดำเนินการในแต่ละกิจกรรม ผู้รับผิดชอบในแต่ละแผนงาน/โครงการ การจัดสรรงบประมาณ และทรัพยากรด้านอื่น ๆ D - แสดงให้เห็นถึงความสำเร็จในการดำเนินการตามรายละเอียดของแผนงาน/โครงการ ตามที่กำหนด - แสดงให้เห็นถึงมีการติดตามผลการดำเนินงานตามพัฒนาจังหวัด 4 ปี และแผนปฏิบัติราชการ ประจำปี โดยผ่านการติดตามการดำเนินงานในแต่ละแผนงาน/โครงการ

14 ลักษณะสำคัญองค์กร : จังหวัดนครปฐม
วิสัยทัศน์ เป็นแหล่งผลิตอาหารปลอดภัย สินค้าเกษตรอุตสาหกรรมเพื่อการส่งออก และการท่องเที่ยว เชิงนิเวศและเชิงสุขภาพ ค่านิยม “เดินตามรอยพระยุคลบาท ปฏิบัติราชการด้วยความเป็นธรรม” ตัวอย่าง จำนวนบุคลากร ความท้าทายเชิงยุทธศาสตร์ ทำอย่างไรจึงจะทำให้วิสัยทัศน์ของจังหวัดประสบความสำเร็จอย่างเป็นรูปธรรม และประชาชนโดยทั่วไปมีคุณภาพชีวิตที่ดี ความร่วมมือระหว่างส่วนราชการในการขับเคลื่อนไปตามพันธกิจของจังหวัดและพันธกิจของหน่วยงานได้อย่าง มีประสิทธิภาพ กระบวนการทำงานที่มีประสิทธิภาพ การสร้างเครือข่ายการทำงาน การบริการที่มีคุณภาพ เทคนิคการบริหารงานสมัยใหม่ จิตสำนึกความรับผิดชอบ มีคุณธรรม การบริหารทรัพยากรบุคคลให้มีประสิทธิภาพ บุคลากรของจังหวัดนครปฐม มีจำนวนรวม 1,680 คน แบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่ ข้าราชการ 1,346 คน ลูกจ้างประจำ/พนักงานราชการ คน ข้าราชการอายุเฉลี่ย ปี เป้าประสงค์หลัก เพิ่มมูลค่าและการส่งออกสินค้าเกษตร เกษตรอุตสาหกรรม และอุตสาหกรรม 2. เพิ่มรายได้และจำนวนนักท่องเที่ยว 3. ประชาชนมีคุณภาพชีวิตตามเกณฑ์ จปฐ. 4. สถาบันครอบครัวมีความเข้มแข็งในการดูแลคนพิการและผู้สูงอายุ ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดีตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง อนุรักษ์และฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 7. ประชาชนมีความพึงพอใจในการบริการและกระบวนการ ยุติธรรมของรัฐ กลุ่มผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ประชาชนทั่วไปที่มาติดต่อขอรับบริการ เกษตรกร หน่วยงานราชการทั่วไป ผู้นำชุมชน กลุ่มชุมชน ความต้องการและความคาดหวัง การบริการสะดวก รวดเร็ว เป็นธรรม โปร่งใส ข้อมูลถูกต้อง ทันสมัย ความชัดเจนในแนวทางการปฏิบัติ เกษตรกรได้รับการถ่ายทอดเทคโนโลยีที่ต้องการ การผลิตเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ และ ลดต้นทุน 5. ประชาชนมีสุขภาพดี

15 การจัดการกระบวนการ PMQA หมวด 6
15

16 A process is… Hammer & Champy’s (1993)
“a collection of activities that takes one or more kinds of input and creates an output that is of value to the customer.” กิจกรรมที่เชื่อมโยงกันเพื่อแปลงปัจจัยนำเข้าต่าง ๆ และสร้างให้เป็นผลผลิตที่มีคุณค่าต่อลูกค้า Wikipedia

17 A process is… Rummler & Brache (1995) Wikipedia
คือขั้นตอนต่าง ๆ ที่ถูกออกแบบมาเพื่อการผลิตสินค้าหรือบริการ ส่วนใหญ่มักเป็นกระบวนการข้ามสายงานที่ส่งผ่านระหว่างส่วนงานภายในองค์กร กระบวนการที่ทำให้เกิดสินค้าหรือบริการ ที่ส่งมอบ ให้กับลูกค้าภายนอก เรียกว่ากระบวนการหลัก แต่ยังมีกระบวนการอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการทำงานซึ่งแต่ไม่ปรากฏชัดเจนแก่ลูกค้าภายนอก และมีความสำคัญกับการจัดการ เราเรียกกระบวนการเหล่านี้ว่ากระบวนการสนับสนุน Wikipedia

18 ความสำคัญของกระบวนการ
กระบวนการเป็นหัวใจสำคัญของทุกกระบวนการ เป็นการตอบสนองพันธกิจและวิสัยทัศน์ของจังหวัด ตอบสนองความต้องการของลูกค้า ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียและ เป้าหมายขององค์กร การจัดการกระบวนการที่ดีส่งผลต่อประสิทธิภาพและ ประสิทธิผลขององค์กร

19 การจัดการกระบวนการ คือ
การระดมทรัพยากรในการดำเนินการอันได้แก่ บุคลากร วัสดุ แรงงาน และ เครื่องจักร เพื่อการทำงานให้ เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงสุด ตอบสนองต่อ วัตถุประสงค์หลักขององค์การ

20 รหัส แนวทางการดำเนินการ
หมวด 6 การจัดการกระบวนการ (Process Management) รหัส แนวทางการดำเนินการ การออกแบบกระบวนการ PM 1 จังหวัดต้องกำหนดกระบวนการที่สร้างคุณค่าจากยุทธศาสตร์ พันธกิจ และความต้องการของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย เพื่อให้บรรลุวิสัยทัศน์ของจังหวัด PM 2 จังหวัดต้องจัดทำข้อกำหนดที่สำคัญของกระบวนการที่สร้างคุณค่าจากความต้องการของผู้รับบริการ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ข้อกำหนดด้านกฎหมาย และข้อกำหนดที่สำคัญที่ช่วยวัดผลการดำเนินงาน และ/หรือปรับปรุงการดำเนินงานให้มีประสิทธิภาพและความคุ้มค่า PM 3 จังหวัดต้องออกแบบกระบวนการจากข้อกำหนดที่สำคัญใน PM 2 และนำปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ที่สำคัญ มาประกอบการออกแบบกระบวนการ เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานและปรับปรุงกระบวนการอย่างต่อเนื่อง PM 4 จังหวัดต้องมีระบบรองรับภาวะฉุกเฉินต่างๆ ที่อาจเกิดขึ้นและมีผลกระทบต่อการจัดการกระบวนการ เพื่อให้จังหวัดจะสามารถดำเนินงานได้อย่างต่อเนื่อง การจัดการและปรับปรุงกระบวนการ PM 5 จังหวัดต้องกำหนดมาตรฐานการปฏิบัติงานของกระบวนการที่สร้างคุณค่า และกระบวนการสนับสนุน โดยมีวิธีการในการนำมาตรฐานการปฏิบัติงานดังกล่าวให้บุคลากรนำไปปฏิบัติ เพื่อให้บรรลุผลตามข้อกำหนดที่สำคัญ PM 6  จังหวัดต้องมีการปรับปรุงกระบวนการที่สร้างคุณค่าและกระบวนการสนับสนุน เพื่อให้ผลการดำเนินการดีขึ้นและป้องกันไม่ให้เกิดข้อผิดพลาด การทำงานซ้ำ และความสูญเสียจากผลการดำเนินการ 20

21 การจัดการกระบวนการ สู่การปฏิบัติ
หมวด 6 กำหนดกระบวนการ การออกแบบกระบวนการ PM 1 ความต้องการผู้รับบริการ (หมวด 3) ข้อกำหนดที่สำคัญ กฎหมาย กฎ ระเบียบ (OP) PM 2 องค์ความรู้/IT ความต้องการผู้รับบริการ ออกแบบ กระบวนการ ระยะเวลา/ค่าใช้จ่าย/ผลิตภาพ PM 3 กำหนดตัวชี้วัดควบคุมกระบวนการ PM 3 เป้าหมายภารกิจ PM 4 ระบบรองรับภาวะฉุกเฉิน การจัดการกระบวนการ สู่การปฏิบัติ การจัดการกระบวนการ PM 5 PM 5 คู่มือการปฏิบัติงาน ลดค่าใช้จ่ายใน การตรวจสอบ ป้องกัน ความผิดพลาด ปรับปรุงกระบวนการ สอดคล้องตาม OP PM 6 แลกเปลี่ยนเรียนรู้ PM 6 นวัตกรรม

22 ความต้องการผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย กระบวนการสร้างคุณค่า
PM 1 จังหวัดต้องกำหนดกระบวนการที่สร้างคุณค่าจากยุทธศาสตร์ พันธกิจ และความต้องการของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย เพื่อให้บรรลุวิสัยทัศน์ของจังหวัด กระบวนการสร้างคุณค่า กระบวนการสำคัญสูงสุดใน การปฏิบัติตามภารกิจ สร้างคุณค่าให้กับผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย เกี่ยวข้องกับบุคลากร ส่วนใหญ่ มีได้หลายกระบวนการ มีลักษณะแตกต่างตาม ภารกิจขององค์กร ยุทธศาสตร์ พันธกิจ ความต้องการผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย กระบวนการสร้างคุณค่า PM๑ ต้องการให้ส่วนราชการให้นิยามว่ากระบวนการสร้างคุณค่าในหน่วยงานคืออะไร โดยในการพิจารณาว่ากระบวนการใดเป็นกระบวนการสร้างคุณค่าให้นำยุทธศาสตร์ พันธกิจ และความต้องการของผู้รับบริการมาใช้ประกอบการพิจารณา เพื่อคัดเลือกว่ากระบวนการใดเป็นกระบวนการสร้างคุณค่าของส่วนราชการ ซึ่งกระบวนการสร้างคุณค่าจะหมายถึง กระบวนการสำคัญสูงสุดในการปฏิบัติตามภารกิจ สร้างคุณค่าให้กับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย เกี่ยวข้องกับบุคลากรส่วนใหญ่ มีได้หลายกระบวนการ มีลักษณะแตกต่างตามภารกิจขององค์การ กระบวนการสร้างคุณค่าหมายถึงกระบวนการที่ส่งผลโดยตรงต่อยุทธศาสตร์ พันธกิจ และมีผู้รับบริการเป็นจำนวนมาก เมื่อใช้คำ “คุณค่า” ส่วนใหญ่นำมาหมด แต่วัตถุประสงค์คือการมุ่งเน้นจริงๆ เพื่อระดมทรัพยากร เช่น กรณีจังหวัด ยุทธศาสตร์สำคัญที่แท้จริงของจังหวัดน่านคือเรื่องการท่องเที่ยว กระบวนการสร้างคุณค่าก็คือเรื่องที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยว กระบวนการอื่นอาจต้องตัดออกเพราะไม่ใช่เรื่องที่เน้นจริงๆ ต้องการให้เห็นว่าเป็นเรื่องที่มีคุณค่าสำหรับปีนี้ แต่กลับกลายเป็นว่าส่วนราชการนำมาหมด ส่วนราชการต้องสามารถออกแบบกระบวนการได้อย่างมีประสิทธิภาพ คำถามจะถามว่ากระบวนการสร้างคุณค่าของส่วนราชการคืออะไร เช่น กระบวนการประชุม กระบวนการตรากฎหมาย การออกแบบกระบวนการ

23 ขั้นตอนการกำหนดกระบวนการที่สร้างคุณค่า
1. ระบุประเด็นสำหรับการพิจารณากระบวนการที่สำคัญ 2. การระบุกระบวนการที่ตอบสนองต่อประเด็นพิจารณา 3. การจัดกลุ่มกระบวนการที่สำคัญที่ได้ระบุไว้ 4. การจัดลำดับความสำคัญ 5. การระบุกระบวนการที่สร้างคุณค่าของจังหวัด

24 PM1 การกำหนดกระบวนการที่สร้างคุณค่า
ตัวอย่าง M1 รายได้ M2 การศึกษา M3 สุขอนามัยและสุขภาพ M4 ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน M5 ระบบเตือนภัยและป้องกันภัยพิบัติและแก้ไขปัญหาภาวะฉุกเฉิน S1 การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตด้านการเกษตร S2 การสร้างโอกาสและกระจายรายได้ S3 การพัฒนาคุณภาพคนและสังคมสู่ชุมชน เข้มแข็ง S4 การดูแลทรัพยากรธรรมชาติและรักษาคุณภาพ สิ่งแวดล้อม S5 การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี กระบวนการ หลักเกณฑ์การวิเคราะห์กระบวนการ ยุทธศาสตร์ (ค่าน้ำหนัก) พันธกิจ ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย หลักเกณฑ์อื่นๆ (ถ้ามี) ค่าคะแนนรวม ชื่อกระบวนการ S1 S2 S3 S4 S5 M1 M2 M3 M4 M5 CS1 CS2 CS3 CS4 CS5 1. กระบวนการ ถ่ายทอดความรู้ ด้านการผลิตพืช X 2. กระบวนการพัฒนา ผลิตภัณฑ์ 3. กระบวนการป้องกัน และแก้ไขปัญหายา เสพติด 4. กำหนด Zoning การเกษตร เช่น โครงสร้างส่วนราชการ กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ เป็นต้น ตาม OP ข้อ 8

25 เครื่องมือที่ใช้ในการวิเคราะห์
Value Chain by Michael Porter (1985) SIPOC Model

26 PM 2 จังหวัดต้องจัดทำข้อกำหนดที่สำคัญของกระบวนการที่สร้างคุณค่าจากความต้องการของผู้รับบริการ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ข้อกำหนดด้านกฎหมาย และข้อกำหนดที่สำคัญที่ช่วยวัดผลการดำเนินงาน และ/หรือปรับปรุงการดำเนินงานให้มีประสิทธิภาพและความคุ้มค่า “ข้อกำหนดที่สำคัญ” (Key Requirement) หมายถึง ผลลัพธ์ที่คาดหวังเมื่อสิ้นสุดกระบวนการนั้น ปัจจัยที่สำคัญ ข้อจำกัดและปัญหาในอดีต การเติบโตและโอกาสในอนาคต ปัจจัยที่อาจมีผลกระทบต่อกระบวนการ ผลกระทบต่อสังคม/สิ่งแวดล้อม ขีดความสามารถหน่วยงาน ความพร้อมของทรัพยากร มาตรฐานการควบคุม ความคล่องตัวในการปรับเปลี่ยน ก่อนอื่นต้องทำความเข้าใจเกี่ยวกับข้อกำหนดที่สำคัญกันก่อน “ข้อกำหนดที่สำคัญ” (Key Requirement) หมายถึง ผลลัพธ์ที่คาดหวังเมื่อสิ้นสุดกระบวนการนั้น เช่น จากอำนาจหน้าที่ของกรมวิชาการเกษตร กระบวนการสร้างคุณค่าอันหนึ่งอาจเป็นเรื่องการให้คำปรึกษาแนะนำเกี่ยวกับด้านการเกษตรเพื่อให้บริการการส่งออกสินค้าเกษตรที่มีคุณภาพ ข้อกำหนดที่สำคัญอาจเป็นเรื่อง การให้คำปรึกษาแนะนำที่ถูกต้อง ครบถ้วน ซึ่งข้อกำหนดที่สำคัญนี้กรมได้มาจากไหน เกณฑ์ก็กำหนดว่าส่วนราชการต้องไปค้นหาข้อกำหนดจาก ความต้องการผู้รับบริการ ความต้องการผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ข้อกำหนดด้านกฎหมาย ประสิทธิภาพของกระบวนการ ความคุ้มค่า และการลดต้นทุน นำข้อมูลเหล่านี้มาวิเคราะห์และกำหนดเป็นข้อกำหนดที่สำคัญของกระบวนการสร้างคุณค่า สำหรับความสำคัญของกำหนดที่สำคัญคือ เมื่อเราทราบข้อกำหนดที่สำคัญแล้วจะนำไปสู่การออกแบบกระบวนการอย่างไรให้บรรลุข้อกำหนดที่สำคัญ จะออกแบบกระบวนการเราอย่างไรเพื่อให้คำปรึกษาของเรามีความถูกต้องครบถ้วน หรือ เราจะมีจุดไหนเป็นจุดควบคุมกระบวนการเพื่อสุดท้ายเมื่อสิ้นสุดกระบวนการเราสามารถให้คำปรึกษาอย่างถูกต้องครบถ้วน กระบวนการติดตั้งโปรแกรม ข้อกำหนดที่สำคัญคือ ความรวดเร็ว ความผิดพลาด กระบวนการบำรุงรักษา ข้อกำหนดที่สำคัญคือ รอบระยะเวลา ความถูกต้อง ความครบถ้วน เป็นต้น ข้อกำหนดที่สำคัญ ความต้องการผู้รับบริการ ความต้องการผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ข้อกำหนดด้านกฎหมาย ประสิทธิภาพของกระบวนการ ความคุ้มค่า และการลดต้นทุน ข้อกำหนดที่สำคัญ

27 ข้อกำหนดที่สำคัญ (Key Requirement) หมายถึง
ผลลัพธ์ที่คาดหวังเมื่อสิ้นสุดกระบวนการนั้น อาทิ กระบวนการด้าน การเงิน ข้อกำหนดคือ ความถูกต้อง กระบวนการรับส่งเอกสาร ข้อกำหนดคือ ความรวดเร็ว ความถูกต้อง เอกสารไม่สูญหาย เป็นต้น ข้อกำหนดที่สำคัญ จะเป็นเงื่อนไขที่นำมาออกแบบกระบวนการเพื่อตอบสนองต่อความต้องการของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียของกระบวนการ

28 ปัจจัยสำคัญที่นำมาใช้ในการจัดทำข้อกำหนดที่สำคัญของ กระบวนการ
ความต้องการของผู้รับบริการ เช่น ความรวดเร็ว ถูกต้อง ความต้องการของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ข้อกำหนดด้านกฎหมาย เช่น มาตรฐานการตรวจสอบสินค้า การออกใบรับรองต่างๆ ประสิทธิภาพของกระบวนการ เช่น ประหยัดทรัพยากร ทันเวลา ความคุ้มค่าและการลดต้นทุน

29 ตัวชี้วัดของกระบวนการ หมายถึง
ตัวชี้วัดกระบวนการที่ดีจะต้องเป็นตัวควบคุมกระบวนการทำงาน ให้ผู้ปฏิบัติงานใช้เป็นกรอบในการปฏิบัติงานให้ได้ตามมาตรฐานงาน ที่กำหนดไว้ (ข้อกำหนดที่สำคัญ) เพื่อให้เกิดการปรับปรุงระหว่าง กระบวนการ

30 การวิเคราะห์ข้อกำหนดที่สำคัญ
ตัวอย่าง การวิเคราะห์ข้อกำหนดที่สำคัญ รายชื่อกระบวนการ ข้อกำหนดที่สำคัญจำแนกตามปัจจัยการวิเคราะห์ สรุปข้อกำหนดที่สำคัญ ความต้องการของผู้รับบริการ ความต้องการของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ข้อกำหนดด้านกฎหมาย ประสิทธิ ภาพ ความคุ้มค่า และการลดต้นทุน กระบวนการถ่ายทอดความรู้ต้านการผลิตพืช ชัดเจน ถูกต้อง ใช้ได้จริง สินค้าเกษตรมีคุณภาพ มาตรฐาน GAP ประหยัดทรัพยากร คุ้มค่า ชัดเจน ถูกต้อง ใช้ได้จริง กระบวนการส่งเสริมการพัฒนาผลิตภัณฑ์ OTOP ตรงกับความต้องการของตลาด ผลิตภัณฑ์มีคุณภาพ ลิขสิทธิ์สินค้า ทันต่อความต้องการของการตลาด ต้นทุนต่ำ ตรงกับความ ต้องการของ ตลาด

31 ตัวชี้วัดผลกระบวนการ
ตัวอย่าง PM2 ข้อกำหนดที่สำคัญและตัวชี้วัดกระบวนการที่สร้างคุณค่า กระบวนการ ข้อกำหนดที่สำคัญ ตัวชี้วัดผลกระบวนการ กระบวนการถ่ายทอดความรู้ต้านการผลิตพืช ชัดเจน ถูกต้อง ใช้ได้จริง ร้อยละขององค์ความรู้ที่นำไปถ่ายทอดมาจาก แหล่งข้อมูลที่น่าเชื่อถือ/ ผู้เชี่ยวชาญ ระดับความรู้ความเข้าใจของเกษตรกร จำนวนองค์ความรู้ที่ถ่ายทอดแล้วเกษตรได้ นำไปปฏิบัติจริง กระบวนการส่งเสริมการพัฒนาผลิตภัณฑ์ OTOP ตรงกับความต้องการของ ตลาด ร้อยละของผลิตภัณฑ์ที่ส่งเสริมที่มีการวิจัย ตลาด ร้อยละของสินค้า OTOP ที่สามารถจำหน่ายได้ ในแต่ละเดือน

32 ปัจจัยเกี่ยวข้องที่สำคัญ องค์ความรู้และ เทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลง
PM 3 จังหวัดต้องออกแบบกระบวนการจากข้อกำหนดที่สำคัญใน PM 2 และนำปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ที่สำคัญ มาประกอบการออกแบบกระบวนการ เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานและปรับปรุงกระบวนการอย่างต่อเนื่อง ปัจจัยเกี่ยวข้องที่สำคัญ องค์ความรู้และ เทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลง ขั้นตอนระยะเวลาการ ปฏิบัติงาน การควบคุมค่าใช่จ่าย ปัจจัยเรื่องประสิทธิภาพ ปัจจัยเรื่องประสิทธิผล PM 3 เมื่อทราบรายชื่อกระบวนการสร้างคุณค่า ข้อกำหนดที่สำคัญของกระบวนการแล้วก็จะนำไปสู่การออกแบบกระบวนการเพื่อให้บรรลุตามข้อกำหนดที่สำคัญ โดยการออกแบบกระบวนการต้องนำปัจจัยต่างๆ คือ องค์ความรู้และ เทคโนโลยีที่ปลี่ยนแปลง ขั้นตอนระยะเวลาการ ปฏิบัติงาน การควบคุมค่าใช่จ่าย ปัจจัยเรื่องประสิทธิภาพ ปัจจัยเรื่องประสิทธิผล มาใช้ในการออกแบบกระบวนการ ท่านต้องอธิบายได้ว่าได้นำเรื่องพวกนี้มาสู่การออกแบบกระบวนการอย่างไร

33 การออกแบบกระบวนการ หมายถึง
การออกแบบขั้นตอน อุปกรณ์ เครื่องมือ และแนวทางในการดำเนินการและวิธีการในการควบคุมกระบวนการเพื่อให้ตอบสนองต่อข้อกำหนดของการออกแบบและวัตถุประสงค์ของกระบวนการ

34 ปัจจัยที่ใช้ในการออกแบบกระบวนการ ประกอบด้วย
ข้อกำหนดที่สำคัญ องค์ความรู้ เทคโนโลยี กฎระเบียบ กฎหมาย ต้นทุน ค่าใช้จ่าย รอบเวลา ประสิทธิภาพและประสิทธิผลของกระบวนการ เป็นต้น

35 ตัวอย่าง PM3 การออกแบบกระบวนการ
กระบวนการส่งเสริมการพัฒนาผลิตภัณฑ์ OTOP ประเมินศักยภาพของชุมชน เช่น ความพร้อมด้านภูมิปัญญา ทรัพยากร ร้อยละของผลิตภัณฑ์ที่ส่งเสริมที่มีการวิจัยตลาด ศึกษาความต้องการของตลาด (วิจัยตลาด) เทคโนโลยีที่ใช้ถ่ายทอด กำหนดผลิตภัณฑ์ที่จะส่งเสริม ประสิทธิภาพขององค์ความรู้ วิเคราะห์องค์ความรู้ที่จำเป็นและกำหนดรูปแบบการส่งเสริม ร้อยละของสินค้า OTOP ที่สามารถจำหน่ายได้ในแต่ละเดือน ดำเนินการส่งเสริมด้านการผลิต และตลาด ติดตามประเมินผลการส่งเสริม สรุปผลการดำเนินการส่งเสริม

36 PM3 การออกแบบกระบวนการ
ตัวอย่าง กระบวนการส่งเสริมการท่องเที่ยว พัฒนาและปรับปรุงแหล่งท่องเที่ยวเดิม สำรวจและพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวใหม่ เชื่อมโยงแหล่งท่องเที่ยวภายในจังหวัด กลุ่มจังหวัด ภูมิภาคและประเทศเพื่อนบ้าน พัฒนาและปรับปรุง แหล่งท่องเที่ยว ศึกษาและสำรวจความต้องการของตลาดเพื่อกำหนดกลุ่มลูกค้าเป้าหมาย จัดทำแผนพัฒนากิจกรรมท่องเที่ยวให้ตรงกับความต้องการของ กลุ่มเป้าหมาย สร้างความต่อเนื่องและสม่ำเสมอในการจัด Event เพื่อให้เกิดการจดจำ พัฒนากิจกรรมเพื่อ ส่งเสริมการท่องเที่ยว ศึกษาและสำรวจความต้องการของตลาดเพื่อกำหนด กลุ่มลูกค้าเป้าหมาย กำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการออกตรามาตรฐาน ผลิตภัณฑ์ ประชาสัมพันธ์สินค้าที่ได้รับตรามาตรฐานให้เป็นที่ยอมรับ จัดหาตลาดรองรับสินค้าที่ได้รับตรามาตรฐาน ตรวจสอบและกำกับดูแล คุณภาพและมาตรฐานสินค้า พัฒนาคุณภาพ และ ระบบการจัดจำหน่าย สินค้าที่ระลึกและสินค้า ท้องถิ่น ศึกษาและสำรวจความต้องการของตลาดและ ศักยภาพปัจจุบันของสถานบริการและบริการอื่นๆ ประชาสัมพันธ์และส่งเสริมการพัฒนา ปรับปรุง สถานบริการและบริการอื่นๆ ให้ได้มาตรฐานและ ตรงตามความต้องการของตลาด พัฒนากลไกการกำกับดูแลสถานบริการและ บริการอื่นๆ ให้เป็นไปตามมาตรฐาน ปรับปรุงและพัฒนาสิ่งอำนวยความสะดวก พื้นฐานในแหล่งท่องเที่ยวให้ได้ มาตรฐาน เช่น ป้ายนำทาง สุขา เป็นต้น พัฒนาความพร้อม และ มาตรฐานสถานบริการ และบริการอื่นๆ

37 สัญลักษณ์ที่ใช้ในการเขียน Flow Chart
จุดเริ่มต้น และสิ้นสุดของกระบวนการ กิจกรรมและการปฏิบัติงาน การตัดสินใจ ทิศทาง/การเคลื่อนไหวของงาน จุดเชื่อมต่อระหว่างขั้นตอน (เช่น กรณีการเขียนกระบวนการไม่สามารถจบได้ภายใน 1 หน้า)

38 ภัยพิบัติ แผนสำรองฉุกเฉิน ภาวะฉุกเฉิน PM 4
จังหวัดต้องมีระบบรองรับภาวะฉุกเฉินต่าง ๆ ที่อาจเกิดขึ้นและมีผลกระทบต่อการจัดการกระบวนการ เพื่อให้ส่วนราชการจะสามารถดำเนินงานได้อย่างต่อเนื่อง แผนสำรองฉุกเฉิน การสื่อสารกับผู้เกี่ยวข้อง การทบทวน/ปรับปรุงแผนสำรองฉุกเฉิน ความเชื่อมโยงแผนสำรองฉุกเฉินกับพันธกิจ ระบบงานมีการเตรียมความพร้อม สถานที่ทำงานมีการเตรียม ความพร้อม ความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นกับ กระบวนการ สภาพอากาศ สาธารณูปโภค ความปลอดภัย การจลาจล ภาวะฉุกเฉินระดับท้องถิ่น/ ระดับชาติ จะเริ่มถามว่าในองค์กรใหญ่ที่มีหลายสาขาหลายที่ตั้ง มีการทำแผนสำรองฉุกเฉินไว้หรือไม่ เช่น กรณีไฟดับ กรณีโดนม็อบปิดล้อม ทำอย่างไร ต้องเล่าแบบ ADLI มีแผนที่ทุกคนรับรู้ และนำไปสู่การปฏิบัติ 1 การเริ่มดำเนินการ PM 4 ต้องเริ่มต้นจากการวิเคราะห์ว่าจะเกิดเหตุการณ์อะไรบ้างที่จะส่งผลต่อการดำเนินงานของส่วนราชการซึ่งอาจอย่างน้อยต้องประกอบด้วยเรื่อง ภัยพิบัติ และภาวะฉุกเฉินต่างๆ เช่น การจราจล มอบบุก เป็นต้น 2 เมื่อทราบแล้วต้องมาวางแผนสำรองฉุกเฉินดังกล่าว 3. ต้องมีการสื่อสารแผนไปยังผู้ที่เกี่ยวข้อง 4. ต้องมีการทบทวนและปรับปรุงแผนสำร้องฉุกเฉิน และที่สำคัญแผนสำรองภาวะฉุกเฉินต้องมีความสำพันธ์กับพันธกิจขององค์กร ภัยพิบัติ ภาวะฉุกเฉิน

39 PM4 แผนสำรองฉุกเฉิน

40 ที่มา : เอกสารประกอบการสัมมนาเวทีปัญญาสัมมนาวาที รื่อง Business Continuity Management วันที่ 26 มกราคม โดย คุณวิไลพร ทวีลาภพันทอง และ คุณกุลเวช เจนวัฒนวิทย์บริษัท ไพร้ซวอเตอร์เฮาส์คูเปอร์ส จำกัด

41 ที่มา : เอกสารประกอบการสัมมนาเวทีปัญญาสัมมนาวาที รื่อง Business Continuity Management วันที่ 26 มกราคม โดย คุณวิไลพร ทวีลาภพันทอง และ คุณกุลเวช เจนวัฒนวิทย์บริษัท ไพร้ซวอเตอร์เฮาส์คูเปอร์ส จำกัด

42 ที่มา : เอกสารประกอบการสัมมนาเวทีปัญญาสัมมนาวาที รื่อง Business Continuity Management วันที่ 26 มกราคม โดย คุณวิไลพร ทวีลาภพันทอง และ คุณกุลเวช เจนวัฒนวิทย์บริษัท ไพร้ซวอเตอร์เฮาส์คูเปอร์ส จำกัด

43 ที่มา : เอกสารประกอบการสัมมนาเวทีปัญญาสัมมนาวาที รื่อง Business Continuity Management วันที่ 26 มกราคม โดย คุณวิไลพร ทวีลาภพันทอง และ คุณกุลเวช เจนวัฒนวิทย์บริษัท ไพร้ซวอเตอร์เฮาส์คูเปอร์ส จำกัด

44 การกำหนดมาตรฐานการปฏิบัติงาน กระบวนการบรรลุผลตามข้อกำหนดที่สำคัญ
PM 5 จังหวัดต้องกำหนดมาตรฐานการปฏิบัติงาน ของกระบวนการที่สร้างคุณค่า และกระบวนการสนับสนุน โดยมีวิธีการในการนำมาตรฐานการปฏิบัติงานดังกล่าวให้บุคลากรนำไปปฏิบัติ เพื่อให้บรรลุผลตามข้อกำหนดที่สำคัญ การกำหนดมาตรฐานการปฏิบัติงาน กระบวนการบรรลุผลตามข้อกำหนดที่สำคัญ แสดงจุดเริ่มต้น จุดสิ้นสุดของงาน ผู้ปฏิบัติงานใช้อ้างอิงไม่ให้เกิดข้อผิดพลาด ในการทำงาน มี Work Flow มีมาตรฐานการปฏิบัติงาน มาตรฐานการปฏิบัติงาน ข้อกำหนดในการปฏิบัติงานทั้งในเชิงคุณภาพ และปริมาณ ระบบงาน ระยะเวลาของกระบวนการ คุณภาพผลผลิต (ข้อผิดพลาดที่เกิดขึ้น) ความคุ้มค่าของงาน เมื่อ เทียบกับทรัพยากรที่ใช้ PM 5 อยู่ในเรื่องการจัดการกระบวนการที่ต่อเนื่องมาจาก PM 3 เมื่อเราออกแบบกระบวนการเรียบร้อยแล้วก็ต้องมีการกำหนดมาตรฐานคุณภาพงานที่ชัดเจนในเชิงปริมาณ เช่น ระยะเวลาของกระบวนการ และมาตรฐานเชิงคุณภาพ เช่นเช่น ความถูกต้อง ความสมบูรณ์ของข้อมูล ความผิดพลาด ความคุ้มค่าของงาน เป็นต้น เมื่อทราบมาตรฐานการปฏิบัติงานแล้วต้องมีการสื่อสารถ่ายทอดโดยจัดทำเป็นคู่มือการปฏิบัติงาน ซึ่งต้องมีรายละเอียดของ work flow ขันตอนการปฏิบัติงาน และมาตรฐานการปฏิบัติงาน ครอบคลุมไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ของ กระบวนการสร้างคุณค่าทั้งหมด ครอบคลุมไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ของ กระบวนการสนับสนุนทั้งหมด

45 วัตถุประสงค์การจัดทำ Work Manual
PM5 คู่มือการปฏิบัติงาน วัตถุประสงค์การจัดทำ Work Manual เพื่อให้ส่วนราชการมีการจัดคู่มือการปฏิบัติงานที่ชัดเจน อย่างเป็นลายลักษณ์อักษร ที่แสดงถึงรายละเอียดขั้นตอนการปฏิบัติงานของกิจกรรม/กระบวนการต่าง ๆ ของหน่วยงาน เพื่อใช้ประโยชน์ในการบริหารจัดการองค์การ การจัดทำคู่มือการปฏิบัติงานถือเป็นเครื่องมืออย่างหนึ่งในการสร้างมาตรฐานการปฏิบัติงาน (ตาม PM 5) ที่มุ่งไปสู่การบริหารคุณภาพทั่วทั้งองค์กรอย่างมีประสิทธิภาพ ทั้งนี้ เพื่อให้การทำงานของส่วนราชการได้มาตรฐานเป็นไปตามเป้าหมาย ได้ผลิตผลหรือการบริการที่มีคุณภาพ เสร็จรวดเร็วทันตามกำหนดเวลานัดหมาย มีการทำงานปลอดภัย และไม่สร้างมลพิษแก่ชุมชน เพื่อการบรรลุข้อกำหนดที่สำคัญของกระบวนการ

46 PM5 คู่มือการปฏิบัติงาน

47 องค์ประกอบคู่มือการปฏิบัติงาน
คู่มือการปฏิบัติงาน (Work Manual) องค์ประกอบคู่มือการปฏิบัติงาน 1. วัตถุประสงค์ของการจัดทำคู่มือ (Objectives) เป็นการชี้แจงให้ผู้อ่านทราบถึงวัตถุประสงค์ในการจัดทำเอกสาร 2. ขอบเขต (Scope) อธิบายให้ทราบถึงขอบเขตของกระบวนการว่าครอบคลุมขั้นตอน หน่วยงาน สถานที่ และเวลา 3. คำจำกัดความ (Definition) อธิบายถึงศัพท์เฉพาะ หรือคำย่อที่กล่าวถึงภายในกระบวนการ เพื่อความเข้าใจที่ตรงกัน 4. หน้าที่ความรับผิดชอบ (Responsibilities) ชี้แจงให้ทราบถึงบุคคลที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการ 5. Work Flow กระบวนการ ระบุขั้นตอนในรูปแบบของ Flow Chart ที่มีความสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ ( ก.พ.ร.)

48 องค์ประกอบคู่มือการปฏิบัติงาน
คู่มือการปฏิบัติงาน (Work Manual) องค์ประกอบคู่มือการปฏิบัติงาน 6. ขั้นตอนการปฏิบัติงาน (Procedure) อธิบายถึงขั้นตอนการทำงานอย่างระเอียด ระบุว่า ใคร ทำอะไร ที่ไหน อย่างไร เมื่อใด 7. มาตรฐานงาน ระบุมาตรฐานการปฏิบัติงานในแต่ละขั้นตอน 8. ระบบติดตามประเมินผล ระบุวิธีการติดตามประเมินผลการปฏิบัติ 9. เอกสารอ้างอิง อธิบายให้ทราบถึงเอกสารอื่นที่ต้องใช้ประกอบคู่กันหรืออ้างถึงกัน 10. แบบฟอร์มที่ใช้ อธิบายแบบฟอร์มที่ใช้ในการบันทึกข้อมูลของผู้ที่เกี่ยวข้อง สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ ( ก.พ.ร.)

49 ชื่อกระบวนการ. กระบวนการส่งเสริมการพัฒนาผลิตภัณฑ์ OTOP
ชื่อกระบวนการ......กระบวนการส่งเสริมการพัฒนาผลิตภัณฑ์ OTOP ตัวชี้วัดที่สำคัญของกระบวนการ 1. ร้อยละของผลิตภัณฑ์ที่ส่งเสริมที่มีการวิจัยตลาด ร้อยละของสินค้า OTOP ที่สามารถจำหน่ายได้ในแต่ละเดือน ลำดับ ผังกระบวนการ มาตรฐานระยะเวลา มาตรฐานด้านคุณภาพ รายละเอียดงาน ผู้รับผิดชอบ 1 ทำการสำรวจและรวบรวมข้อมูลพื้นฐานภายในชุมชน พัฒนาชุมชน 2 - ตามหลักการตลาด ออกแบบสำรวจ ทำการวิจัยความต้องการของตลาดอย่างครอบคลุม พัฒนาชุมชน พาณิชย์จังหวัด อุตสาหกรรมจังหวัด 3 ทำการวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้จากขั้นตอนที่ 1 และ 2 นำมาจัดลำดับความสำคัญ เพื่อกำหนดผลิตภัณฑ์ที่จำเป็นต้องส่งเสริมและพัฒนา 4 ค้นหาองค์ความรู้ที่จำเป็นจากแหล่งข้อมูลต่างๆ และออกแบบกิจกรรม รูปแบบการถ่ายทอดและสื่อสารที่เหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย 5 ถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านต่างๆ ให้กับกลุ่มเป้าหมาย 6 เดือนละ 1 ครั้ง ติดตามผลการดำเนินการเป็นระยะอย่างสม่ำเสมอ เพื่อการปรับปรุง วิเคราะห์และสรุปผลการดำเนินการที่ผานมา พร้อมทั้งข้อเสนอแนะและแนวทางการดำเนินการ เพื่อให้เกิดการปรับปรุงและพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ประเมินศักยภาพของชุมชน ศึกษาความต้องการของตลาด กำหนดผลิตภัณฑ์ที่จะส่งเสริม วิเคราะห์องค์ความรู้ ที่จำเป็นและกำหนดรูปแบบการส่งเสริม ดำเนินการส่งเสริมด้านการผลิต และตลาด ติดตามประเมินผลการส่งเสริม NO YES สรุปผลการดำเนินการส่งเสริม

50 1. การใช้ภาพถ่ายอ้างอิง 2. การใช้ภาพการ์ตูน
เทคนิคการจัดทำคู่มือให้เข้าใจง่ายและน่าสนใจ 1. การใช้ภาพถ่ายอ้างอิง 2. การใช้ภาพการ์ตูน 3. การใช้ Multimedia

51 การปรับปรุงกระบวนการ บูรณาการในทุกระดับชั้น ปรับปรุงในระดับกิจกรรม
PM 6  จังหวัดต้องมีการปรับปรุงกระบวนการที่สร้างคุณค่าและกระบวนการสนับสนุน เพื่อให้ผลการดำเนินการดีขึ้นและป้องกันไม่ให้เกิดข้อผิดพลาด การทำงานซ้ำ และความสูญเสียจากผลการดำเนินการ การปรับปรุงกระบวนการ บูรณาการในทุกระดับชั้น ปรับปรุงในระดับกิจกรรม ปรับปรุงในระดับการปฏิบัติงาน ประจำวัน ปรับปรุงในระดับกระบวนการ ปรับปรุงในระดับกระบวนงาน ปัจจัยความสำเร็จในการปรับปรุงกระบวนการ การมีส่วนร่วมของผู้บริหาร ความชัดเจนของเป้าหมาย (การปรับปรุง/ ทิศทาง/การสื่อสาร) เป้าหมายการปรับปรุงต้องเป็นส่วนสำคัญ ที่ระบุในแผนกลยุทธ์/ตัวชี้วัดการปรับปรุง ประจำปี มีการติดตามแผนการปรับปรุงต่อเนื่อง มีกลไกการแก้ไขปัญหา แรงจูงใจ/ความพร้อมใจของบุคลากร ความรู้ของบุคลากรในการแก้ไขปัญหา ขั้นตอน ระบุ/ค้นหาจุดอ่อนใน กระบวนการ/โอกาสในการ ปรับปรุง กำหนดเป้าหมาย/วัตถุประสงค์ ในการปรับปรุงงานให้ชัดเจน จัดทีมงานปรับปรุง จัดทำแผนงาน/โครงการรองรับ ดำเนินการและติดตาม ประเมินผล เป็นเรื่องของการปรับปรุงกระบวนเพื่อให้ผลการดำเนินดีขึ้น และป้องกันไม่ให้เกิดข้อผิดพลาดและการทำงานซ้ำ ขั้นตอนในการปรับปรุงกระบวนการคือ 1 . ศึกษาเพื่อเลือกกระบวนการที่จะปรับปรุง 2. เลือกกระบวนการที่จะปรับปรุง โดยต้องเป็นกระบวนการสร้างคุณค่าอย่างน้อย 1 กระบวนการ และกระบวนการสนับสนุน 1 กระบวนการ 3. ระบุค้นหาจุดที่จะปรับปรุง 4. กำหนดเป้าหมายในการปรับปรุง 5. จัดทีมงานที่จะปรับปรุง 6. จัดทีมงาน 7. ดำเนินการและติดตามประเมินผล ปัจจัยความสำเร็จในการปรับปรุงกระบวนการ การมีส่วนร่วมของผู้บริหาร ความชัดเจนของเป้าหมาย (การปรับปรุง/ ทิศทาง/การสื่อสาร) เป้าหมายการปรับปรุงต้องเป็นส่วนสำคัญ ที่ระบุในแผนกลยุทธ์/ตัวชี้วัดการปรับปรุง ประจำปี มีการติดตามแผนการปรับปรุงต่อเนื่อง มีกลไกการแก้ไขปัญหา แรงจูงใจ/ความพร้อมใจของบุคลากร ความรู้ของบุคลากรในการแก้ไขปัญหา

52 PM6 การปรับปรุงกระบวนการ

53 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
PMQA หมวด 5 53

54 รหัส แนวทางการดำเนินการ
หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล (Human Resource) รหัส แนวทางการดำเนินการ การสร้างบรรยากาศการทำงาน ความผาสุกและความพึงพอใจแก่บุคลากร เพื่อก่อให้เกิดความผูกพันต่อองค์การ HR 1 จังหวัดต้องกำหนดปัจจัยทีมีผลต่อความผาสุก และความพึงพอใจ ของบุคลากร รวมทั้งต้องมีการวิเคราะห์และปรับปรุงปัจจัยดังกล่าวให้มีความเหมาะสม เพื่อสร้างแรงจูงใจในการปฏิบัติงานและให้เกิดความผูกพันต่อองค์การ HR 2 จังหวัดมีระบบการประเมินผลการปฏิบัติงานของบุคลากรที่มีประสิทธิผล และเป็นธรรม รวมทั้งมีการแจ้งผลการประเมินให้บุคลากรทราบ เพื่อปรับปรุงการปฏิบัติงานให้ดีขึ้น HR 3 จังหวัดต้องดำเนินการตามแผนกลยุทธ์การบริหารทรัพยากรบุคคลที่กำหนดไว้ใน SP 3 ไปปฏิบัติ เพื่อให้มีขีดสมรรถนะที่เหมาะสม สามารถปฏิบัติงานให้บรรลุผลตามเป้าประสงค์ เชิงยุทธศาสตร์ HR 4 จังหวัดต้องมีระบบการประกันคุณภาพของการฝึกอบรม รวมถึงการประเมินประสิทธิผลและความคุ้มค่าของการพัฒนา/ฝึกอบรมบุคลากร HR 5 จังหวัดต้องมีระบบการแลกเปลี่ยนความรู้หรือทักษะระหว่างบุคลากรภายในจังหวัดที่มีประสิทธิผล 54

55 หมวด 5 ความผาสุก การพัฒนาบุคลากร และภาวะผู้นำ สภาพแวดล้อมการทำงาน
ความพึงพอใจ HR 1 หาปัจจัย สถานที่ อุปกรณ์การทำงาน - ตัวชี้วัด/เป้าหมาย - การมีส่วนร่วม เตรียมพร้อมภาวะฉุกเฉิน กำหนดตัวชี้วัด/วิธีการประเมิน ความผาสุก สร้างแรงจูงใจ/จัดระบบสวัสดิการ ระบบยกย่อง/จูงใจ ระบบประเมินผล HR 2 ประเมินผล กำหนดคุณลักษณะและทักษะที่จำเป็น HR 3 จัดลำดับความสำคัญ สอดคล้อง กับผลลัพธ์องค์กร สร้างความก้าวหน้าในการทำงานให้ชัดเจน HR 5 ปรับปรุง ความจำเป็น (Training Need) ความต้องการในการฝึกอบรม พัฒนาบุคลากร ทางการ/ไม่ทางการ บุคลากร ทำงานตามแผนปฏิบัติงาน (หมวด 2) หน.งาน/ผู้บังคับบัญชา HR 3 องค์กร สมดุลทั้งความต้องการองค์กรและความต้องการบุคลากร (หมวด 5.1) ความรู้ในองค์กร (หมวด 4.2) ส่งเสริมนำไปปฏิบัติ การพัฒนาบุคลากร และภาวะผู้นำ HR 4 ประเมินผลประสิทธิผลการฝึกอบรม - ผลการปฏิบัติงานของบุคคล - ผลการดำเนินงานขององค์กร

56 ประเด็นย่อยการพิจารณา
HR1 จังหวัดต้องกำหนดปัจจัยทีมีผลต่อความผาสุก และความพึงพอใจ ของบุคลากร รวมทั้งต้องมีการวิเคราะห์และปรับปรุงปัจจัย ดังกล่าวให้มีความเหมาะสม เพื่อสร้างแรงจูงใจในการปฏิบัติงานและให้เกิดความผูกพันต่อองค์กร ประเด็นย่อยการพิจารณา 1. มีแนวทางในการกำหนดปัจจัยที่มีผลต่อความผาสุก และความพึงพอใจของบุคลากรแต่ละกลุ่มและจัดลำดับความสำคัญของปัจจัยดังกล่าว 2. มีการนำปัจจัยความผาสุก และความพึงพอใจของบุคลากร เพื่อใช้ในการวางแผนสร้างความผาสุก และความพึงพอใจของบุคลากร 3. มีการนำแผนสร้างความผาสุกและความพึงพอใจของบุคลากรไปปฏิบัติจริงเพื่อสร้างแรงจูงใจในการปฏิบัติงาน และให้เกิดความผูกพันต่อองค์กร 4. มีการประเมินความผาสุกและความพึงพอใจของบุคลากร

57 HR1 แผนผังแสดงการจัดทำแผนกลยุทธ์เพื่อสร้างความผาสุกฯ
ตัวอย่าง : กรมชลประทาน แผนผังแสดงการจัดทำแผนกลยุทธ์เพื่อสร้างความผาสุกฯ สำรวจปัจจัยที่มีผลต่อความผาสุก เก็บรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล จัดลำดับความสำคัญและกำหนดปัจจัยที่มีผลต่อความผาสุก ความพึงพอใจและแรงจูงใจของบุคลากร ติดตามประเมินผลเพื่อทบทวนและปรับปรุงการดำเนินงาน ดำเนินการ ตามแผน ประชาสัมพันธ์ เผยแพร่สำนัก/กอง จัดทำแผน กลยุทธ์และแผนปฏิบัติการประจำปี

58 HR1 ตัวอย่าง : กรมชลประทาน
ตัวอย่าง : กรมชลประทาน HR1 จังหวัดต้องกำหนดปัจจัยทีมีผลต่อความผาสุก และความพึงพอใจ ของบุคลากร รวมทั้งต้องมีการวิเคราะห์และปรับปรุงปัจจัย ดังกล่าวให้มีความเหมาะสม เพื่อสร้างแรงจูงใจในการปฏิบัติงานและให้เกิดความผูกพันต่อองค์การ ผลการวิเคราะห์หาปัจจัยที่มีผลต่อความผาสุก ความพึงพอใจ และแรงจูงใจของบุคลากร

59

60 กระบวนการกำหนดปัจจัย แผนการสร้างความผาสุก/ ระบบการประเมินความผาสุก/
กล่าวโดยสรุป ใน HR 1 โดย....เกศินี จันทสิริยากร กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ : 11 ก.พ.53 การกำหนดปัจจัย การวิเคราะห์ปัจจัย การปรับปรุงปัจจัย กระบวนการกำหนดปัจจัย ปัจจัยที่สร้างบรรยากาศทำงาน นโยบายการบริหารงาน การให้ค่าตอบแทน ความสัมพันธ์ระหว่างบุคลากร สภาพแวดล้อมการทำงาน ปัจจัยที่สร้างแรงจูงใจ ความสำเร็จของงาน ลักษณะงาน การยกย่องชมเชย ปริมาณงานที่รับผิดชอบ การกระจายอำนาจตัดสินใจ ความก้าวหน้าในหน้าที่ วิเคราะห์ปัจจัย จัดลำดับความสำคัญปัจจัย กำหนดตัวชี้วัด วิธีประเมินความผาสุก การสำรวจความพึงพอใจ บุคลากร ปรับปรุงสภาพแวดล้อม การปฏิบัติงาน สุขอนามัย ความปลอดภัย/การป้องกันภัย อุปกรณ์ในการปฏิบัติงาน การจัดระบบสนับสนุนบุคลากร สวัสดิการ บริการสอดคล้องความต้องการ แผนการสร้างความผาสุก/ ความพึงพอใจ ดำเนินการ ตามแผน ระบบการประเมินความผาสุก/ ความพึงพอใจ 60

61 ประเด็นย่อยการพิจารณา
HR2 จังหวัดมีระบบการประเมินผลการปฏิบัติงานของบุคลากรที่มีประสิทธิผล และเป็นธรรม รวมทั้ง มีการแจ้งผลการประเมินให้บุคลากรทราบ เพื่อปรับปรุงการปฏิบัติงานให้ดีขึ้น ประเด็นย่อยการพิจารณา 1. มีแนวทางการประเมินผลการปฏิบัติงานที่มีประสิทธิผลและเป็นธรรม 2. มีแนวทางในการแจ้งผลการประเมินให้บุคลากรทราบเพื่อปรับปรุงการปฏิบัติงานให้ดีขึ้น 3. มีแนวทางการจัดสรรแรงจูงใจที่เชื่อมโยงกับผลการปฏิบัติงาน

62 HR2 ระบบการบริหารผล การปฏิบัติราชการ ตัวอย่าง : กรมชลประทาน
ตัวอย่าง : กรมชลประทาน จังหวัดมีระบบการประเมินผลการปฏิบัติงานของบุคลากรที่มีประสิทธิผล และเป็นธรรม รวมทั้ง มีการแจ้งผลการประเมินให้บุคลากรทราบ เพื่อปรับปรุงการปฏิบัติงานให้ดีขึ้น หัวหน้า ส่วนราชการ รองหัวหน้า ผู้อำนวยการ ระดับสำนัก/กอง หัวหน้าหน่วยงานภายใต้ สำนัก/กอง ผู้ปฏิบัติงานที่ไม่มีผู้ใต้บังคับบัญชา ถ่ายทอดและกำหนดเป้าหมายที่สอดคล้องกับเป้าหมายผลการปฏิบัติงานในระดัองค์กร (เป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์) กำหนดเป้าหมายงานอื่นๆ ที่มาจากงานตามภารกิจและงานมอบหมายพิเศษ (เป้าหมายอื่นๆ) ระบบการบริหารผล การปฏิบัติราชการ สมรรถนะ สมรรถนะหลัก ก.พ. การมุ่งผลสัมฤทธิ์ บริการที่ดี การสั่งสมความเชี่ยวชาญ ในงานอาชีพ การยึดมั่นในความถูกต้อง ชอบธรรม และจริยธรรม การทำงานเป็นทีม สมรรถนะหลักของ กรมชลประทาน  การดำเนินงานเชิงรุก  ความเข้าใจภารกิจกรมชลประทาน

63 ตามพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ. ศ. 2551 และ กฎ ก. พ
ตามพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ และ กฎ ก.พ.ว่าด้วยการเลื่อนขั้นเงินเดือน พ.ศ ได้กำหนดหลักเกณฑ์และแนวทางในการปฏิบัติเกี่ยวกับการประเมินผลการปฏิบัติงานของบุคลากร ดังนี้ 1. ประกาศหลักเกณฑ์ วิธีการประเมินผลการปฏิบัติงาน และมาตรฐานการปฏิบัติงาน ให้บุคลากรทราบ 2. ข้าราชการทุกคนจัดทำรายงานผลการปฏิบัติงานสรุปรอบ 6 เดือน เพื่อให้ผู้บังคับบัญชาพิจารณา 3. ผู้บังคับบัญชาสรุปผลการประเมินครั้งที่ 1 4. จัดเรียงลำดับผลการประเมิน 5. เมื่อทำการประเมินผลการปฏิบัติงานเสร็จแล้ว ให้ดำเนินการตามระบบเปิด ดังนี้ 5.1 ให้ผู้บังคับบัญชาชั้นต้นที่เป็นผู้ประเมินผลการปฏิบัติงาน แจ้งผลการประเมินให้ ผู้ใต้บังคับบัญชาที่ถูกประเมินทราบเป็นรายบุคคล 5.2 สำหรับข้าราชการที่มีผลการประเมินอยู่ในเกณฑ์ต้องปรับปรุง ให้ผู้บังคับบัญชา ชั้นต้นแจ้งผลการประเมินให้ข้าราชการผู้นั้นทราบเป็นรายบุคคล และให้ชี้แจง แนะนำ หารือแนวทางพัฒนาปรับปรุงการปฏิบัติงานต่อไป 5.3 ให้สำนัก/กลุ่ม ประกาศรายชื่อผู้ที่มีผลการประเมินในระดับดีเด่น เพื่อเป็นการยกย่อง ชมเชยผู้ที่มีผลการปฏิบัติงานระดับดีเด่น

64 การจัดสรรสิ่งจูงใจ สิ่งจูงใจในรูปแบบของตัวเงิน เช่น
เงินเดือน ค่าจ้าง โบนัส ฯลฯ สิ่งจูงใจในรูปแบบที่ไม่ใช่ตัวเงิน เช่น การยกย่อง ชมเชย การพัฒนาฝึกอบรม ความก้าวหน้าในสายอาชีพ

65 ประเด็นย่อยการพิจารณา
HR3 จังหวัดต้องดำเนินการตามแผนกลยุทธ์การบริหารทรัพยากรบุคคลที่กำหนดไว้ใน SP3 ไปปฏิบัติ เพื่อให้มีขีดสมรรถนะที่เหมาะสม สามารถปฏิบัติงานให้บรรลุผลตามเป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ ประเด็นย่อยการพิจารณา 1. มีการนำแผนกลยุทธ์การบริหารทรัพยากรบุคคลที่กำหนดไว้ใน SP3 มาจัดทำแผนปฏิบัติการประจำปี และนำแผนไปปฏิบัติ 2. มีการประเมินผลการดำเนินการตามแผนปฏิบัติการการบริหารทรัพยากรบุคคลประจำปี เพื่อให้สามารถบรรลุผลตามเป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ 3. มีการประเมินความพึงพอใจของบุคลากรต่อการพัฒนาบุคลากร

66 แผนการบริหารทรัพยากรบุคลากรที่มีทักษะหรือสมรรถนะสูง ในสายงานหลัก
แผนกลยุทธ์การบริหารทรัพยากรบุคคลไปปฏิบัติ ตามที่ได้กำหนดไว้ใน SP 3 ควรครอบคลุมในเรื่อง แผนพัฒนาบุคลากร แผนการบริหารทรัพยากรบุคลากรที่มีทักษะหรือสมรรถนะสูง ในสายงานหลัก แผนการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล

67 สมรรถนะหลักขององค์การ
ประเภทของสมรรถนะ สมรรถนะหลักขององค์การ (Core Competencies) คุณลักษณะเชิงพฤติกรรม ที่บุคลากรทุกตำแหน่ง ในองค์กรต้องมีเพื่อหล่อหลอม ค่านิยมและพฤติกรรม ที่พึงประสงค์ร่วมกัน สมรรถนะตามตำแหน่งงาน (Functional Competencies) ความรู้ ความสามารถในงาน ซึ่งสะท้อนให้เห็นถึงความรู้ ทักษะ และคุณลักษณะเฉพาะของงานต่าง ๆ

68 แผนกลยุทธ์การบริหารทรัพยากรบุคคล (HR Scorecard) กรมชลประทาน
ตัวอย่าง : กรมชลประทาน HR3 จังหวัดต้องดำเนินการตามแผนกลยุทธ์การบริหารทรัพยากรบุคคลที่กำหนดไว้ใน SP3 ไปปฏิบัติ เพื่อให้มีขีดสมรรถนะที่เหมาะสม สามารถปฏิบัติงานให้บรรลุผลตามเป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ แผนกลยุทธ์การบริหารทรัพยากรบุคคล (HR Scorecard) กรมชลประทาน

69 HR3 ขั้นตอนการจัดทำแผนกลยุทธ์การบริหารทรัพยากรบุคคลกรมชลประทาน
ตัวอย่าง : กรมชลประทาน ขั้นตอนการจัดทำแผนกลยุทธ์การบริหารทรัพยากรบุคคลกรมชลประทาน 2.สร้างความรู้ความเข้าใจ ให้ผู้เกี่ยวข้อง 4. กำหนดประเด็นยุทธศาสตร์ด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล 6. กำหนดตัวชี้วัดผลการ ปฏิบัติงานของแต่ละเป้าประสงค์ และค่าเป้าหมาย 9. ติดตามและรายงานผลการดำเนินงานตามแผนกลยุทธ์ฯ 8. นำแผนกลยุทธ์ฯไปปฏิบัติ 7. จัดทำแผนปฏิบัติการด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล (7) ทบทวนร่างแผนกลยุทธ์ฯ (7) นำเสนอแผนกลยุทธ์ฯ 3. ประเมินสถานภาพด้าน HR และวิเคราะห์ความคาดหวังผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 5. กำหนดเป้าประสงค์เชิง กลยุทธ์ด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล 1.แต่งตั้ง คณะกรรมการฯ

70 ประเด็นย่อยการพิจารณา
HR4 จังหวัดต้องมีระบบการประกันคุณภาพของการฝึกอบรม รวมถึงการประเมินประสิทธิผลและความคุ้มค่าของการพัฒนา/ฝึกอบรมบุคลากร ประเด็นย่อยการพิจารณา 1. มีแนวทางในการกำหนดหลักเกณฑ์การประกันคุณภาพของการฝึกอบรม 2. มีการนำหลักเกณฑ์ไปใช้ในการจัดฝึกอบรม 3. มีการประเมินประสิทธิผลการพัฒนา/ฝึกอบรมบุคลากร/ความคุ้มค่าของการพัฒนา

71 หลักเกณฑ์การประกันคุณภาพของการฝึกอบรม
ตัวอย่าง HR 4 หลักเกณฑ์การประกันคุณภาพของการฝึกอบรม บทนำ เหตุผลความจำเป็นที่ต้องมีการกำหนดหลักเกณฑ์ และคำนิยามหรือขอบเขตของหลักสูตรการฝึกอบรม ที่ต้องดำเนินการตามหลักเกณฑ์ วัตถุประสงค์ : กำหนดวัตถุประสงค์ของการจัดทำหลักเกณฑ์ หลักเกณฑ์การประกันคุณภาพ ให้กำหนดหลักเกณฑ์กลางที่จะใช้ร่วมกันในหน่วยงาน รวมถึงวิธีการประเมินประสิทธิผลการอบรม เช่น  เนื้อหาหลักสูตร  เนื้อหาหลักสูตรต้องสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ และสามารถบรรลุ เป้าหมายที่กำหนด  ความเหมาะสมผู้เข้ารับการอบรม  การจัดอบรมในรูปแบบการอภิปราย ต้องมีผู้เข้าอบรมไม่เกิน 20 คน  ผู้เข้ารับการอบรมต้องมีความรู้พื้นฐานหรือปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับ หลักสูตรนั้น ๆ  คุณสมบัติของวิทยากร  วิทยากรต้องเป็นผู้ที่มีความรู้หรือประสบการณ์ตรงกับหลักสูตรที่ อบรม และต้องมีประสบการณ์ในด้านนั้น ๆ อย่างน้อย 5 ปี  เทคนิคการฝึกอบรม  ในการอบรมแต่ละหลักสูตรต้องมีสัดส่วนของการบรรยาย และ Workshop เป็น 60:40  สถานที่ใช้อบรม  การจัดสถานที่อบรมต้องให้เหมาะสมกับหัวข้อการอบรมหรือกิจกรรมที่ใช้  การวัดและประเมินผลการฝึกอบรม  ในการอบรมแต่ละหลักสูตรต้องมีการวัดผลความรู้ความเข้าใจของผู้เข้ารับ การอบรมก่อนเริ่มการอบรมทุกครั้ง (Pretest)

72 ประเด็นย่อยการพิจารณา
HR5 จังหวัดต้องมีระบบการแลกเปลี่ยนความรู้หรือทักษะระหว่างบุคลากรภายในจังหวัดที่มีประสิทธิผล ประเด็นย่อยการพิจารณา 1. ระบบการแลกเปลี่ยนความรู้หรือทักษะ/แผนการจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนความรู้หรือทักษะระหว่างบุคลากร 2. รายงานผลการจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนความรู้หรือทักษะระหว่างบุคลากร 3. รายงานผลการติดตามประเมินผลการแลกเปลี่ยนความรู้หรือทักษะของบุคลากร พร้อมข้อเสนอแนะเพื่อปรับปรุงการดำเนินการต่อไป

73 ผลลัพธ์ของการดำเนินการ (ผลลัพธ์ของกระบวนการ)
หมวด 7 73

74 หมวด 7 ผลลัพธ์การดำเนินการ (Result Management)
ให้จังหวัดเลือกจากตัวชี้วัดแนะนำมาดำเนินการ หมวดละ 1 ตัวชี้วัด รหัส แนวทางการดำเนินการ เกณฑ์การให้คะแนน (ร้อยละ) 1 2 3 4 5 หมวด 1 RM 1.1 ร้อยละของบุคลากรที่เข้าใจทิศทางขององค์การ 60 65 70 75 80 RM 1.2 ร้อยละความพึงพอใจของบุคลากรที่มีต่อการนำองค์การของผู้บริหาร RM 1.3 ร้อยละความสำเร็จเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของตัวชี้วัดสำคัญที่ผู้บริหารใช้ในการติดตามการบริหารงาน RM 1.4 ร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักความสำเร็จของผลสัมฤทธิ์ของมาตรการ/โครงการตามนโยบายการกำกับดูแลองค์การที่ดี (อย่างน้อยด้านละ 1 มาตรการ/โครงการ) 90 100 RM 1.5 ระดับความเชื่อมั่นด้านธรรมาภิบาลของผู้รับบริการต่อองค์การ (ค่าเฉลี่ย) 74

75 หมวด 7 ผลลัพธ์การดำเนินการ (Result Management)
ให้จังหวัดเลือกจากตัวชี้วัดแนะนำมาดำเนินการ หมวดละ 1 ตัวชี้วัด รหัส แนวทางการดำเนินการ เกณฑ์การให้คะแนน (ร้อยละ) 1 2 3 4 5 หมวด 2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ RM 2.1 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายตามแผนปฏิบัติราชการของจังหวัด RM 2.2 ร้อยละของบุคลากรที่เข้าใจแผนปฏิบัติราชการประจำปี ที่ระดับความเข้าใจไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 60 65 70 75 80 RM 2.3 ร้อยละของตัวชี้วัดระดับบุคคลที่สอดคล้องตามเป้าหมายของจังหวัด RM 2.4 ร้อยละความสำเร็จเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของส่วนราชการประจำจังหวัดที่ปฏิบัติงานได้บรรลุเป้าหมายตามตัวชี้วัดที่จังหวัดกำหนด RM 2.5 ร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักความสำเร็จของเป้าหมายของโครงการตามแผนบริหารความเสี่ยง 90 100 75

76 หมวด 7 ผลลัพธ์การดำเนินการ (Result Management)
ให้จังหวัดเลือกจากตัวชี้วัดแนะนำมาดำเนินการ หมวดละ 1 ตัวชี้วัด รหัส แนวทางการดำเนินการ เกณฑ์การให้คะแนน (ร้อยละ) 1 2 3 4 5 หมวด 3 การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย RM 3.1 ร้อยละของความพึงพอใจของผู้รับบริการ 65 70 75 80 85 RM 3.2 ร้อยละความไม่พึงพอใจของผู้รับบริการ 30 25 20 15 10 RM 3.3 ร้อยละความพึงพอใจของเครือข่ายที่มีต่อกิจกรรมสร้างความสัมพันธ์ 60 RM 3.4 ร้อยละความสำเร็จของผลสัมฤทธิ์ของการดำเนินการ/ โครงการ ที่เปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการบริหารราชการ 90 100 RM 3.5 ร้อยละของความสำเร็จในการดำเนินการตามมาตรฐานคู่มือการให้บริการ 76

77 หมวด 7 ผลลัพธ์การดำเนินการ (Result Management)
ให้จังหวัดเลือกจากตัวชี้วัดแนะนำมาดำเนินการ หมวดละ 1 ตัวชี้วัด รหัส แนวทางการดำเนินการ เกณฑ์การให้คะแนน (ร้อยละ) 1 2 3 4 5 หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ RM 4.1 ร้อยละของความครอบคลุม ถูกต้อง และทันสมัยของฐานข้อมูลที่สนับสนุนยุทธศาสตร์อย่างน้อย 1 ประเด็นยุทธศาสตร์ 60 70 80 90 100 RM 4.2 ร้อยละความพึงพอใจของผู้เข้าถึงหรือเข้ามาใช้ข้อมูลข่าวสารผ่านทางเว็บไซต์ของจังหวัด 65 75 RM 4.3 ร้อยละความพึงพอใจของประชาชนที่มีต่อการ เปิดเผยข้อมูลข่าวสาร ตาม พ.ร.บ. ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540 85 RM 4.4 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการจัดทำสถิติผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด 50 RM 4.5 ร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักความสำเร็จจากผลสัมฤทธิ์ ของการดำเนินการตามแผนการจัดการความรู้อย่างน้อย 3 องค์ความรู้ 95 77

78 หมวด 7 ผลลัพธ์การดำเนินการ (Result Management)
ให้จังหวัดเลือกจากตัวชี้วัดแนะนำมาดำเนินการ หมวดละ 1 ตัวชี้วัด รหัส แนวทางการดำเนินการ เกณฑ์การให้คะแนน (ร้อยละ) 1 2 3 4 5 หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล RM 5.1 ร้อยละความพึงพอใจของบุคลากรที่มีต่อองค์การ 60 65 70 75 80 RM 5.2 ร้อยละความพึงพอใจของบุคลากรที่มีต่อการพัฒนาบุคลากร RM 5.3 ร้อยละความพึงพอใจของบุคลากรต่อระบบประเมินผลการปฏิบัติงาน RM 5.4 ร้อยละของหลักสูตรการอบรมที่ผ่านเกณฑ์ตามหลักประกันคุณภาพการฝึกอบรม RM 5.5 ร้อยละของบุคลากรที่ผ่านระดับของขีดสมรรถนะที่จังหวัดกำหนด (Competency Level) 40 45 50 55 78

79 หมวด 7 ผลลัพธ์การดำเนินการ (Result Management)
ให้จังหวัดเลือกจากตัวชี้วัดแนะนำมาดำเนินการ หมวดละ 1 ตัวชี้วัด รหัส แนวทางการดำเนินการ เกณฑ์การให้คะแนน (ร้อยละ) 1 2 3 4 5 หมวด 6 การจัดการกระบวนการ RM 6.1 ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการที่มีต่อขั้นตอนการปฏิบัติงาน 60 65 70 75 80 RM 6.2 ร้อยละความพึงพอใจของบุคลากรที่มีต่อระบบรองรับภาวะฉุกเฉิน RM 6.3 ร้อยละของกระบวนการสร้างคุณค่าที่มีการจัดทำคู่มือการปฏิบัติงาน (Work Manual) 30 40 50 RM 6.4 ร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรฐานงานของกระบวนการที่สร้างคุณค่า RM 6.5 จำนวนกระบวนการที่ได้รับการปรับปรุงให้ผลการดำเนินงานดีขึ้น - หมายเหตุ ความแตกต่างของเกณฑ์ FL ในปี 2553 และ ปี 2554 คือ ตัวชี้วัดหมวด 7 สะท้อนผลลัพธ์การดำเนินการตามเกณฑ์ฯ FL หมวด 1-6 โดยให้ดำเนินการทุกหมวด ๆ ละ 1 ตัวชี้วัด(เลือกจากตัวชี้วัดแนะนำ ตามภาคผนวก ข) 79

80 ขอขอบคุณ ต่อ 9948,8985, 8916,8804


ดาวน์โหลด ppt การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ. ศ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google