งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงาน กองทุนการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงาน กองทุนการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงาน กองทุนการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม
สกม. วันที่ 8 ต.ค. 52

2 กฎหมาย ระเบียบ และมติ คปก. ที่เกี่ยวข้อง
◈ พ.ร.บ.การปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ. 2518 ◈ กฎหมายเกี่ยวกับการเงินการคลัง ◈ พ.ร.บ.วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539 ◈ ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์

3 กฎหมาย ระเบียบ และมติ คปก. ที่เกี่ยวข้อง
ระเบียบ คปก. ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการเกี่ยวกับการเช่าซื้อที่ดิน พ.ศ. 2526 ระเบียบ คปก. ว่าด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการโอนและตกทอดทางมรดกสิทธิการเช่าหรือเช่าซื้อที่ดินในการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ. 2535 ระเบียบ คปก. ว่าด้วยการให้เกษตรกรและสถาบันเกษตรกรผู้ได้รับที่ดินจากการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมปฏิบัติเกี่ยวกับการเข้าทำประโยชน์ในที่ดิน พ.ศ แก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2540 ระเบียบ คปก. ว่าด้วยวิธีการและเงื่อนไขการให้กู้ยืมเงินกองทุนการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมแก่เกษตรกรและสถาบันเกษตรกรในเขตปฏิรูปที่ดิน พ.ศ. 2536

4 กฎหมาย ระเบียบ และมติ คปก. ที่เกี่ยวข้อง (ต่อ)
ระเบียบ คปก. ว่าด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการอนุญาตและการให้ผู้รับอนุญาตถือปฏิบัติในการใช้ที่ดินหรืออสังหาริมทรัพย์สำหรับกิจการที่เป็นการสนับสนุนหรือเกี่ยวเนื่องกับการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ. 2541 ระเบียบ คปก. ว่าด้วยหลักเกณฑ์ วิธีพิจารณาลดหรือยกเว้นการเก็บค่าเช่าที่ดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ. 2536 มติ คปก. เกี่ยวกับการเช่าที่ดินเพื่อเกษตรกรรม  ครั้งที่ 5/2522 เมื่อ 14 พ.ค. 22 มี 2 เรื่อง - กำหนดหลักเกณฑ์การเรียกเก็บค่าเช่าที่ดิน - กำหนดค่าเช่าที่ดินพระราชทาน  ครั้งที่ 8/2523 เมื่อ 21 ส.ค. 23 เช่าที่ดินราชพัสดุ  ครั้งที่ 6/2525 เมื่อ 28 มิ.ย. 25 ค่าเช่าที่ดินเอกชนร้อยละ 3 ของราคาเฉลี่ย  ครั้ งที่ 1/2528 เมื่อ 31 ม.ค. 28 ให้นำมติที่ 6/25 มาใช้กับที่ดินบริจาค  ครั้งที่ 7/2536 เมื่อ 12 พ.ย. 36 ยกเลิกค่าปรับตามสัญญาเช่า/สัญญากู้ยืม

5 ประเภทสัญญาที่เกี่ยวข้องกับกองทุนการปฏิรูปที่ดินฯ
สัญญาเช่าที่ดิน - เกษตร ค่าเช่าที่ดิน 3% รายได้เข้ากองทุนการปฏิรูปที่ดินฯ สัญญาเช่าซื้อที่ดิน-เกษตร ค่าเช่าซื้อเท่าจัดซื้อ + ด.บ.4% สัญญาเช่าที่ดิน - สนับสนุน ค่าเช่า คปก. กำหนด สัญญาเข้าทำประโยชน์-สนับสนุน ค่าตอบแทน คปก. กำหนด หนังสือยินยอม- ทรัพยากร ค่าตอบแทน ส่วนที่1 2%x ปี ส่วนที่ 2 ทุกครั้งที่นำแร่ออก หนังสืออนุญาต-สาธารณูปโภค ค่าทดแทนที่ดิน 3%ราคาประเมิน สัญญากู้ยืม ดอกเบี้ย

6 ข้อคำนึงในการจัดทำสัญญา
คู่สัญญาต้องเป็นผู้คุณสมบัติตามระเบียบกำหนด - สัญญาเช่าที่ดิน เป็นเกษตรกรที่ คปจ. คัดเลือก - สัญญาเช่าซื้อที่ดิน เป็นเกษตรกรที่ คปจ. คัดเลือก /ผู้เช่าที่ดิน - สัญญากู้ เกษตรกรที่ คปจ. คัดเลือก/สถาบันเกษตรกรที่จดทะเบียนตาม กม.สหกรณ์ ต้องกรอกข้อมูลในแบบสัญญาให้ครบถ้วน เช่น วันที่ เดือน ปี เนื้อหาสาระต้องตรงตาม ระเบียบ /มติ คปก. กำหนด ต้องมีการลงลายมือชื่อของคู่สัญญา กรณีใช้พิมพ์ลายนิ้วมือ ต้องมีพยานลงชื่อรับรอง 2 คน

7 ข้อคำนึงในการจัดทำสัญญา(ต่อ)
ต้องมีการส่งมอบทรัพย์ตามสัญญา ◆สัญญากู้ยืม ต้องส่งมอบเงินที่กู้แก่ผู้กู้ และให้ผู้กู้ลงชื่อไว้เป็นหลักฐาน กรณีจำเป็นต้องแก้ไขเพิ่มเติมสาระสำคัญของสัญญา มี 2 วิธี ♦ แก้ไขข้อความในสัญญา - ต้องสำเนาหลักฐานที่มาของการแก้ไขมาแนบไว้กับสัญญา - ให้นำสัญญาคู่ฉบับมาแก้ไข และต้องลงลายมือชื่อของคู่สัญญาในที่มีการแก้ไข ให้ครบถ้วนทุกแห่งที่มีการแก้ไข และต้องมีข้อความตรงกันทั้งต้นฉบับและคู่ฉบับ ♦ ทำสัญญาแนบท้าย ตามแบบที่กำหนด - ให้ผู้ค้ำประกันยินยอมเป็นหนังสือ (กรณีสัญญากู้ยืม) สัญญาที่มีกำหนดระยะเวลา ต้องปฏิบัติตามข้อกำหนดโดยเคร่งครัด ♦ สัญญากู้ยืม ให้แจ้งเตือนก่อนวันนัด 30 วัน /ให้มีหนังสือเร่งรัดชำระหนี้ กรณีมีการผ่อนผันจะต้องกระทำก่อนวันกำหนดนัด ตามหลักเกณฑ์ที่กำหนด

8 การบังคับชำระหนี้ ผู้กู้ /ผู้เช่าที่ดิน/ผู้เช่าซื้อ ผิดนัดชำระหนี้ +ไม่ได้รับการผ่อนผัน ให้ ส.ป.ก.จังหวัด มีหนังสือแจ้งเตือน/เมื่อผู้กู้ผิดนัดจะเรียกให้เกษตรกร ผู้ค้ำประกันมาชำระหนี้ได้ ผู้กู้ผิดนัด 2 งวดติดต่อกันบอกเลิกสัญญา เข้าสู่กระบวนการสิ้นสิทธิการเข้าทำประโยชน์ที่ดิน บังคับชำระหนี้ตามป.พ.พ.

9 การโอนกรรมสิทธิ์ในที่ดิน(ตามสัญญาเช่าซื้อ)
ผู้เช่าซื้อจ่ายค่าเช่าซื้อครบตามสัญญา ส.ป.ก.จังหวัด ตรวจสอบหลักฐานการโอน/ตกทอดมรดกสิทธิ ส.ป.ก. ได้รับหนังสือแสดงสิทธิในที่ดินแปลงที่เช่าซื้อแล้ว กรณีผลรังวัดต่างจากสัญญาให้คำนวณมูลค่าที่ดินตามเนื้อที่ใหม่(ปรับตามส่วน) ผู้เช่าซื้อเป็นผู้จ่ายค่าธรรมเนียมโอน/ค่าภาษี/ค่ารังวัด การจดทะเบียนในสารบัญจดทะเบียน ให้จดข้อห้ามตาม ม. 39 ว่า “ ที่ดินแปลงนี้ตกอยู่ในบังคับห้ามแบ่งแยก หรือโอนตามมาตรา 39แห่งพระราชบัญญัติการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ. 2518” ( หนังสือกรมที่ดิน ที่ มท 0708/ว 9004 ลว. 2 พ.ค. 31)


ดาวน์โหลด ppt กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงาน กองทุนการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google