งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

โครงการบริหารงานจังหวัดแบบบูรณาการ ในทัศนะของ กรรมการตรวจเงินแผ่นดิน โดย ดร.สำราญ ภูอนันตานนท์ กรรมการตรวจเงินแผ่นดิน ๘ ก.ค.๔๘.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "โครงการบริหารงานจังหวัดแบบบูรณาการ ในทัศนะของ กรรมการตรวจเงินแผ่นดิน โดย ดร.สำราญ ภูอนันตานนท์ กรรมการตรวจเงินแผ่นดิน ๘ ก.ค.๔๘."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 โครงการบริหารงานจังหวัดแบบบูรณาการ ในทัศนะของ กรรมการตรวจเงินแผ่นดิน โดย ดร.สำราญ ภูอนันตานนท์ กรรมการตรวจเงินแผ่นดิน ๘ ก.ค.๔๘

2 แนวการบริหารราชการยุคใหม่ ๑.พรรคการเมืองที่จัดตั้งรัฐบาลมีนโยบายการ บริหารราชการแผ่นดินชัดเจนและมีการ ปฏิบัติตามนโยบายอย่างจริงจัง ๒.นโยบายมีลักษณะเป็นด้าน มีความเป็นบูรณา การสูง ๓.มีการจัดลำดับความสำคัญของโครงการ ๔.งบประมาณจัดสรรสำหรับโครงการหลักเป็น เงินจำนวนมาก

3 ระบบการบริหารราชการแบบบูรณาการ ในระดับจังหวัด กรอบแนวคิด ๑. เพื่อให้เกิดการ”ร่วมคิด ร่วมทำ ร่วมรับผิดชอบ” ๒. เพื่อกระจายอำนาจการบริหาร ๓. เพื่อกระจายการบริหาร งบประมาณ

4 ระบบการบริหารราชการแบบบูรณาการ ในระดับจังหวัด แนวทางปฏิบัติ ๑. จัดตั้งคณะกรรมการเพื่อบริหาร เพื่อการพัฒนา เพื่อพิจารณาการลงทุน เพื่อการติดตาม ๒. สร้างโครงการที่มีวัตถุประสงค์ชัดเจน มี ลักษณะการเชื่อมโยงกันกับนโยบายทั้งในระดับ ท้องถิ่น จังหวัด กระทรวง ประเทศ และสอดคล้องกับทรัพยากรของท้องถิ่น ๓. โครงการต่างๆที่คิดขึ้นควรคุ้มค่าต่อการลงทุน ๔. มีการติดตามอย่างเป็นระบบด้วยระบบ ฐานข้อมูลและของจริง

5 บทบาทสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน ตรวจสอบการใช้จ่ายเงินงบประมาณแผ่นดินให้เกิดความ คุ้มค่า ๑. ตรวจสอบงบการเงิน ( FINANCIAL AUDIT ) - งบการเงินทั่วไป - งบดุล ๒. ตรวจสอบการปฏิบัติตามระเบียบ กฎหมาย (COMPLIANCE AUDIT) - การจัดซื้อจัดจ้าง - การสืบสวนสอบสวน ๓. ตรวจสอบการดำเนินงาน (PERFORMANCE AUDIT)

6 แนวคิดการตรวจเงินแผ่นดินยุคใหม่ มาตรการป้องปราม - การใช้ระบบ IT เพื่อช่วยการตรวจสอบ - การใช้มาตรการเพื่อพัฒนามาตรฐานงาน - การเสนอแนะแก้ไขปรับปรุงกฏ ระเบียบที่เป็น อุปสรรคต่อการปฏิบัติราชการ มาตรการตรวจสอบความคุ้มค่าการใช้จ่ายเงินงบประมาณ แผ่นดิน - ผลสำเร็จของโครงการได้ตรงตามวัตถุประสงค์ - โครงการสามารถส่งผลต่อเนื่องสู่โครงการอื่น

7 การพิจารณาความคุ้มค่าการใช้จ่ายเงิน งบประมาณของโครงการ โครงการต่างๆที่จัดตั้งขึ้น วัตถุประสงค์ - ล้มเหลวสูญเสียงบประมาณ - ได้ผลผลิตยังไม่บรรลุวัตถุประสงค์ - ได้ผลลัพธ์บรรลุวัตถุประสงค์

8 แนวทางการตรวจสอบโครงการ ซีอีโอ ๑. การพัฒนาการปฏิบัติการของคณะกรรมการเพื่อการ บริหาร เพื่อการพัฒนา เพื่อพิจารณาการลงทุน เพื่อการติดตามการปฏิบัติงาน ๒. โครงการที่มีวัตถุประสงค์ชัดเจน มีลักษณะการ เชื่อมโยงกันกับนโยบายทั้งในระดับ ท้องถิ่น จังหวัด กระทรวง ประเทศและ สอดคล้องกับทรัพยากรของท้องถิ่น ๓. โครงการต่างๆที่คิดขึ้นควรคุ้มค่าต่อการลงทุนทั้งภาค เศรษฐกิจและ/หรือสังคม ๔. มีการจัดทำระบบฐานข้อมูลเพื่อการติดตาม( MIS-EIS )

9 วิเคราะห์ตัวอย่างการสร้างโครงการ - โครงการบริการไฟฟ้าโดยระบบโซล่าเซลล์ - โครงการสร้างเมืองใหม่บริเวณชายแดน - โครงการกำจัดขยะโดยระบบเตาเผาและระบบฝังกลบ - โครงการจัดสร้างตลาดกลางเพื่อส่งเสริม OTOP - โครงการส่งเสริมการท่องเที่ยว - ฯลฯ

10 ระบบการบริหารราชการแบบบูรณาการใน ระดับจังหวัด สรุป ๑. เป็นจุดเปลี่ยนของการเกิดแนวคิดการบริหารแบบ ครบวงจรในระดับจังหวัดหรือท้องถิ่น ๒. สนับสนุนแนวทางการพัฒนาอย่างยั่งยืนและช่วย เป็นเกราะป้องกันภัยจากวิกฤตเศรษฐกิจได้ดี ๓. การตรวจสอบความสำเร็จของโครงการต่างๆจะเป็น ดัชนีชี้วัดอัตราการพัฒนาของท้องถิ่นการพัฒนา ทรัพย์สินเชิงบุคลากร


ดาวน์โหลด ppt โครงการบริหารงานจังหวัดแบบบูรณาการ ในทัศนะของ กรรมการตรวจเงินแผ่นดิน โดย ดร.สำราญ ภูอนันตานนท์ กรรมการตรวจเงินแผ่นดิน ๘ ก.ค.๔๘.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google