งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

Programmable Controller

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "Programmable Controller"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 Programmable Controller
ตอนที่ 3 โปรแกรมเมเบิ้ลคอนโทรลเลอร์ Programmable Controller

2 Hardwire VS Programming

3 วงจร Relay Normally Closed (NC) Normally Open (NO) Output ( )

4 EX.1 วงจรทำงานชั่วขณะ แลดเดอร์ไดอะแกรม กำหนดให้ S1 = I0.1 S2 = I0.2
K1 = Q0.1 แลดเดอร์ไดอะแกรม I0.1 I0.2 Q0.1 I . 2 I . 1 Q . 1

5 I1 I2 Q1 ( ) Q1 Q1 Q2 ( ) แลดเดอร์ไดอะแกรม

6 จุดประสงค์การสอน มีความเข้าใจและอธิบายโครงสร้างพื้นฐานของ PC / PLC

7 เนื้อหาสาระ 2. ความหมายของ PC / PLC 3. โครงสร้างพื้นฐานของ PC / PLC
4. อุปกรณ์อินพุท 5. อุปกรณ์เอาท์พุท

8 ประวัติความเป็นมา ปี 1968 ระบบควบคุม  PLC  ถูกนำเสนอครั้งแรกโดยเหตุผลที่จะนํามา แทนที่ระบบรีเลย์แบบเก่าที่ยุ่งยากซับซ้อน และมีค่าใช้จ่ายสูง โดย บริษัท General motors

9 ประวัติความเป็นมา ปี PLC ตัวแรกถูกผลิตมาใช้ในงานอุตสาหกรรมประกอบรถยนต์ เพื่อใช้แทน ระบบแผงวงจรรีเลย์

10 ประวัติความเป็นมา ปี 1971 เริ่มมีการนำ PLC มาใช้ใน งานอุตสาหกรรมอื่นๆ
ปี เปิดตัว PC ที่มีคุณสมบัติใน การคำนวณทางคณิตศาสตร์ การพิมพ์ ข้อมูล การแสดงผลข้อมูลทาง จอภาพ

11 ปี 1975 เปิดตัว Analog Module
ปี 1976 ใช้ PC เป็นครั้งแรกในการ ควบคุมระบบ Control Fully หรือ Automatic system ปี เปิดตัว PC ขนาดเล็กโดยใช้ Microprocessor Technology

12 ปี 1979 การทำงานของเครื่องจักร สื่อสารผ่าน PC ได้เป็นครั้งแรก
ปี1980เปิดตัวInput/output Module, High speed counter Module, Position Module และยังมีการพัฒนา PC ให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้นด้วย

13 ความหมายของ PC / PLC PC : Programmable controller
PLC : Programmable Logic Controller PBS : Programmable Binary System

14 เครื่องควบคุมอัตโนมัติที่สามารถโปรแกรมได้
จะเรียก PC หรือ PLC ?

15 โครงสร้างพื้นฐานของ PLC
INPUT UNIT CPU MEMORY OUTPUT UNIT POWER SUPPLY

16 PROGRAM MEMORY CPU DATA IN PUT UNIT POWER SUPPLY OUT

17 Input unit Input unit หรือ หน่วยอินพุท ทำหน้าที่รับสัญญาณส่งต่อไปยัง CPU หรือ หน่วยประมวลผล เพื่อนำไปประมวลผลอาจอยู่ในรูปสัญญาณ ON / OFF หรือ สัญญาณ Analog

18 INPUT DEVICE IN PUT UNIT CPU
PUSH BUTTON IN PUT UNIT LIMIT SWITCH CPU SENSOR ETC.

19 NPN INPUT OPTO COUPLE

20 PNP INPUT OPTO COUPLE

21 INPUT DEVICE สัญญาณอินพุตจะเป็นสัญญาณแบบรีเลย์, พัลส์, แรงดัน(VDC) หรือกระแสสัญญาณเหล่านี้ได้จะถูกส่งมาจากอุปกรณ์อินพุท เมื่อ PLC ได้รับสัญญาณอินพุทแล้ว จะนำสัญญาณที่ได้ไปประมวลผล

22 INPUT DEVICE ROTARY ENCODER PROXIMITY SWITCH

23 Input device

24

25 สัญญาณเอาท์พุทของเซนเซอร์แบบ ดิจิตอล
I0.0 , I0.1 , I0.2 ,…I0.7, I1.0…………

26 เซนเซอร์ที่ให้สัญญาณเอาท์พุทแบบอนาล็อก
เซนเซอร์วัดการไหล เซนเซอร์วัดอุณหภูมิ เซนเซอร์วัดความดัน เซนเซอร์วัดระดับ

27 สัญญาณเอ๊าท์พุทของเซนเซอร์ อนาล็อก
0% (4mA,0V)‏ 100% (20mA,10V)‏ สัญญาณกระแสไฟฟ้า 0-20mA , mA สัญญาณแรงดันไฟฟ้า 1 - 5 V, V สัญญาณนิวเมติกส์ psi, kg/cm2

28 Input ADC Output หน่วยอนาล็อกอินพุท ADC

29 CPU : Central processing unit
CPU หรือ หน่วยประมวลผลกลาง ทำหน้าที่ควบคุม และจัดการระบบการทำงานทั้งหมดภายใน PLC เช่น สั่งให้ระบบ PLC ทำงานตามคำสั่งโปรแกรม ควบคุมการรับส่งข้อมูลภายใน PLC ควบคุมการรับส่งข้อมูล

30 MEMORY ทำหน้าที่เก็บรักษาโปรแกรมและข้อมูลที่ใช้
ในการทำงาน โดยขนาดของหน่วยความจำ จะถูกแบ่งออกเป็นบิตข้อมูล(Data Bit) ภายในหน่วยความจำ 1 บิต ก็จะมีค่าสภาวะ ทางลอจิก 0 หรือ 1 แตกต่างกันแล้วแต่คำสั่ง

31 MEMORY 1. RAM ทำหน้าที่เก็บโปรแกรมของผู้ใช้และ
ข้อมูลที่ใช้ในการปฏิบัติงานของ PLC หน่วยความจำประเภทนี้จะมีแบตเตอรี่เล็กๆ ต่อไว้เพื่อใช้เป็นไฟเลี้ยงข้อมูลเมื่อเกิดไฟดับ การอ่านและการเขียนข้อมูลลงใน RAM

32 MEMORY 2. ROM ทำหน้าที่เก็บโปรแกรมสำหรับใช้ในการปฏิบัติงานของ PLC ตามโปรแกรมของผู้ใช้ หน่วยความจำแบบ ROM

33 Peripheral device PROGRAM MEMORY DATA MEMORY CPU

34 Peripheral device

35 OUTPUT UNIT RELAY CONTACTOR SOLENOIL LAMP ETC. CPU OUT PUT UNIT

36 ข้อแตกต่างของเอาท์พุท
ทรานซิสเตอร์ มีความเร็วในการทำงาน (ON/OFF) ได้สูง รีเลย์ สามารถใช้ไฟฟ้าได้ทั้ง AC หรือ DC

37 อุปกรณ์ภาคเอาท์พุทแบบดิจิตอล แม็กเนติคคอนแทคเตอร์
โซลีนอยด์วาล์ว หลอดไฟ รีเลย์

38 ลักษณะของอุปกรณ์เอาท์พุทแบบดิจิตอล
Q0.0 , Q0.1 , Q0.2 ,…………Q0.7, Q1.0………

39 ของเซนเซอร์แบบ ดิจิตอล
สัญญาณเอาท์พุท ของเซนเซอร์แบบ ดิจิตอล Hi Lo Relay Output ใช้ได้ทั้ง AC. และ DC. DC Output (Transistor Output) ได้แก่ NPN, PNP AC Output (Triac Output)‏

40 อุปกรณ์ที่มาต่อกับภาคเอาท์พุท
แบบอนาล็อก อินเวอเตอร์ คอนโทรลวาล์ว

41 เอ๊าท์พุท แบบ อนาล็อก AQW0 , AQW2

42 ลักษณะการนำไปใช้งาน เซนเซอร์ อุปกรณ์ขับโหลด ตัวควบคุม โหลด

43 ลักษณะการนำไปใช้งาน ฮีทเตอร์ ต้มน้ำ

44 หน่วยอนาล็อกเอาท์พุท
DAC หน่วยอนาล็อกเอาท์พุท

45 ขนาดของ PLC จำนวน I/Oสูงสุด หน่วยความจำโปรแกรม ขนาดเล็ก ไม่เกิน 128 4 Kbytes ขนาดกลาง ไม่เกิน 1024 16 Kbytes ขนาดใหญ่ ไม่เกิน 2048 64 Kbytes ขนาดใหญ่ มาก ประมาณ 8192 256 Kbytes

46

47 3 ปรับปรุงสถานะของเอาท์พุท
PLC ทำงานอย่างไร ? 1 ตรวจสอบสถานะของอินพุท 2 ประมวลผลโปรแกรม 3 ปรับปรุงสถานะของเอาท์พุท 1 Scan Time

48 ภาษาที่ใช้เขียนโปรแกรม
ใน PLC S7-200

49 ภาษาที่ใช้เขียนโปรแกรมใน PLC S7-200 2. FUNCTION BLOCK DIAGRAM ( FBD )
1. LADDER DIAGRAM ( LAD ) 2. FUNCTION BLOCK DIAGRAM ( FBD ) 3. STATEMENT LIST ( STL )

50 Windows 95 ขึ้นไป การโปรแกรม USB RS 232

51 ความรู้พื้นฐานทางดิจิตอล
สัปดาห์ที่ 4 ความรู้พื้นฐานทางดิจิตอล


ดาวน์โหลด ppt Programmable Controller

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google