งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ในการให้รหัสโรคตามมาตรฐาน ICD-10

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ในการให้รหัสโรคตามมาตรฐาน ICD-10"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ในการให้รหัสโรคตามมาตรฐาน ICD-10
การอบรมพัฒนาศักยภาพบุคลากรระดับปฐมภูมิ ในการให้รหัสโรคตามมาตรฐาน ICD-10

2 บัญชีจำแนกโรคระหว่างประเทศ
ICD ย่อมาจากอะไร ICD International Statistical Classification of Diseases and related Health Problems บัญชีจำแนกโรคระหว่างประเทศ

3 ICD-10 เป็นระบบการจัดหมวดหมู่ของความเจ็บป่วย (โรค, การบาดเจ็บ) รวมทั้งปัญหาสุขภาพอื่นๆ โดยกำหนดรหัสแทนการเรียกชื่อโรค ใช้ในการรวบรวมข้อมูลความเจ็บป่วย เพื่อประโยชน์ทางระบาดวิทยา และการบริหารด้านสุขภาพ องค์การอนามัยโลก (WHO) ใช้เป็นเครื่องมือหลักเพื่อจัดเก็บ, บันทึกข้อมูล และจัดทำเป็นสถิติการเจ็บป่วย/ตายของประชากรโลก

4 ผู้ให้รหัสโรค (Medical coder)
ความรู้ - ภาษาอังกฤษ – ไทย - ศัพทย์แพทย์ - กายวิภาคและสรีรศาสตร์ /การดำเนินโรค - คอมพิวเตอร์ อุปกรณ์/เครื่องมือ - Dictionary Eng-Thai : Thai - Eng - หนังสือศัพทย์แพทย์ - หนังสือกายวิภาคและสรีรศาสตร์ - คอมพิวเตอร์/Internet

5 ICD-10 ICD-10 มีประโยชน์อย่างไร ถูกนำมาใช้ประโยชน์ในด้าน ระบาดวิทยา
เวชสถิติ ระบบเวชสารสนเทศ การวางแผนยุทธศาสตร์ การเบิกจ่ายค่ารักษาพยาบาล

6 ICD ฉบับที่เกี่ยวข้อง
ICD-10 WHO th Revision of ICD ICD-10-TM Thai modification of ICD-10 ICD-10-TM for PCU Thai modification of ICD-10 for Primary Care Unit

7 เล่ม 3 = ทฤษฎี/แบบฝึกหัด
ICD-10-TM for PCU เล่ม 1 = รหัส เล่ม 2 = ดรรชนี เล่ม 3 = ทฤษฎี/แบบฝึกหัด Procedure (หัตถการ)

8 การให้รหัสโรค ICD-10-TM for PCU
ICD-10-TM for PCU เป็นชุดของรหัสโรค ที่ได้มาจาก การคัดเลือกรหัสบางรายการมาจากรหัสทั้งหมดใน International Statistical Classification of Diseases and Related Health Problems, 10th Revision (ICD-10/WHO) , ICD-10-TM (Thai Modification) โดยพิจารณาเลือกเฉพาะรหัสการวินิจฉัยโรค ภาวะ และ อาการที่ซึ่งน่าจะพบได้ในสถานพยาบาลระดับปฐมภูมิ (Primary Care Unit) ตัดรหัสโรคที่ไม่พบหรือพบได้น้อยในประเทศไทย และรหัสโรคที่สลับซับซ้อนออกไป เหลือเพียงรหัสส่วนน้อยมา เพื่อใช้เป็นชุดรหัสที่เหมาะสมกับการใช้งานในสถานพยาบาลระดับปฐมภูมิ ให้ใช้งานง่ายกว่าการใช้รหัส ICD-10-TM ทั้งหมด

9 ICD-10-TM for PCU (Index)
เล่ม 2 = ดรรชนี

10 คำและสัญลักษณ์ วงเล็บ ( )
- คำที่อยู่ในวงเล็บจะมีหรือไม่มีก็ได้ - จะมีมากกว่า 1 คำก็ได้ Benign hypertension Idiopathic hypertension Malignant systemic hypertension ทั้งหมดนี้จะได้รหัสแนะนำ คือ I10 เหมือนกัน

11 คำและสัญลักษณ์ วงเล็บ ( ) - คำที่อยู่ในวงเล็บเป็นคำแนะนำ
Hyperemesis คำในวงเล็บบอกว่าให้ไปดูคำว่า Vomiting ด้วย Hypomenorrhea คำในวงเล็บบอกว่าให้ไปดูคำว่า Oligomenorrhea ด้วย

12 คำและสัญลักษณ์ คำว่า see
Candidosis – see Candidiasis ผู้ใช้ต้องค้นหารหัสโดยใช้คำว่า Candidiasis แทน Candidosis Infection -bone see Osteomyelitis ให้เปลี่ยนคำที่ใช้ค้นหาเป็นคำว่า Osteomyelitis

13 คำและสัญลักษณ์ คำว่า see also
Enlargement, enlarged –see also Hypertrophy ผู้ใช้ควรเปิดหารหัสภายใต้คำ Hypertrophy ด้วย Osteoarthrisis – see also Arthrosis ผู้ใช้ควรเปิดหารหัสภายใต้คำ Arthrosis ด้วย

14 คำและสัญลักษณ์ คำว่า see condition
ตัวอย่างเช่น Active – see condition คำว่า Active แปลว่าอาการของโรคยังคงอยู่ เป็นคำขยายไม่ใช่คำหลัก Chronic – see condition คำว่า Chronic แปลว่า โรคเรื้อรัง ซึ่งก็เป็นคำขยายเช่นเดียวกัน

15 คำและสัญลักษณ์ คำว่า see, see also
- เมื่อพบคำเหล่านี้ ให้หาคำขยายภายใต้คำหลักก่อน ถ้าไม่พบจึงเปลี่ยนไปใช้หรือทำตามคำแนะนำ ให้ดูคำขยายภายใต้คำหลัก Disease ก่อนว่ามีคำขยายครอบคลุมคำวินิจฉัยหรือไม่ ถ้าไม่มีจึงเปลี่ยนไปใช้คำหลักว่า Syndrome แทน

16 คำและสัญลักษณ์ คำว่า NEC
NEC เป็นสัญลักษณ์ที่ย่อมาจากคำเต็มว่า Not Elsewhere Classified แสดงความหมายว่า คำที่ใช้ค้นหารหัสนี้จะทำให้รหัสตกอยู่ในกลุ่ม รหัสอื่นๆที่ไม่ถูกจัดกลุ่มไว้อย่างชัดเจน เป็นคำเตือนว่า อาจมีรหัสโรคที่ดีกว่านี้ หากผู้ใช้ ICD-10 พบคำนี้ในการค้นหา รหัสโรค ก็ต้องเพิ่มความระมัดระวังและตรวจสอบหารายละเอียดเพิ่มเติมจากในเวชระเบียนผู้ป่วย รวมทั้งมองหารหัสอื่นๆที่อาจมีความชัดเจนกว่ามาแทน

17 คำและสัญลักษณ์ คำว่า NEC ตัวอย่าง
แพทย์วินิจฉัยโรคว่า Bacterial infection จะได้รหัส A49.9 และ มีสัญลักษณ์ NEC กำกับอยู่ เพื่อบอกให้ทราบว่าเป็นรหัสที่มีคุณภาพต่ำ(มีรายละเอียดโรคน้อยเกินไป) ผู้ใช้ควรค้นหาข้อมูลเพิ่มเติม เช่น หาตำแหน่งที่ติดเชื้อ หรือชนิดของเชื้อโรคที่ทำให้เกิดโรค จากเวชระเบียนผู้ป่วย แล้วค่อยค้นหารหัสใหม่ อาจจะทำให้ได้รหัสโรคที่มีคุณภาพมากกว่า

18 รหัสเหล่านี้ใช้ไม่ได้
คำและสัญลักษณ์ สัญลักษณ์ .-(จุดขีด) สัญลักษณ์ .-(จุดขีด) สัญลักษณ์นี้ มักปรากฎอยู่ท้ายรหัสที่ยังไม่สมบูรณ์ หากผู้ใช้พบรหัสใดที่ลงท้ายด้วยสัญลักษณ์ .- นี้ ต้องทำการค้นหาข้อมูลเพิ่มเติมว่ารหัสดังกล่าวใช้ไม่ได้ต้องหารหัสมาใส่เพิ่มให้ครบ เช่น รหัสเหล่านี้ใช้ไม่ได้

19 โครงสร้าง Contents Section I. Alphabetical index to diseases and nature of injury Section II. External causes of injury Section III. Table of drugs and chemicals

20 โครงสร้าง ดรรชนี ประกอบด้วย 1. คำหลัก (lead term) ตัวทึบ
2. คำอธิบาย/แนะนำ 3. คำขยาย (modifier) 4. รหัสที่อาจเป็นได้ นำรหัสที่อาจเป็นได้ไปตรวจความถูกต้องที่เล่มตารางการจัดกลุ่มโรคเสมอ

21 Acute upper respiratory disease = ?
ลักษณะการขยาย คำหลัก - (1 ขีด) ขยาย คำหลัก(ตัวทึบ) - - (2 ขีด) ขยาย – (1 ขีด) (3 ขีด) ขยาย - - (2 ขีด) (เหนือขีดที่มีจำนวนน้อยกว่า ) เช่น - airway, obstructive, chronic - respiratory ขยาย Disease - - upper - - virus ขยาย respiratory Acute upper respiratory disease = ? - - - acute or sub acute ขยาย upper J06.9

22 แบ่งเรียงตามตัวอักษรภาษาอังกฤษ (A-Z)
Section II. External causes of injury แบ่งเรียงตามตัวอักษรภาษาอังกฤษ (A-Z) ประกอบด้วย 1. คำหลัก=ตัวทึบ 2. คำขยาย 3. คำอธิบาย/แนะนำ 4. รหัสแนะนำเบื้องต้น (มีเฉพาะรหัส V,W,X,Y)

23 แบ่งเรียงตามตัวอักษรภาษาอังกฤษ (A-Z)
Section II. External causes of injury แบ่งเรียงตามตัวอักษรภาษาอังกฤษ (A-Z) การขยายความมาย - ขยาย คำหลัก(ตัวทึบ) - - ขยาย ขยาย - - เช่น - transport vehicle ขยาย Crash - - motor - - suicide ขยาย transport vehicle homicide suicide ขยาย motor

24 Section III. Table of drugs and chemicals
ตารางยาและสารเคมี ชื่อยา/สารเคมี ผลจากการรักษา เรียงจาก A-Z รหัส ไม่เจตนา เจตนา ไม่ทราบ A Z

25 ICD-10-TM for PCU (Tubular list)
เล่ม 1 = รหัส

26 คำและสัญลักษณ์ คำว่า AND
คำว่า and ในภาษา ICD-10 หมายความถึง และ/หรือ โดยมักแสดงการรวมกันในลักษณะมีคำที่อยู่หน้าและหลัง AND ทั้งสองคำ หรือคำใดคำหนึ่งก็ได้ ตัวอย่างเช่น รหัส A18.0 Tuberculosis of bones and joint อาจหมายความได้ 3 รูปแบบ คือ 1. Tuberculosis of bones 2. Tuberculosis of joint 3. Tuberculosis of bones and joint

27 คำในวงเล็บสี่เหลี่ยม [ ]
คำและสัญลักษณ์ คำในวงเล็บสี่เหลี่ยม [ ] คำในวงเล็บสี่เหลี่ยม [ ] ในหนังสือ ICD-10 หากพบวงเล็บสี่เหลี่ยมล้อมรอบข้อความใด มักมีความหมายเป็นสองกรณีคือ กรณีที่ 1 เป็นชื่อโรคที่ใช้เรียกแทนกันได้ เช่น Acute nasopharyngitis [common cold] กรณีที่ 2 แสดงคำย่อ เช่น human immunodeficiency virus [HIV]

28 คำและสัญลักษณ์ สัญลักษณ์ NOS สัญลักษณ์ NOS
NOS ย่อจากคำว่า Not Otherwise Specified เป็นเครื่องหมาย แสดงความกำกวมของรหัส หาก สัญลักษณ์นี้กำกับอยู่กับรหัสใด ขอให้ผู้ใช้ตรวจสอบข้อมูลเพิ่มเติมจนแน่ใจว่า ไม่สามารถหารายละเอียดของ โรคที่ชัดเจนมากกว่านี้อีกแล้ว ค่อยเลือกใช้รหัสนั้น เช่น

29 คำและสัญลักษณ์ สัญลักษณ์ NEC - ย่อมาจาก “not elsewhere classified”
- รหัสที่มีคำนี้อยู่ แสดงว่าเป็นรหัสที่ได้ไม่ถูกจัดกลุ่มไว้อย่างชัดเจน หรือไม่ได้ถูกจัดไว้ในกลุ่มรหัสอื่น - เป็นคำเตือนว่า อาจมีรหัสโรคที่ดีกว่านี้ หรือมีรหัสอื่นๆ ที่อาจ มีความชัดเจนกว่า

30 คำและสัญลักษณ์ สัญลักษณ์วงเล็บ ( )
กรณีที่ 1 ใช้บอกว่าคำที่อยู่ในวงเล็บไม่ว่าจะมีหรือไม่มี ให้ใช้รหัส เดียวกัน เช่น I10 ความดันโลหิตสูง (หลอดเลือดแดง) (ไม่ร้าย) (ไม่ทราบสาเหตุ) (ร้าย) (ปฐมภูมิ) (ทั่วร่างกาย) กรณีที่ 2 ใช้ประกอบคำว่า “ไม่รวม” เพื่อแสดงว่าการวินิจฉัยนั้น ตรงกับรหัสใด เช่น H11.0 ต้อเนื้อ ไม่รวม: ต้อเนื้อเทียม (H11.8) กรณีที่ 3 ใช้ระบุรหัส 3 หลักที่อยู่ในกลุ่มโรค เช่น เนื้องอก (C00-D48) กรณีที่ 4 ใช้ระบุรหัสกริชหรือรหัสดอกจันที่คู่กัน เช่น M90.0* Tuberculosis of bone (A18.0†) หมายเหตุ กรณีที่ 4 ไม่มีใน ICD-10-TM for PCU

31 คำและสัญลักษณ์ คำว่า Include (รวม) หมายถึงให้รวมโรคหรือภาวะที่ผิดปกติ หรือข้อความที่ระบุนั้น อยู่ในกลุ่มรหัสหรือรหัสนี้ด้วย คำว่า Exclude(ไม่รวม) จะวงเล็บบอกว่าโรคหรือภาวะที่ไม่รวมถึง นั้นใช้รหัสใด(ไปใช้รหัสนั้น)

32 ICD-10-TM for PCU (Tubular list)
โครงสร้าง เล่ม 1 = รหัส - บท (21 บท) - หมวด(ต้นบท) - หมวด, รหัส

33 บท : มี 21 บท บทที่ 1 โรคติดเชื้อและโรคปรสิตบางโรค (A00-B99)
2 เนื้องอก (C00-D48) 3 โรคของเลือดและอวัยวะสร้างเลือดและความผิดปกติบางอย่างของกลไกภูมิคุ้มกัน (D50-D89) 4 โรคของต่อมไร้ท่อ โภชนาการ และเมตะบอลิซึม (E00-E90) 5 ความผิดปกติทางจิตและพฤติกรรม (F00-F99) 6 โรคของระบบประสาท (G00-G99) 7 โรคของตาและอวัยวะเคียงลูกตา (H00-H59) 8 โรคของหูและปุ่มกระดูกกกหู (H60-H95) 9 โรคของระบบไหลเวียนโลหิต (I00-I99) 10 โรคของระบบหายใจ (J00-J99) 11 โรคของระบบย่อยอาหาร (K00-K93) 12 โรคของผิวหนังและเนื้อเยื่อใต้ผิวหนัง (L00-L99) 13 โรคของระบบกล้ามเนื้อโครงร่างและเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน (M00-M99) 14 โรคของระบบสืบพันธุ์และระบบปัสสาวะ (N00-N99) 15 การตั้งครรภ์ การคลอด และระยะหลังคลอด (O00-O99) 16 ภาวะบางอย่างที่เริ่มต้นในระยะปริกำเนิด (P00-P96) 17 รูปผิดปกติแต่กำเนิด รูปพิการ และความผิดปกติของโครโมโซม (Q00-Q99) 18 อาการ อาการแสดง และความผิดปกติที่พบจากการตรวจทางคลินิกและทางห้องปฏิบัติการ มิได้จำแนกไว้ที่ใด (R00-R99) 19 การบาดเจ็บ การเป็นพิษ และผลสืบเนื่องบางอย่างของสาเหตุภายนอก (S00-T98) 20 สาเหตุภายนอกของการเจ็บป่วย และการตาย (V01-Y98) 21 ปัจจัยที่มีผลต่อสถานะสุขภาพและการรับบริการสุขภาพ (Z00-Z99)

34 หมวด (Block) กลุ่ม(รหัส)ของโรค (Disease Blocks) เช่น

35 กลุ่มรหัสโรคและรหัส (Block and Rubric)
กลุ่มรหัส (A00-A09) รหัส (A00.9, A01.1, A01.4, A02.9, A03.9, A04.9, A05.9, A06.9, A09)

36 (Disease categories and Rubric)
หมวดและรหัส (Disease categories and Rubric) ใน ICD-10-TM เล่มมาตรฐาน ประกอบด้วยกลุ่มรหัสและรหัส เช่น หมวดรหัส (J02) รหัส (J02.0, J02.8, J02.9)

37 หลักการจัดรหัส ICD-10 O P โรคและปัญหาสุขภาพในมนุษย์
จัดขั้นที่ 1 ตามลักษณะผู้ป่วย หญิงตั้งครรภ์, คลอดบุตร หรือหลังคลอด O P ทารกแรกเกิด อายุ 28 วัน บุคคลอื่น

38 หลักการจัดรหัส ICD-10 A, B C, D Q S, T บุคคลอื่น
จัดขั้นที่ 2 ตามสาเหตุ A, B C, D โรคติดเชื้อ เนื้องอก-มะเร็ง Q พิการแต่กำเนิด S, T การบาดเจ็บ สาเหตุอื่น

39 จัดขั้นที่ 3 ตามระบบอวัยวะ
หลักการจัดรหัส ICD-10 สาเหตุอื่น จัดขั้นที่ 3 ตามระบบอวัยวะ D50-D89 โรคเลือด หัวใจและหลอดเลือด I E โรคต่อมไร้ท่อ ระบบหายใจ J F โรคจิต ระบบทางเดินอาหาร K G ระบบประสาท โรคผิวหนัง L H00-H59 โรคตา กระดูกและกล้ามเนื้อ M H60-H95 โรคหู คอ จมูก ปัสสาวะและสืบพันธุ์ N กรณีอื่น

40 หลักการจัดรหัส ICD-10 กรณีอื่น R วินิจฉัยโรคไม่ได้ บริการสุขภาพ Z
V, W, X, Y สาเหตุภายนอก รหัสพิเศษ U

41 ลักษณะของรหัส ICD-10-TM & for PCU
 เป็นรหัสตัวอักษรผสมตัวเลข (AlphaNumeric)  แต่ละรหัสขึ้นต้นด้วยตัวอักษรภาษาอังกฤษตัวพิมพ์ใหญ่ ตั้งแต่ A ถึง Z ตามด้วยเลขอารบิก 3 – 6 หลัก  การนับ นับตัวอักษรเป็นหลักที่ 1  ระหว่างหลักที่ 3 และ 4 มีจุดคั่น เช่น R56.0 การชักจากไข้สูง  การคีย์ข้อมูล ระวัง I > 1, O > 0, Z > 2

42 ลักษณะของรหัส ICD-10-TM for PCU
English A09 (3 หลักไม่มีจุด) A Diarrhoea and gastroenteritis of presumed infectious origin K Constipation V Motorcycle rider injured in noncollision transport accident during back from work S Closed fracture of proximal humerus, unspecified 3 มีจุดคั่นหลักที่ 3 กับ K59.0 V28.42 S42.209 4 5 6 Thai 3 A ท้องร่วง K ท้องผูก V ขับมอเตอร์ไซค์ล้มเองขณะไปทำงาน S กระดูกต้นแขนปลายบนหักแบบปิด 4 5 6

43 การให้รหัสทางการแพทย์
Procedure (หัตถการ) เล่ม 1 = รหัส เล่ม 2 = ดรรชนี การให้รหัสทางการแพทย์ Medical coding 43

44 ปัจจัยพื้นฐานของคุณภาพการให้รหัส
ความถูกต้อง เป็นรหัสที่ถูกต้องตรงกับโรคที่ผู้ป่วยเป็น มีรหัสครบถ้วนตามจำนวนโรคที่มีในผู้ป่วยรายนั้น รหัสที่เลือกมีรายละเอียด เทียบเท่ากับ รายละเอียดที่บันทึกไว้ในเวชระเบียนทั้งหมด การเลือกรหัสโรคถูกต้องตามหลักการ (รหัสโรคหลัก, รหัสโรคร่วม, รหัสโรคแทรก และรหัสสาเหตุการตาย) และตรงตามคำจำกัดความของ ICD-10 & Standard coding guideline 44

45 ข้อแนะนำในการค้นหารหัส
อย่าเริ่มค้นหาจาก Tabular list (เล่ม 1) เริ่มจาก Index ก่อน ค้นหา Lead term จากคำวินิจฉัย อ่าน Note, คำในวงเล็บ, Cross reference (See/See also) จนเข้าใจ ได้รหัสแล้วกลับไปดูรายละเอียดใน Tabular list (เล่ม 1) มีปัญหาอ่าน Standard coding guideline (ICD-10-TM for PCU Volume 3

46 ข้อควรระวัง ในการใช้หนังสือเล่มที่ 2(ดรรชนี)
- ควรอ่านรายการรหัสทั้งหมดที่อาจเป็นไปได้ ภายใต้คำหลักใดๆ ก่อนตัดสินใจเลือกรหัสที่มี ความหมายใกล้เคียงที่สุดครอบคลุมคำวินิจฉัย มากที่สุด - ต้องตรวจสอบคำอธิบายรหัส จากหนังสือ เล่มที่ 1 ด้วยเสมอ ไม่ควรใช้หนังสือเล่มที่ 2 (ดรรชนี)เพียงเล่มเดียวในการบันทึกรหัส

47 คำหลัก (lead term) คำหลัก (lead term) เป็นคำตั้งต้นที่ใช้นำไปหารหัสในหนังสือ ICD-10 เล่ม 3 มักมีลักษณะ ดังนี้ 1. เป็นคำนาม บอกถึงการเป็นโรค, อาการ/ภาวะผิดปกติ เช่น disease, failure, -itis, hypo-, hyper- etc. 2. มักอยู่ในตำแหน่งสุดท้าย เช่น Chronic obstructive pulmonary disease 3. บางคำ อยู่ตำแหน่งอื่น เช่น Acute cor pulmonale 4. อาจมีหลายคำ เช่น Hypertensive heart failure 47

48 Generic lead terms Injury disease sequelae complication suicide
assault legal intervention war operations counselling observation examination history problem screening status vaccination disease complication syndrome pregnancy labour delivery puerperal maternal condition affecting fetus or newborn Conditions arising in the perinatal period - itis, Hypo-,

49 ขั้นตอนการให้รหัสโรค
1. ตรวจสอบโรคที่ปรากฏในใบสรุปการรักษาให้สอดคล้องกับ ข้อมูลในเวชระเบียน 2. เปลี่ยนคำย่อทุกคำให้เป็นคำเต็ม 3. เลือกคำหลัก 4. นำคำหลักเปิดหารหัส ICD-10 จากเล่มดรรชนี (เล่มที่ 2) 5. นำรหัสที่ได้ไปตรวจสอบรายละเอียด ความถูกต้อง ในหนังสือ ICD-10 เล่มที่ 1 แล้วเลือกรหัสที่เหมาะสม 6. กำหนดรหัสโรคหลัก โรคร่วม โรคแทรก โรคอื่นๆ รหัสสาเหตุ ภายนอก / ให้รหัสตามหลักการให้รหัส / Standard coding guideline 49

50 แปลงเป็นคำเต็ม เลือกคำหลัก
ตัวอย่างที่ 1 Chronic pharyngitis แปลงเป็นคำเต็ม เลือกคำหลัก Chronic pharyngitis pharyngitis 50

51 นำคำหลักไปหารหัสเบื้องต้น ที่เล่ม II
เล่ม 2 = ดรรชนี 51

52 เล่ม 2 = ดรรชนี

53 J02.9 ไม่พบ Chronic pharyngitis

54 นำรหัสที่ได้ไปตรวจสอบรายละเอียด ความถูกต้อง ในหนังสือ ICD-10 เล่มที่ 1 แล้วเลือกรหัสที่เหมาะสม
เล่ม 1 = รหัส 54

55 J31.2 55

56 Chronic pharyngitis J31.2 56

57 Chronic obstructive pulmonary disease
ตัวอย่างที่ 2 COPD แปลงเป็นคำเต็ม Chronic obstructive pulmonary disease 57

58 Chronic obstructive pulmonary disease
เลือกคำหลัก Chronic obstructive pulmonary disease disease 58

59 นำคำหลักไปหารหัสเบื้องต้น ที่เล่ม II
เล่ม 2 = ดรรชนี 59

60 นำคำหลักไปหารหัสเบื้องต้น ที่เล่ม II
เล่ม 2 = ดรรชนี 60

61 นำรหัสที่ได้ไปตรวจสอบรายละเอียด ความถูกต้อง ในหนังสือ ICD-10 เล่มที่ 1 แล้วเลือกรหัสที่เหมาะสม
เล่ม 1 = รหัส 61

62 เล่ม 1 = รหัส 62

63 Chronic obstructive pulmonary disease
J44.9 63

64 แบบฝึกหัดที่ 1 1. Dengue haemorrhagic fever without shock
2. Hypoglycemia (ภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ) 3. Acute conjunctivitis (เยื่อตาอักเสบเฉียบพลัน) 4. Idiopathic hypotension (ความดันโลหิตต่ำไม่ทราบสาเหตุ) 5. Allergic rhinitis (เยื่อจมูกอักเสบจากภูมิแพ้) 6. Acute gingivitis (เหงือกอักเสบเฉียบพลัน)

65 1. Dengue haemorrhagic fever without shock
P.17 P. 4

66 2. Hypoglycemia (ภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ)

67 3. Acute conjunctivitis (เยื่อตาอักเสบเฉียบพลัน)
P.9 P.40

68 4. Idiopathic hypotension (ความดันโลหิตต่ำไม่ทราบสาเหตุ)

69 5. Allergic rhinitis (เยื่อจมูกอักเสบจากภูมิแพ้)
P.44 P.52

70 6. Acute gingivitis (เหงือกอักเสบเฉียบพลัน)
P.20 P.55


ดาวน์โหลด ppt ในการให้รหัสโรคตามมาตรฐาน ICD-10

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google