งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

เกณฑ์ PMQA.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "เกณฑ์ PMQA."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 เกณฑ์ PMQA

2 เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล คุณภาพ คำรับรองการปฏิบัติราชการ พัฒนา องค์กร Vision Mission Strategic เป้าประสงค์ แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี (แผนบริหารราชการแผ่นดิน) 6. การจัดการ กระบวนการ 5. การมุ่งเน้น ทรัพยากรบุคคล 4. การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ 3. การให้ความสำคัญ กับผู้รับบริการและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 1. การนำ องค์กร 2. การวางแผน เชิงยุทธศาสตร์ และกลยุทธ์ ลักษณะสำคัญขององค์กร สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และความท้าทาย 7. ผลลัพธ์ การดำเนินการ การปรับกระบวนทัศน์ (I am Ready) แผนแม่บทด้านทรัพยากรบุคคล 3-5 ปี (Competency) การลดขั้นตอนและระยะเวลาการปฏิบัติงาน ระบบควบคุมภายใน Blueprint for Change Capacity Building Redesign Process Knowledge Management e-government MIS

3 เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ vs. พรฎ. vs. ISO vs. PSO
ลักษณะสำคัญขององค์กร สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และความท้าทาย การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ และกลยุทธ์ (พรฎ. หมวด 2, 3) [ISO 5.4] <PSO 1103, 06, 09> การมุ่งเน้น ทรัพยากรบุคคล (พรฎ. หมวด 3, 5, 6, 8) [ISO 6.2, 6.4,7.2] <PSO 1104> การนำองค์กร (พรฎ. หมวด 2, 5, 7, 8) [ISO 5.1, 5.3, 5.5, 5.6, 8.5] <PSO 1103, 05, 06, 09,10> ผลลัพธ์ การดำเนินการ (พรฎ. หมวด 3, 4, 8) [ISO 8.2, 8.4] <PSO 1108, 2101> การให้ความสำคัญกับผู้รับ บริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (พรฎ. หมวด 2, 5, 6, 7) [ISO 5.2, 7.2] <PSO 1102, 07> การจัดการกระบวนการ (พรฎ. หมวด 3, 5, 6, 7) [ISO 7.2, 7.3, 7.4, 7.5] <PSO 1107> การวัด การวิเดราะห์ และการจัดการความรู้ (พรฎ. หมวด 3, 5, 7, 8) [ISO 8.4] <PSO 1101, 05>

4 เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
6. การจัดการ กระบวนการ 5. การมุ่งเน้น ทรัพยากรบุคคล 4. การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ 3. การให้ ความสำคัญกับ ผู้รับบริการและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 1. การนำ องค์กร 2. การวางแผน เชิงยุทธศาสตร์ ลักษณะสำคัญขององค์กร สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และความท้าทาย 7. ผลลัพธ์ การดำเนินการ

5 ลักษณะสำคัญของ PMQA เกณฑ์มุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์
ครอบคลุมทั้งกระบวนการและผลลัพธ์ เกณฑ์สามารถปรับใช้ได้ตามภารกิจของหน่วยงาน เพื่อเสริมสร้างให้ส่วนราชการทำการปรับปรุงทั้งอย่างค่อยเป็นค่อยและอย่างก้าวกระโดด เกณฑ์มีความเชื่อมโยงและสอดคล้องกันภายในเกณฑ์เพื่อให้เกิดการบูรณาการ เชื่อมโยงตัวชี้วัดที่มาจากยุทธศาสตร์และกลยุทธ์และกระบวนการ ซึ่งจะเชื่อมโยงกับผลลัพธ์การดำเนินการโดยรวม และระหว่างหัวข้อต่างๆ ในเกณฑ์

6 ส่วนประกอบพื้นฐานของ PMQA
ลักษณะสำคัญขององค์กร พื้นฐานด้านสภาพแวดล้อมขององค์กร ความสัมพันธ์กับกลุ่มต่างๆ ในระดับองค์กร สภาพการแข่งขันและความท้าทาย กระบวนการ ระบบการปฏิบัติการทั้ง 6 ส่วนคือ เกณฑ์ข้อ 1-6 การนำองค์กร การวางแผนกลยุทธ์ การมุ่งเน้นลูกค้าและตลาด การวัดการวิเคราะห์และการจัดการความรู้ การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล การจัดการกระบวนการ ผลลัพธ์ ผลลัพธ์ใน 4 มิติ ประกอบด้วย มิติประสิทธิผล มิติคุณภาพการให้บริการ มิติประสิทธิภาพ และมิติการพัฒนาองค์กร

7 เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
6. การจัดการ กระบวนการ 5. การมุ่งเน้น ทรัพยากรบุคคล 4. การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ 3. การให้ ความสำคัญกับ ผู้รับบริการและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 1. การนำ องค์กร 2. การวางแผน เชิงยุทธศาสตร์ ลักษณะสำคัญขององค์กร สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และความท้าทาย 7. ผลลัพธ์ การดำเนินการ

8 เกณฑ์ของความเป็นเลิศ
Driver Triad 1. Leadership Work Core 5. Staff Focus 3. Customer&Market Focus 7. Organizational Results 2. Strategic Planning 6. Process Management ซึ่งส่งผลต่อผลลัพธ์ นำไปสู่การเปลี่ยนแปลงของ work core การเปลี่ยนแปลงเริ่มต้นที่นี่ 4. Measurement, Analysis, and Knowledge Management

9 ลักษณะสำคัญขององค์กร
องค์ประกอบของเกณฑ์ PMQA ลักษณะสำคัญขององค์กร 2 ข้อ 1. การนำองค์กร 7 หมวด 1.1 การนำองค์กร 1.2 ความรับผิดชอบต่อสังคม 17 หัวข้อ ก. การกำหนดทิศทางของ ส่วนราชการ ข. การกำกับ ดูแลตนเองที่ดี ค. การทบทวน ผลการดำเนินการ ขององค์กร 30 ประเด็น ที่ควรพิจารณา (1) (2) 90 คำถาม

10 ลักษณะสำคัญขององค์กร
คือการสรุปภาพรวมขององค์กรว่าด้วยสิ่งสำคัญที่มีอิทธิพลต่อ - วิธีการดำเนินการ - ผู้รับบริการ - อนาคตขององค์กรและความยั่งยืนของการพัฒนา - สิ่งเหล่านี้กำหนดบริบทของระบบบริหารจัดการขององค์กร

11 วัตถุประสงค์ของลักษณะสำคัญขององค์กร
 ทำให้เข้าใจถึงส่วนราชการและสิ่งที่ส่วนราชการนั้นเห็นว่ามีความสำคัญ  ช่วยในการระบุข้อมูลสำคัญที่อาจขาดหายไป และทำให้เกิดการมุ่งเน้นที่ผลสำเร็จของกระบวนการ และผลลัพธ์การดำเนินการ  เป็นจุดเริ่มต้นที่เหมาะสมในการตรวจประเมินองค์กรด้วยตนเอง หากพบว่า เรื่องใดมีข้อมูลไม่เพียงพอ หรือข้อมูลขัดแย้งกัน ส่วนราชการสามารถนำเรื่องนั้นไปจัดทำแผนปฏิบัติการเพื่อแก้ไขปรับปรุง โดยยังไม่ต้องประเมินตนเองต่อไป

12 ลักษณะสำคัญขององค์กร
1. ลักษณะองค์กร 2. ความท้าทายต่อองค์กร ก. ลักษณะพื้นฐานของส่วนราชการ ข. ความสัมพันธ์ภายในและภายนอกองค์กร ก. สภาพการแข่งขัน ข. ความท้าทายเชิงยุทธศาสตร์และกลยุทธ์ ค. ระบบการปรับปรุงผลการดำเนินการ

13 1. ลักษณะองค์กร ก. ลักษณะพื้นฐานของส่วนราชการ
ก. ลักษณะพื้นฐานของส่วนราชการ (1) - พันธกิจหรือหน้าที่ตามกฎหมายของส่วนราชการคืออะไรบ้าง - มีแนวทางและวิธีการอย่างไรในการให้บริการแก่ผู้รับบริการ (2) - วิสัยทัศน์ของส่วนราชการคืออะไร - เป้าประสงค์หลักของส่วนราชการคืออะไร - วัฒนธรรมในส่วนราชการคืออะไร - ค่านิยมของส่วนราชการที่กำหนดไว้คืออะไร (3) - ลักษณะโดยรวมของบุคลากรในส่วนราชการเป็นอย่างไร เช่น ระดับการศึกษา อายุ สายงาน ระดับตำแหน่ง ข้อกำหนดพิเศษในการ ปฏิบัติงาน เป็นต้น (4) - ส่วนราชการมีเทคโนโลยี อุปกรณ์ และสิ่งอำนวยความสะดวกที่ สำคัญอะไรบ้าง ในการให้บริการและการปฏิบัติงาน (5) - ส่วนราชการดำเนินการภายใต้กฎหมาย กฎระเบียบ ข้อบังคับที่สำคัญ อะไรบ้าง

14 ตัวอย่างคำตอบ วิสัยทัศน์
มหาวิทยาลัยขอนแก่น เป็นสถาบันอุดมศึกษาชั้นนำของภูมิภาคอาเซียน โดยเป็น มหาวิทยาลัยแห่งการเรียนรู้ มหาวิทยาลัยแห่งการวิจัย มหาวิทยาลัยแห่งคุณภาพ มหาวิทยาลัยแห่งการพัฒนาชุมชนและประเทศชาติ และ มหาวิทยาลัยที่มีการบริหารจัดการที่ดี เป้าประสงค์หลัก บัณฑิตมีคุณลักษณะพึงประสงค์และตรงความต้องการของชุมชนและประเทศ แหล่งสร้างและพัฒนาองค์ความรู้ที่ตอบสนองต่อการเพิ่มศักยภาพการแข่งขันของประเทศ ศูนย์กลางการบริการวิชาการและแหล่งอนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่นที่สนับสนุนการพัฒนาและเป็นประโยชน์ต่อชุมชน สังคม และประเทศชาติ องค์กรมีการบริหารจัดการตามหลักการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี

15 ตัวอย่างคำตอบ วัฒนธรรม “วัฒนธรรมองค์กร” ของมหาวิทยาลัยขอนแก่น
1. มีความตื่นตัว กระตือรือร้นต่อการเปลี่ยนแปลง ยึดมั่นในกฎระเบียบ และระบบธรรมาภิบาล 2. คำนึงถึงประโยชน์ส่วนรวม ประนีประนอม และมีการยอมรับความคิดเห็น 3. มีความคิดสร้างสรรค์ในการทำงาน ศรัทธา จงรักภักดีต่อองค์กร ขยันอดทน ทำงานเป็นทีม และมีจิตใจของการบริการ 4. เป็นชุมชนทางวิชาการที่เน้นการถ่ายทอดความรู้ และแลกเปลี่ยนความรู้ในองค์กร ค่านิยม “ค่านิยม” ของมหาวิทยาลัยขอนแก่น คือ 1. การนำองค์กรอย่างมีวิสัยทัศน์ 2. การให้ความสำคัญกับคณาจารย์ บุคลากร ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และคู่ความ ร่วมมือ 3. การมุ่งเน้นผลลัพธ์และการสร้างคุณค่า 4. การมุ่งเน้นอนาคต 5. การเรียนรู้ขององค์กรและของแต่ละบุคคล 6. ความรับผิดชอบต่อสังคม

16

17 สายงาน/อายุ/วุฒิการศึกษา
ตัวอย่างคำตอบ 1ก(3) ลักษณะโดยรวมของบุคลากร มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประเภทข้าราชการ จำแนกโดย ระดับการศึกษา อายุ สายงาน ระดับตำแหน่ง สายงาน/อายุ/วุฒิการศึกษา ระดับตำแหน่ง/จำนวน รวม(คน) % 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 สายงาน สายผู้สอน - 42 119 429 593 435 20 1,651 42.21 สายสนับสนุน 17 25 144 394 453 896 106 219 2,260 57.79 รวม 145 404 495 1,015 535 812 441 3,911 100.00 อายุ อายุเฉลี่ยโดยรวม อายุตัวเฉลี่ย 31.29 35.00 38.50 41.03 40.92 41.36 43.41 46.75 51.02 53.20 53.50 43.63 อายุราชการเฉลี่ย 8.59 9.32 13.90 17.92 21.27 19.41 17.83 21.76 25.30 27.05 26.50 20.16 วุฒิการศึกษา ต่ำกว่าปริญญาตรี 111 268 170 12 603 15.42 ปริญญาตรี 33 128 279 792 150 155 1,544 39.48 ปริญญาโท 46 175 259 387 159 1,036 26.49 ปริญญาเอก 36 126 270 275 19 728 18.61

18 ตัวอย่างคำตอบ 1ก(4)

19 ตัวอย่างคำตอบ 1ก(5) กฎหมาย กฎระเบียบ ข้อบังคับ
ตัวอย่างคำตอบ 1ก(5) กฎหมาย กฎระเบียบ ข้อบังคับ เนื้อหา สาระสำคัญของกฎหมาย กฎระเบียบ ข้อบังคับ ส่วนราชการ ที่เป็นผู้ออก หรือเจ้าของกฎหมาย ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการจัดทำแผนการบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2547 แผนการบริหารราชการแผ่นดิน สำนักนายกรัฐมนตรี พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 การบริหารส่วนราชการและรัฐ วิสาหกิจ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2546 การบริหารงานในกระทรวงศึกษาธิ การ กระทรวงศึกษาธิการ พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา พ.ศ.2547 การบริหารงานบุคคลของข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยลูกจ้างประจำของส่วนราชการ พ.ศ.2537 และที่แก้ไขเพิ่มเติม การบริหารลูกจ้างประจำ กระทรวงการคลัง ระเบียบว่าด้วยการบริหารงบประมาณ พ.ศ. 2548 การดำเนินการด้านการใช้จ่ายงบประมาณแผ่นดินและเงินรายได้ สำนักงบประมาณ ระเบียบของคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน พ.ศ. 2544 ระบบการควบคุมการใช้จ่ายงบประมาณโดยสำนักงบประมาณ เพื่อติดตามประเมินผลเชิงเปรียบเทียบแผนและผล มาตรฐานคุณภาพโรงพยาบาล (hospital accreditation : HA) เกณฑ์คุณภาพเพื่อการดำเนินงานให้ได้มาตรฐานด้านการบริการทางการแพทย์ สถาบันพัฒนาและรับรอง คุณภาพโรงพยาบาล (พ.ร.พ.) พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยขอนแก่น พ.ศ. 2541 การบริหารงานในมหาวิทยาลัย ขอนแก่น มหาวิทยาลัยขอนแก่น ระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่นว่าด้วยเงินรายได้ พ.ศ และที่แก้ไขเพิ่มเติม การบริหารงบประมาณเงินรายได้ของมหาวิทยาลัยขอนแก่น ข้อบังคับสภามหาวิทยาลัยขอนแก่นว่าด้วยจรรยาบรรณของข้าราชการและอาจารย์มหาวิทยาลัยขอนแก่น พ.ศ. 2549 การปฏิบัติตามจรรยาบรรณของข้าราชการและอาจารย์มหาวิทยาลัย ขอนแก่น ข้อบังคับมหาวิทยาลัยขอนแก่นว่าด้วยพนักงานมหาวิทยาลัย พ.ศ และที่แก้ไขเพิ่มเติม การบริหารพนักงานมหาวิทยาลัย ระเบียบการศึกษาขั้นปริญญาตรี การบริหารการศึกษาขั้นปริญญาตรี ระเบียบการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา การบริหารการศึกษาระดับบัณฑิต ศึกษา

20 1. ลักษณะองค์กร ข. ความสัมพันธ์ภายในและภายนอกองค์กร
ข. ความสัมพันธ์ภายในและภายนอกองค์กร (6) - โครงสร้างองค์กรและวิธีการจัดการที่แสดงถึงการกำกับดูแลตนเองที่ดี เป็นเช่นใด (7) ส่วนราชการหรือองค์กรที่เกี่ยวข้องกันในการให้บริการหรือส่งมอบงานต่อกัน - มีหน่วยงานใดบ้าง - มีบทบาทอย่างไรในการปฏิบัติงานร่วมกัน - ข้อกำหนดที่สำคัญในการปฏิบัติงานร่วมกันมีอะไรบ้าง - มีแนวทางและวิธีการสื่อสารระหว่างกันอย่างไร (8) - กลุ่มผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสียหลักของส่วนราชการคือใครบ้าง - กลุ่มผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเหล่านี้มีความต้องการและ ความคาดหวังที่สำคัญอะไรบ้าง - แนวทางและวิธีการสื่อสารระหว่างกันคืออะไร

21 ตัวอย่างคำตอบ 1ข(6) โดยที่การปฏิบัติงานขององค์กรเกี่ยวข้องกับกลุ่มผลประโยชน์หลายกลุ่ม และมีผู้ที่มีส่วนได้เสียกับการดำเนินงานของกรมฯ จำนวนมาก จึงได้ให้ความสำคัญ ในกระบวนการและวิธีการทำงานที่โปร่งใสตรวจสอบได้ มีระบบควบคุมดูแลภายใน องค์กร และระบบตรวจสอบให้เป็นไปตามหลักธรรมาภิบาล (Good Governance) เพื่อให้การปฏิบัติงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิผลบรรลุวัตถุประสงค์ที่วางไว้มีการใช้ ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า มีการป้องกัน การลดความสูญเสีย และสูญเปล่า รวมทั้งการ ป้องกันการทุจริตไม่ให้เกิดขึ้น การปฏิบัติงานใดๆ ต้องสอดคล้องกับกฎหมาย นโยบาย และระเบียบที่เกี่ยวข้อง ดังนั้นในโครงสร้างองค์กรจึงกำหนดให้มีหน่วยงานตรวจสอบภายในที่ขึ้นตรง กับหัวหน้าส่วนราชการ เพื่อทำหน้าที่ตรวจสอบความถูกต้องของการบริหาร งบประมาณ การเงิน พัสดุ และสินทรัพย์ของหน่วยงาน มีการวางระบบการควบคุม ภายใน พ.ศ และระบบบริหารความเสี่ยง (Risk Management system) เพื่อเป็นกลไกในการปกป้องความล้มเหลวและความสูญเสียจากการปฏิบัติงาน โดย ได้วิเคราะห์และประเมินความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้นในแต่ละกระบวนงานและกำหนด กิจกรรมเพื่อควบคุมความเสี่ยง หรือลดผลกระทบที่จะเกิดขึ้น โดยระบบดังกล่าวได้ มีการทบทวนทุกๆ ปี เพื่อวิเคราะห์และปรับเปลี่ยนกิจกรรมการควบคุมให้เหมาะสม

22 ลักษณะสำคัญขององค์กร
1. ลักษณะองค์กร 2. ความท้าทายต่อองค์กร ก. ลักษณะพื้นฐานของส่วนราชการ ข. ความสัมพันธ์ภายในและภายนอกองค์กร ก. สภาพการแข่งขัน ข. ความท้าทายเชิงยุทธศาสตร์และกลยุทธ์ ค. ระบบการปรับปรุงผลการดำเนินการ

23 2. ความท้าทายต่อองค์กร ก. สภาพการแข่งขัน
2. ความท้าทายต่อองค์กร ก. สภาพการแข่งขัน (9) - สภาพการแข่งขันทั้งภายในและภายนอกประเทศของส่วนราชการเป็นเช่นใด (*) - ประเภทการแข่งขัน และจำนวนคู่แข่งขันในแต่ละประเภทเป็นเช่นใด - ประเด็นการแข่งขันคืออะไร และผลการดำเนินการปัจจุบันในประเด็นดังกล่าว เมื่อเปรียบเทียบกับคู่แข่งเป็นอย่างไร (10)- ปัจจัยสำคัญที่ทำให้ส่วนราชการประสบความสำเร็จเมื่อเปรียบเทียบกับคู่ แข่งขันคืออะไร - ปัจจัยแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไปซึ่งมีผลต่อสภาพการแข่งขันของส่วนราชการ คืออะไร (11) ข้อมูลเชิงเปรียบเทียบและข้อมูลเชิงแข่งขันมีแหล่งข้อมูลอยู่ที่ใดบ้าง (12) ข้อจำกัดในการได้มาซึ่งข้อมูลเชิงเปรียบเทียบ และข้อมูลเชิงแข่งขัน มีอะไรบ้าง (ถ้ามี) หมายเหตุ * ให้ส่วนราชการตอบตามความเหมาะสมของภารกิจของส่วนราชการ

24 2. ความท้าทายต่อองค์กร ข. ความท้ายเชิงยุทธศาสตร์และกลยุทธ์
2. ความท้าทายต่อองค์กร ข. ความท้ายเชิงยุทธศาสตร์และกลยุทธ์ (13) ความท้าทายเชิงยุทธศาสตร์ของส่วนราชการคืออะไร - ความท้าทายตามพันธกิจ - ความท้าทายด้านปฏิบัติการ - ความท้าทายด้านทรัพยากรบุคคล ค. ระบบการปรับปรุงผลการดำเนินการ (14) แนวทางและวิธีการในการปรับปรุงประสิทธิภาพของส่วนราชการ เพื่อให้เกิดผลการดำเนินการที่ดีอย่างต่อเนื่องมีอะไรบ้าง (15) ภายในองค์กรมีแนวทางในการเรียนรู้ขององค์กรและมีการแลกเปลี่ยน ความรู้อย่างไร

25 หมวด 1 การนำองค์กร 1.1 การนำองค์กร 1.2 ความรับผิดชอบต่อสังคม
ก. การกำหนด ทิศทาง ของส่วนราชการ ข. การกำกับ ดูแลตนเองที่ดี ค. การทบทวน ผลการดำเนิน-การของ ส่วนราชการ ก. ความ รับผิดชอบ ต่อสังคม ข. การดำเนิน-การอย่างมี จริยธรรม ค. การให้ การสนับสนุนต่อชุมชน ที่สำคัญ การกำหนดวิสัยทัศน์ เป้าประสงค์ ค่านิยมและผลการดำเนินการ และสื่อสาร และถ่ายทอด ไปสู่การปฏิบัติ การสร้างบรรยากาศให้เกิดการกระจายอำนาจการตัดสินใจ นวัตกรรม ความคล่องตัว การเรียนรู้ ถูกต้องตามกฎหมายและจริยธรรม ความรับผิดชอบด้านการดำเนินการ ด้านการเงิน และการปกป้องผลประโยชน์ ของประเทศ การทบทวน ผลการดำเนินการ และใช้มาประเมินความสำเร็จ และตอบสนองความต้องการ ที่เปลี่ยนแปลงไป ตัวชี้วัดที่ทบทวน และผลการทบทวนที่ผานมา การดำเนินการ ในกรณีที่การปฏิบัติงาน มีผลกระทบ ต่อสังคม กระบวนการ ตัวชี้วัด และเป้าประสงค์ในการจัดการความเสี่ยง การคาดการณ์ล่วงหน้า และเตรียมการ เขิงรุก การกำหนดวิธีปฏิบัติในการดำเนินการอย่างมีจริยธรรม การสนับสนุน และสร้าง ความเข้มแข็งให้แก่ชุมชน ที่สำคัญ และการที่ผู้บริหารและบุคลากร มีส่วนร่วม ในการพัฒนาชุมชน

26 หมวด 1 การนำองค์กร ในหมวดการนำองค์กร เป็นการตรวจประเมินว่าผู้บริหารของส่วนราชการดำเนินการอย่างไร ในเรื่องวิสัยทัศน์ เป้าประสงค์ระยะสั้นและระยะยาว ค่านิยม และความคาดหวังในผลการดำเนินการรวมถึงการให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทั้งหลาย การกระจายอำนาจการตัดสินใจการสร้างนวัตกรรม และการเรียนรู้ในส่วนราชการ รวมทั้งตรวจประเมินว่าส่วนราชการมีการกำกับดูแลตนเองที่ดี และดำเนินการเกี่ยวกับความรับผิดชอบต่อสังคมและชุมชนอย่างไร

27 1.1 การนำองค์กร ก. การกำหนดทิศทางของส่วนราชการ
1.1 การนำองค์กร ก. การกำหนดทิศทางของส่วนราชการ (1) - ผู้บริหารของส่วนราชการดำเนินการอย่างไรในการกำหนดในเรื่องวิสัยทัศน์ เป้าประสงค์ระยะสั้นและระยะยาว ค่านิยม และผลการดำเนินการที่คาดหวัง ไว้ รวมทั้งการถ่ายทอดให้บุคลากรในส่วนราชการนำไปปฏิบัติ - ในการกำหนดผลการดำเนินการดังกล่าว ผู้บริหารของส่วนราชการได้ คำนึงถึงความต้องการหรือผลประโยชน์ของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วน- เสีย โดยยึดหลักความโปร่งใสและความชัดเจนอย่างไร - ผู้บริหารของส่วนราชการดำเนินการอย่างไรในการสื่อสารในเรื่องดังกล่าว แบบ 2 ทิศทางอย่างชัดเจนและเป็นรูปธรรมไปสู่บุคลากรทุกคน รวมทั้ง ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่สำคัญ โดยผ่านระบบการนำองค์กร (2) ผู้บริหารของส่วนราชการดำเนินการอย่างไรในการสร้างบรรยากาศ - เพื่อให้เกิดการกระจายอำนาจในการตัดสินใจนวัตกรรม และความคล่องตัว ในการปฏิบัติงาน - เพื่อให้เกิดการเรียนรู้ ทั้งในระดับส่วนราชการและผู้ปฏิบัติงาน - เพื่อส่งเสริมให้บุคลากรทำงานอย่างถูกต้องตามกฎระเบียบและหลัก จริยธรรม

28 1.1 การนำองค์กร ข. การกำกับดูแลตนเองที่ดี
1.1 การนำองค์กร ข. การกำกับดูแลตนเองที่ดี (3) ในการกำกับดูแลตนเองที่ดี ส่วนราชการและผู้บริหารดำเนินการอย่างไรใน เรื่องที่สำคัญต่อไปนี้ - ความรับผิดชอบต่อการปฏิบัติงานของส่วนราชการ - ความรับผิดชอบด้านการเงิน และการป้องกันและปราบปรามการ ทุจริตและประพฤติมิชอบ - การปกป้องผลประโยชน์ของประเทศและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

29 ตัวอย่างคำตอบ 1.1 ข (3) CFSC ได้มีการดำเนินการเรื่องธรรมาภิบาลมานานโดยมีการจัดทำ Caterpillar’s Code of Worldwide Business Conduct ตั้งแต่ปี ต่อมามีการใช้ The Act’s Requirement for Board Committee Governance ในปี 1993 นอกจากนี้ CFSC มีการจัดระบบเรื่องความรับผิดชอบของผู้บริหารไว้ดังนี้ คณะ Business Excellence Council ทำการทบทวนผลการตรวจสอบภายในทั้งหมด การดำเนินการข้อใดที่ได้คะแนน 3 จะต้องถูกทบทวนโดยผู้บริหารจากภายนอก คณะผู้บริหารทุกคนต้องปฏิบัติตามรัฐบัญญัติ The Sarbanes – Oxley Act อย่างเคร่งครัด มีการเปิดเผยรายงานด้านการเงินและข้อสนเทศตามที่กฎหมายบัญญัติแก่ ผู้ลงทุนผู้ถือหุ้นอย่างโปร่งใส

30 ตัวอย่างคำตอบ 1.1 ข (3) การเข้ามีส่วนร่วมและพูดคุยสื่อสารกับพนักงานทุกระดับอย่างตรงไปตรงมา ด้านการเงิน CFSC จัดระบบให้มีการตรวจสอบ โดยมีการจัดทำรายงานทางการเงิน ที่ถูกต้องตามที่กฎหมายกำหนด มีการตรวจสอบโดยบริษัทจัดอันดับความน่าเชื่อถือ ได้แก่ Sanford–Bernstein, Moody’s และ Standard & Poor’s มีการตรวจสอบภายใน และตรวจสอบจากภายนอกโดยบริษัท PricewaterhouseCoopers คณะกรรมการตรวจสอบของ CFSC มีความเป็นอิสระ ประธาน คณะกรรมการตรวจสอบไม่ได้เป็นคณะกรรมการบริหารชุดใดๆ เลย นอกจากนี้ CFSC ยังปกป้องผู้ถือหุ้น โดยข้อเสนอที่อาจเป็นการ ควบกิจการจะต้องผ่านการเห็นชอบจากคณะกรรมการอิสระของ บริษัทก่อนเสมอ ทั้งยังมีการกำหนดข้อตกลงสำหรับผู้ที่ได้ รับหุ้นของบริษัทด้วย

31 1.1 การนำองค์กร ค. การทบทวนผลการดำเนินการของส่วนราชการ
1.1 การนำองค์กร ค. การทบทวนผลการดำเนินการของส่วนราชการ (4) ผู้บริหารของส่วนราชการดำเนินการอย่างไรในการทบทวนผลการดำเนินการ ของส่วนราชการ - ผู้บริหารของส่วนราชการใช้ผลการประเมินและทบทวนดังกล่าวมา ประเมินความสำเร็จของการบรรลุเป้าประสงค์ระยะสั้นและระยะยาว ของส่วนราชการอย่างไร - ผู้บริหารของส่วนราชการนำผลการประเมินและทบทวนนี้มาใช้ใน การประเมินความสามารถในการตอบสนองความต้องการที่เปลี่ยนแปลงไป (5) - ตัวชี้วัดสำคัญที่ผู้บริหารของส่วนราชการทบทวนเป็นประจำมีอะไรบ้าง - ผลการทบทวนที่ผ่านมาเป็นอย่างไร

32 1.1 การนำองค์กร (6) – ผู้บริหารของส่วนราชการมีวิธีการอย่างไรในการนำผลการทบทวน ดังกล่าวมาจัดลำดับความสำคัญ เพื่อให้เกิดการปรับปรุงทั้งอย่าง ต่อเนื่องและอย่างก้าวกระโดด รวมทั้งใช้เป็นโอกาสในการสร้าง นวัตกรรม - ผู้บริหารของส่วนราชการใช้วิธีการอย่างไรในการนำผลการทบทวนไป ปรับปรุงและนำไปสู่การปฏิบัติทั่วทั้งส่วนราชการรวมถึงผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง (7) - ผู้บริหารของส่วนราชการในแต่ละระดับได้รับการประเมินผลงานอย่างไร - ส่วนราชการนำผลจากการประเมินผลงานของผู้บริหารไปปรับปรุง ระบบการนำองค์กรของผู้บริหารทุกระดับอย่างไร

33 หมวด 1 การนำองค์กร 1.1 การนำองค์กร 1.2 ความรับผิดชอบต่อสังคม
ก. การกำหนด ทิศทาง ของส่วนราชการ ข. การกำกับ ดูแลตนเองที่ดี ค. การทบทวน ผลการดำเนิน-การของ ส่วนราชการ ก. ความ รับผิดชอบ ต่อสังคม ข. การดำเนิน-การอย่างมี จริยธรรม ค. การให้ การสนับสนุนต่อชุมชน ที่สำคัญ การกำหนดวิสัยทัศน์ เป้าประสงค์ ค่านิยมและผลการดำเนินการ และสื่อสาร และถ่ายทอด ไปสู่การปฏิบัติ การสร้างบรรยากาศให้เกิดการกระจายอำนาจการตัดสินใจ นวัตกรรม ความคล่องตัว การเรียนรู้ ถูกต้องตามกฎหมายและจริยธรรม ความรับผิดชอบด้านการดำเนินการ ด้านการเงิน และการปกป้องผลประโยชน์ ของประเทศ การทบทวน ผลการดำเนินการ และใช้มาประเมินความสำเร็จ และตอบสนองความต้องการ ที่เปลี่ยนแปลงไป ตัวชี้วัดที่ทบทวน และผลการทบทวนที่ผานมา การดำเนินการ ในกรณีที่การปฏิบัติงาน มีผลกระทบ ต่อสังคม กระบวนการ ตัวชี้วัด และเป้าประสงค์ในการจัดการความเสี่ยง การคาดการณ์ล่วงหน้า และเตรียมการ เขิงรุก การกำหนดวิธีปฏิบัติในการดำเนินการอย่างมีจริยธรรม การสนับสนุน และสร้าง ความเข้มแข็งให้แก่ชุมชน ที่สำคัญ และการที่ผู้บริหารและบุคลากร มีส่วนร่วม ในการพัฒนาชุมชน

34 1.2 ความรับผิดชอบต่อสังคม
1.2 ความรับผิดชอบต่อสังคม ก. ความรับผิดชอบต่อสังคม (8) ในกรณีที่การบริการและการปฏิบัติงานมีผลกระทบในทางลบต่อสังคมส่วน ราชการดำเนินการอย่างไร (9) กระบวนการ เป้าประสงค์ ตัวชี้วัด และเป้าหมายของส่วนราชการใน การจัดการกับผลกระทบในทางลบที่เกิดขึ้นคืออะไร (10) - ส่วนราชการได้คาดการณ์ล่วงหน้าถึงผลกระทบในทางลบของการ บริการและการปฏิบัติงานที่อาจเกิดขึ้นต่อสังคม ทั้งในปัจจุบัน และอนาคตอย่างไร - ส่วนราชการมีการเตรียมการเชิงรุกในประเด็นดังกล่าวอย่างไร

35 1.2 ความรับผิดชอบต่อสังคม
1.2 ความรับผิดชอบต่อสังคม ข. การดำเนินการอย่างมีจริยธรรม (11) ผู้บริหารของส่วนราชการได้กำหนดวิธีปฏิบัติเพื่อให้ส่วนราชการมี การดำเนินการอย่างมีจริยธรรม อย่างไร ค. การให้การสนับสนุนต่อชุมชนที่สำคัญ (12) - ส่วนราชการดำเนินการอย่างไรในการสนับสนุนและเสริมสร้าง ความเข้มแข็งให้แก่ชุมชนที่สำคัญต่อส่วนราชการ - ชุมชนใดที่สำคัญกับส่วนราชการของท่าน และมีวิธีเลือกชุมชน ดังกล่าวอย่างไร - มีวิธีการอย่างไรในการเลือกกิจกรรมที่จะสนับสนุนชุมชน - ผู้บริหารของส่วนราชการและบุคลากรมีส่วนร่วมในกิจกรรมการ พัฒนาชุมชนดังกล่าวอย่างไร

36 ตัวอย่าง ความรับผิดชอบต่อสังคม

37 หมวด 2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์
2.1 การจัดทำยุทธศาสตร์ 2.2 การถ่ายทอดกลยุทธ์หลักเพื่อนำไปปฏิบัติ ก. กระบวนการ จัดทำยุทธศาสตร์ ข. เป้าประสงค์ เชิงยุทธศาสตร์ ก. การถ่ายทอด แผนปฏิบัติการ ไปสู่การปฏิบัติ ข. การคาดการณ์ ผลการดำเนินการ กระบวนการวางแผน ยุทธศาสตร์ การรวบรวม และวิเคราะห์ข้อมูล และสารสนเทศ ที่เกี่ยวข้อง ประเด็นยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์เชิงยุทธ-ศาสตร์ กลยุทธ์หลักตารางเวลาในการบรรลุ และลำดับความสำคัญ การให้ความสำคัญกับความท้าทายต่อองค์กร และความสมดุลระหว่างความต้องการของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย การถ่ายทอดแผนปฏิบัติการ ไปสู่การปฎิบัติ การจัดสรรทรัพยากร และทำให้ผล ที่เกิดขึ้นยั่งยืน แผนปฏิบัติการที่สำคัญ และการดำเนินการเพื่อตอบสนองการเปลี่ยนแปลง แผนหลักด้านทรัพยากรบุคคล ตัวชี้วัดผลการดำเนินงาน และการทำให้ระบบการวัดผลเสริมให้ส่วนราชการมุ่งไปในแนวทางเดียวกัน การคาดการณ์ผลการ ดำเนินการ และเปรียบเทียบกับเป้าประสงค์เชิงยุทธ-ศาสตร์ ผลการดำเนินการ ที่ผ่านมา ผลการดำเนินการที่คาดไว้ของคู่แข่ง และระดับเทียบเคียง

38 หมวด 2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์
หมวด 2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ ในหมวดของการวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ เป็นการตรวจประเมินวิธีการกำหนดประเด็นยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ และกลยุทธ์หลัก รวมทั้งแผนปฏิบัติราชการที่ได้จัดทำไว้ เพื่อนำไปปฏิบัติและการวัดผลความก้าวหน้า

39 2.1 การจัดทำยุทธศาสตร์ ก. กระบวนการจัดทำยุทธศาสตร์
2.1 การจัดทำยุทธศาสตร์ ก. กระบวนการจัดทำยุทธศาสตร์ (1) ส่วนราชการมีกระบวนการในการวางแผนยุทธศาสตร์โดยรวมอย่างไร ให้ระบุดังนี้ - ขั้นตอนและผู้เกี่ยวข้องที่สำคัญในส่วนราชการสำหรับการจัดทำแผนปฏิบัติ- ราชการ 4 ปี และแผนปฏิบัติราชการ 1 ปี - กรอบเวลาที่ใช้ในการวางแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี และแผนปฏิบัติราชการ 1 ปี และเหตุผลที่ใช้ในการกำหนดกรอบเวลาเช่นนั้น - โปรดแสดงให้เห็นถึงกิจกรรมในกระบวนการวางแผนยุทธศาสตร์ที่สอดคล้อง กับกรอบเวลาที่กำหนดไว้

40 ตัวอย่างคำตอบ 2.1 ก (1)

41 2.1 การจัดทำยุทธศาสตร์ (2) ส่วนราชการได้นำปัจจัยต่อไปนี้มาประกอบการวางแผนยุทธศาสตร์อย่างไร ให้ระบุวิธีการรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลและสารสนเทศที่เกี่ยวข้อง - ความต้องการ ความคาดหวัง ทั้งระยะสั้นและระยะยาวของผู้รับบริการ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย รวมทั้งส่วนราชการหรือองค์กรอื่นที่ปฏิบัติงานเกี่ยวข้องกัน - สภาพการแข่งขันทั้งภายในและภายนอกประเทศของส่วนราชการ (*) - นวัตกรรมและการเปลี่ยนแปลงที่สำคัญทางเทคโนโลยี และด้านอื่นๆ ซึ่งอาจมีผลต่อบริการและการดำเนินงานของส่วนราชการ - จุดแข็งและจุดอ่อน รวมถึงทรัพยากรบุคคลและทรัพยากรอื่นๆ ของส่วน ราชการ - การศึกษาวิเคราะห์ถึงโอกาสในการปรับเปลี่ยนทรัพยากรที่มีอยู่ไป ใช้กับบริการหรือกิจกรรมที่มีความสำคัญกว่า - ความเสี่ยงในด้านการเงิน สังคมและจริยธรรม กฎหมาย ข้อบังคับ และด้านอื่นๆ - การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจระดับประเทศหรือระดับโลก - ลักษณะเฉพาะของส่วนราชการของท่าน - จุดแข็ง จุดอ่อนของส่วนราชการหรือองค์กรอื่นที่ปฏิบัติงานเกี่ยวข้องกัน (*)

42 2.1 การจัดทำยุทธศาสตร์ ข. เป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์
2.1 การจัดทำยุทธศาสตร์ ข. เป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ (3) - ประเด็นยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ และกลยุทธ์หลัก มีอะไรบ้าง - ให้ระบุเป้าหมาย และระยะเวลาที่จะบรรลุเป้าประสงค์เหล่านั้น - ให้ระบุลำดับความสำคัญของเป้าประสงค์เหล่านั้น (4) - ในการกำหนดประเด็นยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ และ กลยุทธ์หลักส่วนราชการได้ให้ความสำคัญกับความท้าทายต่อ องค์กรที่ระบุไว้ในลักษณะสำคัญขององค์กร ข้อ 2 อย่างไร - ส่วนราชการมั่นใจได้อย่างไรว่าประเด็นยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ เชิงยุทธศาสตร์และกลยุทธ์หลัก -- มีความสมดุลของโอกาสและความท้าทาย ทั้งในระยะสั้นและระยะยาว -- มีความสมดุลของความต้องการของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่สำคัญทั้งหมด

43 หมวด 2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์
2.1 การจัดทำยุทธศาสตร์ 2.2 การถ่ายทอดกลยุทธ์หลักเพื่อนำไปปฏิบัติ ก. กระบวนการ จัดทำยุทธศาสตร์ ข. เป้าประสงค์ เชิงยุทธศาสตร์ ก. การถ่ายทอด แผนปฏิบัติการ ไปสู่การปฏิบัติ ข. การคาดการณ์ ผลการดำเนินการ กระบวนการวางแผน ยุทธศาสตร์ การรวบรวม และวิเคราะห์ข้อมูล และสารสนเทศ ที่เกี่ยวข้อง ประเด็นยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์เชิงยุทธ-ศาสตร์ กลยุทธ์หลักตารางเวลาในการบรรลุ และลำดับความสำคัญ การให้ความสำคัญกับความท้าทายต่อองค์กร และความสมดุลระหว่างความต้องการของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย การถ่ายทอดแผนปฏิบัติการ ไปสู่การปฎิบัติ การจัดสรรทรัพยากร และทำให้ผล ที่เกิดขึ้นยั่งยืน แผนปฏิบัติการที่สำคัญ และการดำเนินการเพื่อตอบสนองการเปลี่ยนแปลง แผนหลักด้านทรัพยากรบุคคล ตัวชี้วัดผลการดำเนินงาน และการทำให้ระบบการวัดผลเสริมให้ส่วนราชการมุ่งไปในแนวทางเดียวกัน การคาดการณ์ผลการ ดำเนินการ และเปรียบเทียบกับเป้าประสงค์เชิงยุทธ-ศาสตร์ ผลการดำเนินการ ที่ผ่านมา ผลการดำเนินการที่คาดไว้ของคู่แข่ง และระดับเทียบเคียง

44 2.2 การถ่ายทอดกลยุทธ์หลักเพื่อนำไปปฏิบัติ
2.2 การถ่ายทอดกลยุทธ์หลักเพื่อนำไปปฏิบัติ ก. การถ่ายทอดแผนปฏิบัติการไปสู่การปฏิบัติ (5) ส่วนราชการมีวิธีการอย่างไร ในการ - ถ่ายทอดแผนปฏิบัติการเพื่อนำไปปฏิบัติให้บรรลุเป้าประสงค์เชิง ยุทธศาสตร์ และกลยุทธ์หลัก - จัดสรรทรัพยากร เพื่อให้มั่นใจว่าสามารถปฏิบัติการตามแผนได้สำเร็จ - ทำให้ผลที่เกิดขึ้นจากการปฏิบัติตามแผนมีความยั่งยืน (6) - แผนปฏิบัติการที่สำคัญของส่วนราชการมีอะไรบ้าง - หากมีการเปลี่ยนแปลงที่สำคัญในการให้บริการ รวมทั้งผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ส่วนราชการจะดำเนินการอย่างไรเพื่อ ตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว (7) - แผนหลักด้านทรัพยากรบุคคลที่ตอบสนองเป้าประสงค์เชิง ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์หลัก และแผนปฏิบัติการมีอะไรบ้าง (8) - ตัวชี้วัดที่สำคัญที่ใช้ติดตามความคืบหน้าของแผนปฏิบัติการมีอะไรบ้าง - ส่วนราชการมีวิธีการอย่างไรในการทำให้ระบบการวัดผลสำเร็จของ แผนปฏิบัติการโดยรวม เสริมให้ส่วนราชการมุ่งไปในแนวทางเดียวกัน

45 2.2 การถ่ายทอดกลยุทธ์หลักเพื่อนำไปปฏิบัติ
2.2 การถ่ายทอดกลยุทธ์หลักเพื่อนำไปปฏิบัติ ข. การคาดการณ์ผลการดำเนินการ (9) - เป้าหมายการดำเนินการของแผนปฏิบัติการตามตัวชี้วัดที่ระบุในข้อ 2.2 ก(8) มีอะไรบ้าง - เป้าหมายการดำเนินการของแผนปฏิบัติการเป็นเช่นใด(*) เมื่อเปรียบเทียบ กับ -- เป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ -- ผลการดำเนินการที่ผ่านมา -- ผลการดำเนินการที่คาดไว้ของคู่แข่ง -- ระดับเทียบเคียงที่สำคัญ (Benchmark)

46 หมวด 3 การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
หมวด 3 การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 3.1 ความรู้เกี่ยวกับ ผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 3.2 ความสัมพันธ์ และความพึงพอใจของผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ก. ความรู้เกี่ยวกับผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ก. การสร้างความสัมพันธ์ กับผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ข. การวัดความพึงพอใจ ของผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย การสร้างความสัมพันธ์ กับผู้รับบริการฯ กลไกการขอข้อมูล ขอรับบริการ หรือร้องเรียน การกำหนดวิธีปฏิบัติ และทำให้มั่นใจว่าบุคลากรปฏิบัติตาม กระบวนการจัดการข้อร้องเรียน และทำให้มั่นใจว่าได้รับการแก้ไข การรวบรวมและวิเคราะห์เพื่อใช้ปรับปรุงการดำเนินการ การทำให้แนวทางในการสร้างความสัมพันธ์และช่องทางติดต่อเหมาะสมและทันสมัย การวัดความพึงพอใจ และไม่พึงพอใจของผู้รับบริการฯ แต่ละกลุ่ม และนำผลไปปรับปรุงการดำเนินการ การติดตามช้อมูลป้อนกลับ การหาและใช้ข้อมูลเชิงเปรียบเทียบด้านความพึงพอใจของผู้รับบริการฯ การทำให้แนวทางการวัด ความพึงพอใจเหมาะสม และทันสมัย การกำหนดหรือจำแนกกลุ่มผู้รับบริการฯ รวมถึงผู้รับบริการในอนาคต การรับฟังและเรียนรู้ความต้องการและความคาดหวัง และนำข้อมูลมาใช้ในการวางแผนปฏิบัติงาน การปรับปรุงกระบวนการ และการพัฒนาบริการใหม่ ๆ

47 หมวด 3 การให้ความสำคัญกับผู้บริการและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
หมวด 3 การให้ความสำคัญกับผู้บริการและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ในหมวดการให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย เป็นการตรวจประเมินว่าส่วนราชการกำหนดความต้องการ ความคาดหวัง และความนิยมชมชอบของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย การกำหนดปัจจัยที่สำคัญที่ทำให้ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียมีความพึงพอใจและนำไปสู่การกล่าวถึงส่วนราชการในทางที่ดี

48 3.1 ความรู้เกี่ยวกับผู้รับบริการและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
3.1 ความรู้เกี่ยวกับผู้รับบริการและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ก. ความรู้เกี่ยวกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (1) - ส่วนราชการมีวิธีการอย่างไรในการกำหนดหรือจำแนกกลุ่มผู้รับ บริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย - ส่วนราชการได้คำนึงถึงผู้รับบริการที่พึงมีในอนาคตมาประกอบ การพิจารณาดังกล่าวอย่างไร (2) - ส่วนราชการมีวิธีการอย่างไรในการรับฟังและเรียนรู้ความต้องการ และความคาดหวังหลัก ๆ ของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย แต่ละกลุ่ม - ส่วนราชการได้นำข้อมูลดังกล่าวมาใช้ในการวางแผนปฏิบัติงาน และการปรับปรุงกระบวนการ รวมถึงการพัฒนาการบริการใหม่ ๆ อย่างไร (3) - ส่วนราชการมีวิธีการอย่างไรในการทบทวนและปรับปรุงวิธีการรับ ฟังและเรียนรู้ความต้องการและความคาดหวังของผู้รับบริการและผู้ มีส่วนได้ส่วนเสียให้เหมาะสมและทันสมัยอยู่เสมอ

49 หมวด 3 การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
หมวด 3 การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 3.1 ความรู้เกี่ยวกับ ผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 3.2 ความสัมพันธ์ และความพึงพอใจของผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ก. ความรู้เกี่ยวกับผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ก. การสร้างความสัมพันธ์ กับผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ข. การวัดความพึงพอใจ ของผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย การสร้างความสัมพันธ์ กับผู้รับบริการฯ กลไกการขอข้อมูล ขอรับบริการ หรือร้องเรียน การกำหนดวิธีปฏิบัติ และทำให้มั่นใจว่าบุคลากรปฏิบัติตาม กระบวนการจัดการข้อร้องเรียน และทำให้มั่นใจว่าได้รับการแก้ไข การรวบรวมและวิเคราะห์เพื่อใช้ปรับปรุงการดำเนินการ การทำให้แนวทางในการสร้างความสัมพันธ์และช่องทางติดต่อเหมาะสมและทันสมัย การวัดความพึงพอใจ และไม่พึงพอใจของผู้รับบริการฯ แต่ละกลุ่ม และนำผลไปปรับปรุงการดำเนินการ การติดตามช้อมูลป้อนกลับ การหาและใช้ข้อมูลเชิงเปรียบเทียบด้านความพึงพอใจของผู้รับบริการฯ การทำให้แนวทางการวัด ความพึงพอใจเหมาะสม และทันสมัย การกำหนดหรือจำแนกกลุ่มผู้รับบริการฯ รวมถึงผู้รับบริการในอนาคต การรับฟังและเรียนรู้ความต้องการและความคาดหวัง และนำข้อมูลมาใช้ในการวางแผนปฏิบัติงาน การปรับปรุงกระบวนการ และการพัฒนาบริการใหม่ ๆ

50 3.2 ความสัมพันธ์และความพึงพอใจของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
3.2 ความสัมพันธ์และความพึงพอใจของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ก. การสร้างความสัมพันธ์กับผู้บริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (4) - ส่วนราชการมีวิธีการอย่างไรในการสร้างความสัมพันธ์กับผู้รับบริการและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย เพื่อตอบสนองความคาดหวังและสร้างความประทับใจ ให้แก่ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ซึ่งจะส่งผลให้ส่วนราชการมี ภาพลักษณ์ที่ดี และมีผู้มาใช้บริการเพิ่มขึ้น (*) (5) - ส่วนราชการมีวิธีการอะไรบ้างที่ให้ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียสามารถ ติดต่อขอข้อมูล ขอรับบริการ หรือร้องเรียนต่อส่วนราชการ - ส่วนราชการมีแนวทางอย่างไรในการกำหนดวิธีปฏิบัติของบุคลากรในส่วน ราชการในการติดต่อกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย - ส่วนราชการมั่นใจได้อย่างไรว่าบุคลากรที่เกี่ยวข้องทุกคนได้ปฏิบัติตามวิธี ปฏิบัติที่กำหนดไว้ (6) - ส่วนราชการมีกระบวนการจัดการข้อร้องเรียนอย่างไร - ส่วนราชการมั่นใจได้อย่างไรว่าข้อร้องเรียนเหล่านั้นได้รับการแก้ไขอย่างมี ประสิทธิผลและทันท่วงทีตามกระบวนการที่กำหนดไว้ - ส่วนราชการมีวิธีการอย่างไรในการรวบรวมและวิเคราะห์ข้อร้องเรียนทั้งหมด เพื่อใช้ในการปรับปรุงการดำเนินการของส่วนราชการของท่านและส่วนราชการ อื่นที่เกี่ยวข้อง (7) - ส่วนราชการทำอย่างไรเพื่อให้วิธีการสร้างความสัมพันธ์กับผู้รับบริการและผู้มี ส่วนได้ส่วนเสีย รวมทั้งวิธีการติดต่อเหมาะสมและทันสมัยอยู่เสมอ

51 3.2 ความสัมพันธ์และความพึงพอใจของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
3.2 ความสัมพันธ์และความพึงพอใจของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ข. การวัดความพึงพอใจของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (8) - ส่วนราชการมีวิธีการอย่างไรในการวัดความพึงพอใจและไม่พึงพอใจของ ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียแต่ละกลุ่ม - ส่วนราชการมีวิธีการอย่างไรเพื่อให้การวัดดังกล่าวได้ข้อมูลซึ่ง สามารถนำไปใช้สร้างความประทับใจและทำให้เกิดภาพลักษณ์ที่ดี - ส่วนราชการนำผลการวัดความพึงพอใจและไม่พึงพอใจไป ปรับปรุงการดำเนินการของส่วนราชการอย่างไร (9) - ส่วนราชการมีวิธีการอย่างไรในการติดตามในเรื่องคุณภาพการบริการ เพื่อให้ได้ข้อมูลป้อนกลับอย่างทันท่วงทีและนำไปใช้ดำเนินการต่อไปได้ (10)- ส่วนราชการมีวิธีการอย่างไรในการหาข้อมูลและใช้ข้อมูลเชิงเปรียบเทียบ ในด้านความพึงพอใจของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (11)- ส่วนราชการมีวิธีการอย่างไรในการหาข้อมูลและใช้ข้อมูลเชิงเปรียบเทียบ ในด้านความพึงพอใจของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียและทันสมัย อยู่เสมอ

52

53 หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้
4.1 การวัดและวิเคราะห์ผลการดำเนินการของส่วนราชการ 4.2 การจัดการสารสนเทศ และความรู้ ก. การวัดผลการดำเนินการ ข. การวิเคราะห์ผลการดำเนินการ ก. ความพร้อม ใช้งานของข้อมูลและสารสนเทศ ข. การจัดการ ความรู้ การเลือกและรวบรวมข้อมูลและสารสนเทศ ที่สอดคล้อง และเชื่อมโยงกัน การเลือกข้อมูล และสารสนเทศ เชิงเปรียบเทียบ มาสนับสนุนการตัดสินใจ และนวัตกรรม การทำให้ระบบการวัดผลเหมาะสมและทันสมัย และไวในการบ่งชี้ การเปลี่ยนแปลง การวิเคราะห์ ที่ให้ผู้บริหาร นำผลมาใช้ทบทวน ผลการดำเนินการ และวางแผน เชิงยุทธศาสตร์ การสื่อสาร ผลการวิเคราะห์ เพื่อสนับสนุน การตัดสินใจ ในการปฏิบัติงาน การทำให้ข้อมูล และสารสนเทศ พร้อมใช้งาน และสามารถเข้าถึง การทำให้อุปกรณ์ ที่เกี่ยวกับสารสนเทศเชื่อถือได้ ปลอดภัย และใช้งานง่าย การทำให้ข้อมูล และสารสนเทศ และอุปกรณ์เหมาะสมและทันสมัย การจัดการความรู้ การทำให้ข้อมูล และสารสนเทศ และความรู้ มีความครอบคลุม รวดเร็ว ถูกต้อง ทันสมัย เชื่อมโยง น่าเชื่อถือ สามารถเข้าถึง สามารถตรวจสอบ การมีส่วนร่วมในกระบวนการข้อมูล ปลอดภัย และรักษาความลับ

54 หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้
หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ ในหมวดการวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้นี้ เป็นการตรวจประเมินว่า ส่วนราชการเลือก รวบรวม วิเคราะห์ จัดการและปรับปรุงข้อมูลและสารสนเทศ และจัดการความรู้อย่างไร

55 4.1 การวัด การวิเคราะห์ผลการดำเนินการ ของส่วนราชการ
4.1 การวัด การวิเคราะห์ผลการดำเนินการ ของส่วนราชการ ก. การวัดผลการดำเนินการ (1) - ส่วนราชการมีวิธีการอย่างไรในการเลือกและรวบรวมข้อมูลและสารสนเทศที่มี ความสอดคล้องและเชื่อมโยงกัน เพื่อใช้ในการติดตามผลการปฏิบัติงาน และ ผลการดำเนินการของส่วนราชการโดยรวม - ส่วนราชการมีวิธีการอย่างไรในการใช้ข้อมูลและสารสนเทศเหล่านี้ มาสนับสนุนการตัดสินใจในส่วนราชการและสนับสนุนให้เกิดนวัตกรรม (2)- ส่วนราชการมีวิธีการอย่างไรในการเลือกข้อมูลและสารสนเทศเชิง เปรียบเทียบ มาสนับสนุนการตัดสินใจในส่วนราชการ และสนับสนุนให้เกิด นวัตกรรม (3) - ส่วนราชการมีวิธีการอย่างไรในการทำให้ระบบการวัดผลการดำเนินการ เหมาะสม และทันสมัยอยู่เสมอ - ส่วนราชการมีวิธีการอย่างไรในการทำให้มั่นใจว่าระบบการวัดผลการ ดำเนินการมีความไวในการบ่งชี้ถึงการเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็ว หรือไม่ได้ คาดการณ์ทั้งจากภายในและภายนอกส่วนราชการ

56 4.1 การวัด การวิเคราะห์ผลการดำเนินการ ของส่วนราชการ
4.1 การวัด การวิเคราะห์ผลการดำเนินการ ของส่วนราชการ ข. การวิเคราะห์ผลการดำเนินการ (4) - ส่วนราชการมีการวิเคราะห์ในเรื่องอะไรบ้าง เพื่อช่วยให้ผู้บริหารของ ส่วนราชการนำผลการวิเคราะห์มาใช้ในการทบทวนผลการดำเนินการ ของส่วนราชการ และนำไปใช้ในการวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ (5) – ส่วนราชการมีวิธีการอย่างไรในการสื่อสารให้ผู้ปฎิบัติงานในทุกระดับ ได้รับทราบถึง ผลการวิเคราะห์ เพื่อใช้เป็นข้อมูลสนับสนุนการตัดสินใจ ในการปฏิบัติงานอย่างมีประสิทธิผล

57 หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้
4.1 การวัดและวิเคราะห์ผลการดำเนินการของส่วนราชการ 4.2 การจัดการสารสนเทศ และความรู้ ก. การวัดผลการดำเนินการ ข. การวิเคราะห์ผลการดำเนินการ ก. ความพร้อม ใช้งานของข้อมูลและสารสนเทศ ข. การจัดการ ความรู้ การเลือกและรวบรวมข้อมูลและสารสนเทศ ที่สอดคล้อง และเชื่อมโยงกัน การเลือกข้อมูล และสารสนเทศ เชิงเปรียบเทียบ มาสนับสนุนการตัดสินใจ และนวัตกรรม การทำให้ระบบการวัดผลเหมาะสมและทันสมัย และไวในการบ่งชี้ การเปลี่ยนแปลง การวิเคราะห์ ที่ให้ผู้บริหาร นำผลมาใช้ทบทวน ผลการดำเนินการ และวางแผน เชิงยุทธศาสตร์ การสื่อสาร ผลการวิเคราะห์ เพื่อสนับสนุน การตัดสินใจ ในการปฏิบัติงาน การทำให้ข้อมูล และสารสนเทศ พร้อมใช้งาน และสามารถเข้าถึง การทำให้อุปกรณ์ ที่เกี่ยวกับสารสนเทศเชื่อถือได้ ปลอดภัย และใช้งานง่าย การทำให้ข้อมูล และสารสนเทศ และอุปกรณ์เหมาะสมและทันสมัย การจัดการความรู้ การทำให้ข้อมูล และสารสนเทศ และความรู้ มีความครอบคลุม รวดเร็ว ถูกต้อง ทันสมัย เชื่อมโยง น่าเชื่อถือ สามารถเข้าถึง สามารถตรวจสอบ การมีส่วนร่วมในกระบวนการข้อมูล ปลอดภัย และรักษาความลับ

58 4.2 การจัดการสารสนเทศ และความรู้
4.2 การจัดการสารสนเทศ และความรู้ ก. ความพร้อมใช้งานของข้อมูลและสารสนเทศ (6) - ส่วนราชการมีวิธีการอย่างไรในการทำให้ข้อมูลและสารสนเทศที่ต้องการมี ความพร้อมใช้งาน และทำให้บุคลากร ผู้รับบริการ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และ องค์กรอื่นๆ ที่ปฏิบัติงานเกี่ยวข้องกันสามารถเข้าถึงข้อมูลและสารสนเทศ ดังกล่าว (7) - ส่วนราชการมีวิธีการอย่างไรในการทำให้อุปกรณ์ที่เกี่ยวกับสารสนเทศ (ฮาร์ดแวร์และซอฟแวร์) ที่ใช้ในส่วนราชการมีความเชื่อถือได้ ปลอดภัย และใช้งานง่าย (8) - ส่วนราชการมีวิธีการอย่างไรในการทำให้ระบบการจัดการข้อมูลและ สารสนเทศ และอุปกรณ์ที่เกี่ยวกับสารสนเทศดังกล่าวเหมาะสมและทันสมัย อยู่เสมอ

59 4.2 การจัดการสารสนเทศ และความรู้
4.2 การจัดการสารสนเทศ และความรู้ ข. การจัดการความรู้ (9) ส่วนราชการมีวิธีการอย่างไรในการจัดการความรู้เพื่อให้เรื่องต่อไปนี้บรรลุผล - การรวบรวมและถ่ายทอดความรู้ของบุคลากรในส่วนราชการ - การรับการถ่ายทอดความรู้ที่มีประโยชน์จากผู้รับบริการผู้มีส่วนได้ ส่วนเสีย และองค์กรอื่น - การแสวงหาและแลกเปลี่ยนวิธีการปฏิบัติที่เป็นเลิศ (10) ส่วนราชการมีวิธีการอย่างไรเพื่อให้ข้อมูล สารสนเทศ และความรู้ ของส่วนราชการ มีคุณลักษณะดังต่อไปนี้ - ความครอบคลุม - ความรวดเร็ว - ความถูกต้อง - ความทันสมัย - ความเชื่อมโยง - ความน่าเชื่อถือ - ความสามารถในการเข้าถึง - ความสามารถในการตรวจสอบ - การมีส่วนร่วมในกระบวนการข้อมูล - ความปลอดภัย - การรักษาความลับ

60 ตัวอย่าง หมวด 4

61 ตัวอย่าง ขั้นตอนที่ 1 Leadership System and Enterprise Planning Process เป็นขั้นตอนการวางแผนและกำหนดเป้าหมายระดับองค์กร ขั้นตอนที่ 2 Goal Flowdown เป็นขั้นตอนการสื่อสารและถ่ายทอดเป้าหมาย และทิศทางองค์กรสู่หน่วยงานทุกฝ่ายทุกระดับ ขั้นตอนที่ 3 AS Organization เป็นขั้นตอนการกำหนดตัวชี้วัดและ เป้าหมายในหน่วยงานทุกฝ่ายทุกระดับทั่วทั้งองค์กร รวมทั้งจัดทำแผนงาน และ performance and development รายบุคคล ขั้นตอนที่ 4 Measurement, Analysis and Knowledge เป็นขั้นตอนการวัด วิเคราะห์ แปลงเป็นข้อสนเทศที่จำเป็นสำหรับการตัดสินใจ และนวัตกรรม ขั้นตอนที่ 5 Performance Review and Communication เป็นขั้นตอนขององค์การรายงานผล และประชุมเพื่อทบทวนผลงาน ซึ่งการรายงานผลใช้ระบบ Vision Support Plan System

62 หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
5.1 ระบบบงาน 5.2 การเรียนรู้ ของบุคลากร และการสร้างแรงจูงใจ 5.3 การสร้างความผาสุกและความพึงพอใจ ของบุคลากร ก. การจัด และบริหารงาน ข. ระบบ การประเมินผลการปฏิบัติงานของบุคลากร ค. การจ้างงาน และความก้าวหน้า ในหน้าที่การงาน ก. สภาพแวดล้อม ในการทำงาน ข. การให้การสนับสนุนและสร้างความพึง-พอใจแก่บุคลากร การจัดโครงสร้างองค์กร และระบบ การทำงาน เพื่อส่งเสริมความร่วมมือ ความคิดริเริ่ม การกระจายอำนาจ การตัดสินใจ นวัตกรรม การคำนึงถึงวัฒนธรรม และความคิด ที่หลากหลาย การทำให้ การสื่อสาร การแลกเปลี่ยนความรู้ หรือทักษะ มีประสิทธิผล ระบบ การประเมินผล และการแจ้งผลเพื่อให้เกิด การพัฒนา และปรับปรุงงาน การยกย่องชมเชย การให้รางวัลและสิ่งจูงใจ การกำหนดคุณลักษณะ และทักษะ การสรรหาว่าจ้างและรักษาบุคลากร การเตรียมบุคลากรสำหรับตำแหน่งสำคัญ และการสร้างความก้าวหน้า การส่งเสริมสุขอนามัย ความปลอดภัย การป้องกันภัย การปรับปรุงสภาพแวดล้อม และบุคลากรมีส่วนร่วม การทำให้สถานที่ทำงานเตรียมพร้อม ต่อภาวะฉุกเฉิน และภัยพิบัติ การกำหนดปัจจัยความผาสุก ความพึงพอใจ และแรงจูงใจ สำหรับแต่ละกลุ่ม การบริการ สวัสดิการ และนโยบาย การกำหนดตัวชี้วัดและวิธีการประเมิน ที่เป็นทางการ และไม่เป็นทางการ การนำผล การประเมิน มากำหนดลำดับความสำคัญ ในการปรับปรุง ก. การพัฒนาบุคลากร ข. การสร้างแรงจูงใจ และการพัฒนา ความ ก้าวหน้าในหน้าที่การงาน การหาความต้องการ ในการฝึกอบรม การส่งเสริมการใช้ความรู้และทักษะใหม่ การจูงใจให้พนักงานพัฒนาตนเองและใช้ศักยภาพอย่างเต็มที่

63 หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล ในหมวดของการมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคลนี้ เป็นการตรวจประเมินว่า ระบบงาน และระบบการเรียนรู้ของบุคลากรและการสร้างแรงจูงใจ ช่วยให้บุคลากรพัฒนาตนเองและใช้ศักยภาพอย่างเต็มที่ เพื่อให้มุ่งไปในแนวทางเดียวกันเป้าประสงค์และแผนปฏิบัติการโดยรวมของส่วนราชการอย่างไร รวมทั้งตรวจประเมินความใส่ใจการสร้างและรักษาสภาพแวดล้อมในการทำงานสร้างบรรยากาศที่เอื้อต่อการปฏิบัติงานของบุคลากร ซึ่งจะนำไปสู่ผลการดำเนินการที่เป็นเลิศและความเจริญก้าวหน้าของบุคลากรและส่วนราชการ

64 5.1 ระบบงาน ก. การจัดและบริหารงาน
5.1 ระบบงาน ก. การจัดและบริหารงาน (1) - ส่วนราชการมีวิธีการอย่างไรในการจัดโครงสร้างองค์กรและระบบการ ทำงาน ทั้งที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการ เพื่อส่งเสริมให้บุคลากรเกิดความร่วมมือ ความคิดริเริ่ม การกระจายอำนาจในการตัดสินใจ นวัตกรรม ความคล่องตัว และทันต่อความต้องการของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียอยู่เสมอ (2) - ในการจัดโครงสร้างองค์กรและระบบการทำงานดังกล่าว ส่วนราชการได้คำนึงถึงวัฒนธรรมและความคิดของบุคลากรและของชุมชนซึ่งส่วนราชการมีปฏิสัมพันธ์ด้วยมาพิจารณาอย่างไร (ให้ตอบตามความเหมาะสมของภารกิจของส่วนราชการ) (3) - ส่วนราชการทำอย่างไรเพื่อให้การสื่อสาร การแลกเปลี่ยนความรู้หรือทักษะระหว่างบุคลากรภายในส่วนราชการมีประสิทธิผล

65 5.1 ระบบงาน ข. ระบบการประเมินผลการปฏิบัติงานของบุคลากร
5.1 ระบบงาน ข. ระบบการประเมินผลการปฏิบัติงานของบุคลากร (4) - ส่วนราชการมีระบบการประเมินผลการปฏิบัติงานของบุคลากรและมีการ แจ้งผลเพื่อให้เกิดการพัฒนาและปรับปรุงการทำงานให้แก่บุคลากร รายบุคคลอย่างไร - ส่วนราชการมีวิธีการอย่างไรในการยกย่องชมเชย การให้รางวัลและ สิ่งจูงใจ เพื่อสนับสนุนให้บุคลากรมีขวัญกำลังใจ มีการทำงานอย่างมี ประสิทธิผล มีจิตสำนึกในการทำงานที่มุ่งเน้นผลประโยชน์และความ ต้องการของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

66 5.1 ระบบงาน ค. การจ้างงานและความก้าวหน้าที่การงาน
5.1 ระบบงาน ค. การจ้างงานและความก้าวหน้าที่การงาน (5) - ส่วนราชการมีวิธีการกำหนดคุณลักษณะและทักษะที่จำเป็นของบุคลากรในแต่ละตำแหน่งอย่างไร (6) - ส่วนราชการมีวิธีการสรรหา ว่าจ้าง และรักษาบุคลากรไว้อย่างไร - ในการสรรหา ว่าจ้าง และรักษาบุคลากร ส่วนราชการได้คำนึงถึง วัฒนธรรมและความคิดของบุคลากรและของชุมชนที่ส่วนราชการตั้งอยู่อย่างไร(ให้ตอบตามความเหมาะสมของภารกิจของส่วนราชการ) (7) - ส่วนราชการมีแผนในการเตรียมบุคลากรสำหรับตำแหน่งบริหาร หรือตำแหน่งที่มีความสำคัญต่อภารกิจหลักของส่วนราชการอย่างไร - ส่วนราชการมีวิธีการอย่างไรในการสร้างความก้าวหน้าในหน้าที่การงานให้แก่บุคลากรทั่วทั้งส่วนราชการ (8) - ส่วนราชการมีวิธีการอย่างไรในการพัฒนาบุคลากรที่มาจากท้องถิ่นนั้นให้มีโอกาสก้าวหน้าในหน้าที่การงานในการปฏิบัติราชการ (ให้ตอบตามความเหมาะสมของภารกิจของส่วนราชการ)

67 หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
5.1 ระบบบงาน 5.2 การเรียนรู้ ของบุคลากร และการสร้างแรงจูงใจ 5.3 การสร้างความผาสุกและความพึงพอใจ ของบุคลากร ก. การจัด และบริหารงาน ข. ระบบ การประเมินผลการปฏิบัติงานของบุคลากร ค. การจ้างงาน และความก้าวหน้า ในหน้าที่การงาน ก. สภาพแวดล้อม ในการทำงาน ข. การให้การสนับสนุนและสร้างความพึง-พอใจแก่บุคลากร การจัดโครงสร้างองค์กร และระบบ การทำงาน เพื่อส่งเสริมความร่วมมือ ความคิดริเริ่ม การกระจายอำนาจ การตัดสินใจ นวัตกรรม การคำนึงถึงวัฒนธรรม และความคิด ที่หลากหลาย การทำให้ การสื่อสาร การแลกเปลี่ยนความรู้ หรือทักษะ มีประสิทธิผล ระบบ การประเมินผล และการแจ้งผลเพื่อให้เกิด การพัฒนา และปรับปรุงงาน การยกย่องชมเชย การให้รางวัลและสิ่งจูงใจ การกำหนดคุณลักษณะ และทักษะ การสรรหาว่าจ้างและรักษาบุคลากร การเตรียมบุคลากรสำหรับตำแหน่งสำคัญ และการสร้างความก้าวหน้า การส่งเสริมสุขอนามัย ความปลอดภัย การป้องกันภัย การปรับปรุงสภาพแวดล้อม และบุคลากรมีส่วนร่วม การทำให้สถานที่ทำงานเตรียมพร้อม ต่อภาวะฉุกเฉิน และภัยพิบัติ การกำหนดปัจจัยความผาสุก ความพึงพอใจ และแรงจูงใจ สำหรับแต่ละกลุ่ม การบริการ สวัสดิการ และนโยบาย การกำหนดตัวชี้วัดและวิธีการประเมิน ที่เป็นทางการ และไม่เป็นทางการ การนำผล การประเมิน มากำหนดลำดับความสำคัญ ในการปรับปรุง ก. การพัฒนาบุคลากร ข. การสร้างแรงจูงใจ และการพัฒนา ความ ก้าวหน้าในหน้าที่การงาน การหาความต้องการ ในการฝึกอบรม การส่งเสริมการใช้ความรู้และทักษะใหม่ การจูงใจให้พนักงานพัฒนาตนเองและใช้ศักยภาพอย่างเต็มที่

68 5.2 การเรียนรู้ของบุคลากร และการสร้างแรงจูงใจ
5.2 การเรียนรู้ของบุคลากร และการสร้างแรงจูงใจ ก. การพัฒนาบุคลากร (9) - ส่วนราชการมีวิธีการอย่างไรในการพัฒนาบุคลากร เพื่อ - ให้แผนปฏิบัติการและผลการดำเนินการเป็นไปตามที่กำหนดไว้ - ให้เกิดความสมดุลระหว่างเป้าประสงค์ทั้งระยะสั้นและระยะยาวของส่วน ราชการกับความต้องการของบุคลากร ในด้านการพัฒนาการเรียนรู้ และ ความก้าวหน้าในหน้าที่การงาน (10) - ส่วนราชการมีวิธีการอย่างไรในการให้การศึกษาและฝึกอบรม ซึ่ง ครอบคลุมในเรื่องต่อไปนี้ ได้แก่ การอบรมบุคลากรใหม่ จริยธรรม การบริหารจัดการ การพัฒนาภาวะผู้นำ ความปลอดภัย อาชีวอนามัย สิ่งแวดล้อมในการทำงาน

69 5.2 การเรียนรู้ของบุคลากร และการสร้างแรงจูงใจ
5.2 การเรียนรู้ของบุคลากร และการสร้างแรงจูงใจ ก. การพัฒนาบุคลากร (11) – ส่วนราชการมีวิธีการอย่างไรในการหาความจำเป็นและความต้องการใน การฝึกอบรมจากบุคลากรทั่วไป หัวหน้างานและผู้บังคับบัญชา – ส่วนราชการนำความจำเป็นและความต้องการในการฝึกอบรมดังกล่าว มาประกอบการพัฒนาบุคลากรอย่างไร – ส่วนราชการมีวิธีการอย่างไรในการนำความรู้ที่มีอยู่ในส่วนราชการมา ช่วยในการพัฒนาบุคลากร (12) – ส่วนราชการมีวิธีการพัฒนาบุคลากรทั้งอย่างเป็นทางการและไม่เป็น ทางการอย่างไร (13) – ส่วนราชการส่งเสริมให้มีการนำความรู้และทักษะใหม่ๆ ที่ได้จาก การศึกษาและฝึกอบรม มาใช้ในการปฏิบัติงานอย่างไร (14) – ส่วนราชการมีวิธีการประเมินประสิทธิผลของการศึกษาและการฝึกอบรม ของบุคลากรอย่างไร ทั้งนี้ ให้พิจารณาจากผลการปฏิบัติงานของแต่ละ บุคคลและผลการปฏิบัติงานของส่วนราชการโดยรวม

70 5.2 การเรียนรู้ของบุคลากร และการสร้างแรงจูงใจ
5.2 การเรียนรู้ของบุคลากร และการสร้างแรงจูงใจ ข. การสร้างแรงจูงใจและการพัฒนาความก้าวหน้าในหน้าที่การงาน (15) – ส่วนราชการมีวิธีการอย่างไรเพื่อช่วยให้บุคลากรพัฒนาตนเองให้เกิด ความก้าวหน้าในหน้าที่การงาน – ผู้บริหารและผู้บังคับบัญชาตามสายงานมีบทบาทอย่างไรในการช่วยให้ บุคลากรบรรลุเป้าประสงค์ดังกล่าว

71 หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
5.1 ระบบบงาน 5.2 การเรียนรู้ ของบุคลากร และการสร้างแรงจูงใจ 5.3 การสร้างความผาสุกและความพึงพอใจ ของบุคลากร ก. การจัด และบริหารงาน ข. ระบบ การประเมินผลการปฏิบัติงานของบุคลากร ค. การจ้างงาน และความก้าวหน้า ในหน้าที่การงาน ก. สภาพแวดล้อม ในการทำงาน ข. การให้การสนับสนุนและสร้างความพึง-พอใจแก่บุคลากร การจัดโครงสร้างองค์กร และระบบ การทำงาน เพื่อส่งเสริมความร่วมมือ ความคิดริเริ่ม การกระจายอำนาจ การตัดสินใจ นวัตกรรม การคำนึงถึงวัฒนธรรม และความคิด ที่หลากหลาย การทำให้ การสื่อสาร การแลกเปลี่ยนความรู้ หรือทักษะ มีประสิทธิผล ระบบ การประเมินผล และการแจ้งผลเพื่อให้เกิด การพัฒนา และปรับปรุงงาน การยกย่องชมเชย การให้รางวัลและสิ่งจูงใจ การกำหนดคุณลักษณะ และทักษะ การสรรหาว่าจ้างและรักษาบุคลากร การเตรียมบุคลากรสำหรับตำแหน่งสำคัญ และการสร้างความก้าวหน้า การส่งเสริมสุขอนามัย ความปลอดภัย การป้องกันภัย การปรับปรุงสภาพแวดล้อม และบุคลากรมีส่วนร่วม การทำให้สถานที่ทำงานเตรียมพร้อม ต่อภาวะฉุกเฉิน และภัยพิบัติ การกำหนดปัจจัยความผาสุก ความพึงพอใจ และแรงจูงใจ สำหรับแต่ละกลุ่ม การบริการ สวัสดิการ และนโยบาย การกำหนดตัวชี้วัดและวิธีการประเมิน ที่เป็นทางการ และไม่เป็นทางการ การนำผล การประเมิน มากำหนดลำดับความสำคัญ ในการปรับปรุง ก. การพัฒนาบุคลากร ข. การสร้างแรงจูงใจ และการพัฒนา ความ ก้าวหน้าในหน้าที่การงาน การหาความต้องการ ในการฝึกอบรม การส่งเสริมการใช้ความรู้และทักษะใหม่ การจูงใจให้พนักงานพัฒนาตนเองและใช้ศักยภาพอย่างเต็มที่

72 5.3 การสร้างความผาสุก และความพึงพอใจแก่บุคลากร
5.3 การสร้างความผาสุก และความพึงพอใจแก่บุคลากร ก. สภาพแวดล้อมในการทำงาน (16) - ส่วนราชการมีวิธีการอย่างไรในการส่งเสริมสุขอนามัย ความปลอดภัย การป้องกันภัย การปรับปรุงสภาพแวดล้อมในการทำงานและอุปกรณ์ให้ เหมาะสมกับการปฏิบัติงาน - ส่วนราชการกำหนดเป้าหมายหรือตัวชี้วัดในเรื่องดังกล่าวอย่างไร - บุคลากรมีส่วนร่วมในการส่งเสริมและปรับปรุงในเรื่องดังกล่าวอย่างไร (17) - ส่วนราชการมีวิธีอย่างไรในการทำให้สถานที่ทำงานมีการเตรียมพร้อมต่อ ภาวะฉุกเฉินและภัยพิบัติ เพื่อให้สามารถดำเนินภารกิจไปได้อย่างต่อเนื่อง

73 5.3 การสร้างความผาสุก และความพึงพอใจแก่บุคลากร
5.3 การสร้างความผาสุก และความพึงพอใจแก่บุคลากร ข. การสนับสนุนและการสร้างความพึงพอใจให้แก่บุคลากร (18) - ส่วนราชการมีวิธีการในการกำหนดปัจจัยที่มีผลต่อความผาสุก ความพึงพอใจ และแรงจูงใจของบุคลากรในแต่ละระดับและแต่ละประเภทอย่างไร (19) - นอกเหนือจากระเบียบสวัสดิการกลางที่กำหนดไว้ ส่วนราชการมีการ สนับสนุนบุคลากรอย่างไร ในเรื่องนโยบาย สวัสดิการ และการบริการ โดย กำหนดให้ตรงกับความต้องการของบุคลากรในแต่ละระดับและแต่ละประเภท

74 5.3 การสร้างความผาสุก และความพึงพอใจแก่บุคลากร
5.3 การสร้างความผาสุก และความพึงพอใจแก่บุคลากร ข. การสนับสนุนและการสร้างความพึงพอใจให้แก่บุคลากร (20) - ส่วนราชการมีการกำหนดตัวชี้วัด และวิธีการประเมินความผาสุก ความพึง พอใจและแรงจูงใจของบุคลากรแต่ละระดับ และ แต่ละประเภท ทั้งที่เป็น ทางการ และไม่เป็นทางการอย่างไร - ส่วนราชการได้ใช้ตัวชี้วัดต่าง ๆ เช่น การสูญเสียบุคลากร การหยุดงาน การร้องเรียน การร้องทุกข์ ความปลอดภัย และผลิตภาพ เพื่อมาประเมิน ความผาสุก ความพึงพอใจ และการสร้างแรงจูงใจของบุคลากรอย่างไร (21) - ส่วนราชการมีวิธีการอย่างไรในการนำผลการประเมินความผาสุกความพึง พอใจและการสร้างแรงจูงใจของบุคลากรมาเชื่อมโยงกับผลลัพธ์ในการ ดำเนินการ เพื่อ จัดลำดับความสำคัญในการปรับปรุงความผาสุก ความพึง พอใจ และการสร้างแรงจูงใจรวมทั้งบรรยากาศและสภาพแวดล้อมในการ ทำงาน

75 ตัวอย่าง หมวด 5

76 ตัวอย่าง ขั้นตอนที่ 1 กำหนดกลยุทธ์ด้านทรัพยากรบุคคล (Workforce Strategies) เป็นขั้นตอนการกำหนดเป้าทรัพยากรบุคคล และวิธีการใช้ เพื่อตอบสนองต่อวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ของบริษัท (แสดง integration กับหมวดที่ 2) ขั้นตอนที่ 2 การออกแบบระบบงาน การสรรหาบุคลากร การกำหนดทิศทางและเป้าหมาย เป็นขั้นตอนการกำหนดรายละเอียดของงาน การสรรหาได้มาซึ่งบุคลากรที่มีคุณสมบัติและความรู้ความสามารถที่ต้องการ การกำหนดทิศทางและผลการดำเนินงานที่คาดหวังจากบุคลากรทุกระดับ ขั้นตอนที่ 3 การโน้มนำและการประเมินผลการดำเนินงาน เป็นขั้นตอนการให้ความรู้ที่จำเป็นต่างๆ ให้แก่พนักงาน การกระจายอำนาจโดยผ่านการร่วมมือกันเป็นทีม (team-based structure ) และการติดตามประเมินผลการดำเนินงาน ผ่านระบบการวัดและการประเมินผลงาน ขั้นตอนที่ 4 การรักษาสร้างขวัญกำลังใจสำหรับผู้มีผลงานดี โดยจัดให้มีระบบยกย่องชมเชย และให้รางวัล ค่าตอบแทนเพื่อสร้างขวัญกำลังใจและรักษาไว้ซึ่งบุคลากรที่มีผลงานดีเด่น ขั้นตอนที่ 5 การพัฒนาบุคลากร เพื่อสร้างบุคลากรที่มีสมรรถนะและขีดความสามารถสูง

77 หมวด 6 การจัดการกระบวนการ
6.1 กระบวนการที่สร้างคุณค่า 6.2 กระบวนการสนับสนุน ก. กระบวนการที่สร้างคุณค่า ก. กระบวนการสนับสนุน การกำหนดกระบวนการที่สร้างคุณค่า การจัดทำข้อกำหนดที่สำคัญของกระบวนการ ที่สร้างคุณค่า การออกแบบกระบวนการโดยนำปัจจัยที่สำคัญมาประกอบ และบูรณาการกับส่วนราชการอื่น การนำกระบวนการไปปฏิบัติให้บรรลุผลตามข้อกำหนด ที่สำคัญ การลดค่าใช้จ่ายด้านการตรวจสอบ ทดสอบ และตรวจประเมิน และป้องกันไม่ใช้เกิดข้อผิดพลาด ทำงานซ้ำ และความสูญเสีย การปรับปรุงกระบวนการให้ดีขึ้น และนำมาเผยแพร่แลกเปลี่ยนภายในและระหว่างหน่วยงาน การกำหนดกระบวนการสนับสนุน การจัดทำข้อกำหนดที่สำคัญของกระบวนการสนับสนุน การออกแบบกระบวนการโดยนำปัจจัยที่สำคัญมาประกอบ และบูรณาการกับส่วนราชการอื่น การนำกระบวนการไปปฏิบัติให้บรรลุผลข้อกำหนด ที่สำคัญ การลดค่าใช้จ่ายด้านการตรวจสอบ ทดสอบ และตรวจประเมิน และป้องกันไม่ใช้เกิดข้อผิดพลาด ทำงานซ้ำ และความสูญเสีย การปรับปรุงกระบวนการให้ดีขึ้น และนำมาเผยแพร่แลกเปลี่ยนภายในและระหว่างหน่วยงาน

78 หมวด 6 การจัดการกระบวนการ
หมวด 6 การจัดการกระบวนการ ในหมวดการจัดการกระบวนการ เป็นการตรวจประเมินแง่มุมที่สำคัญทั้งหมดของการจัดการกระบวนการ การให้บริการ และกระบวนการอื่นที่สำคัญที่ช่วยสร้างคุณค่าแก่ผู้รับบริการ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และการบรรลุพันธกิจของส่วนราชการ ตลอดจนกระบวนการสนับสนุนที่สำคัญต่างๆ หมวดนี้ครอบคลุมกระบวนการที่สำคัญและหน่วยงานทั้งหมด

79 6.1 กระบวนการที่สร้างคุณค่า
6.1 กระบวนการที่สร้างคุณค่า ก. กระบวนการที่สร้างคุณค่า (1) - ส่วนราชการมีวิธีการอย่างไรในการกำหนดว่ากระบวนการใดเป็น กระบวนการที่สร้างคุณค่าต่อผู้รับบริการ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และ การบรรลุพันธกิจของส่วนราชการ - กระบวนการที่สร้างคุณค่าที่สำคัญมีอะไรบ้าง (2) - ส่วนราชการมีวิธีการอย่างไรในการจัดทำข้อกำหนดที่สำคัญของ กระบวนการที่สร้างคุณค่า โดยนำข้อมูลที่ได้จากผู้รับบริการและผู้มี ส่วนได้ส่วนเสียมาประกอบในการจัดทำข้อกำหนดที่สำคัญเหล่านั้น - ข้อกำหนดที่สำคัญของกระบวนการดังกล่าวมีอะไรบ้าง

80 6.1 กระบวนการที่สร้างคุณค่า
6.1 กระบวนการที่สร้างคุณค่า (3) - ส่วนราชการมีวิธีการอย่างไรในการออกแบบกระบวนการที่สร้าง คุณค่า - ส่วนราชการได้นำเรื่องเหล่านี้มาประกอบในการออกแบบอย่างไร - - องค์ความรู้ของส่วนราชการ และเทคโนโลยีใหม่ ๆ - - ความต้องการของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย - - ขั้นตอน ระยะเวลาในการปฏิบัติงาน ผลิตภาพ การควบคุม ค่าใช้จ่าย และ ปัจจัยประสิทธิภาพประสิทธิผลอื่น ๆ - - เป้าหมายและผลสัมฤทธิ์ของภารกิจ - ส่วนราชการมีแนวทางอย่างไรในการออกแบบและบูรณาการ กระบวนการที่สร้างคุณค่าที่เกี่ยวข้องกับส่วนราชการอื่น เพื่อให้ ส่งผลต่อผู้รับบริการ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และการบรรลุพันธกิจ ของส่วนราชการ (ให้ส่วนราชการตอบตามความเหมาะสมของ ภารกิจของส่วนราชการ)

81 6.1 กระบวนการที่สร้างคุณค่า
6.1 กระบวนการที่สร้างคุณค่า (4) - ส่วนราชการมีตัวชี้วัดที่สำคัญอะไรบ้างที่ใช้ในการควบคุมและ ปรับปรุงกระบวนการที่สร้างคุณค่า - ส่วนราชการมีวิธีการอย่างไรในการนำกระบวนการดังกล่าวไป ปฏิบัติ เพื่อให้บรรลุผลตามข้อกำหนดที่สำคัญเหล่านั้น (5) - ส่วนราชการมีวิธีการอย่างไรในการลดค่าใช้จ่ายในด้านการ ตรวจสอบการทดสอบและการตรวจประเมินกระบวนการหรือผล การดำเนินการ - ส่วนราชการมีวิธีการอย่างไรในการป้องกันไม่ให้เกิดข้อผิดพลาด การทำงานซ้ำและความสูญเสียจากผลการดำเนินการ (6) - ส่วนราชการมีวิธีการอย่างไรในการปรับปรุงกระบวนการที่สร้าง คุณค่า เพื่อให้ผลการดำเนินการและการให้บริการดีขึ้น - ส่วนราชการมีวิธีการอย่างไรในการนำการปรับปรุงดังกล่าวมา เผยแพร่แลกเปลี่ยนประสบการณ์ภายในหน่วยงานและระหว่าง หน่วยงาน

82 หมวด 6 การจัดการกระบวนการ
6.1 กระบวนการที่สร้างคุณค่า 6.2 กระบวนการสนับสนุน ก. กระบวนการที่สร้างคุณค่า ก. กระบวนการสนับสนุน การกำหนดกระบวนการที่สร้างคุณค่า การจัดทำข้อกำหนดที่สำคัญของกระบวนการ ที่สร้างคุณค่า การออกแบบกระบวนการโดยนำปัจจัยที่สำคัญมาประกอบ และบูรณาการกับส่วนราชการอื่น การนำกระบวนการไปปฏิบัติให้บรรลุผลตามข้อกำหนด ที่สำคัญ การลดค่าใช้จ่ายด้านการตรวจสอบ ทดสอบ และตรวจประเมิน และป้องกันไม่ใช้เกิดข้อผิดพลาด ทำงานซ้ำ และความสูญเสีย การปรับปรุงกระบวนการให้ดีขึ้น และนำมาเผยแพร่แลกเปลี่ยนภายในและระหว่างหน่วยงาน การกำหนดกระบวนการสนับสนุน การจัดทำข้อกำหนดที่สำคัญของกระบวนการสนับสนุน การออกแบบกระบวนการโดยนำปัจจัยที่สำคัญมาประกอบ และบูรณาการกับส่วนราชการอื่น การนำกระบวนการไปปฏิบัติให้บรรลุผลข้อกำหนด ที่สำคัญ การลดค่าใช้จ่ายด้านการตรวจสอบ ทดสอบ และตรวจประเมิน และป้องกันไม่ใช้เกิดข้อผิดพลาด ทำงานซ้ำ และความสูญเสีย การปรับปรุงกระบวนการให้ดีขึ้น และนำมาเผยแพร่แลกเปลี่ยนภายในและระหว่างหน่วยงาน

83 6.2 กระบวนการสนับสนุน ก. กระบวนการสนับสนุน
6.2 กระบวนการสนับสนุน ก. กระบวนการสนับสนุน (7) - ส่วนราชการมีวิธีการอย่างไรในการกำหนดว่ากระบวนการใดเป็น กระบวนการสนับสนุน - กระบวนการสนับสนุนที่สำคัญมีอะไรบ้าง (8) - ส่วนราชการมีวิธีการอย่างไรในการจัดทำข้อกำหนดที่สำคัญของ กระบวนการสนับสนุน โดยนำข้อมูลที่ได้จากผู้รับบริการภายในและ ภายนอกมาประกอบในการจัดทำข้อกำหนดที่สำคัญเหล่านั้น - ข้อกำหนดที่สำคัญของกระบวนการดังกล่าวมีอะไรบ้าง

84 6.2 กระบวนการสนับสนุน (9) - ส่วนราชการมีวิธีการอย่างไรในการออกแบบกระบวนการ สนับสนุน - ส่วนราชการได้นำเรื่องเหล่านี้มาประกอบในการออกแบบอย่างไร - - องค์ความรู้ของส่วนราชการ และเทคโนโลยีใหม่ ๆ - - ความต้องการของผู้รับบริการทั้งภายในและภายนอก - - ขั้นตอน ระยะเวลาในการปฏิบัติงาน ผลิตภาพ การควบคุม ค่าใช้จ่าย และปัจจัยประสิทธิภาพ ประสิทธิผลอื่น ๆ - - เป้าหมายและผลสัมฤทธิ์ของภารกิจ - ส่วนราชการมีแนวทางอย่างไรในการออกแบบและบูรณาการ กระบวนการสนับสนุนที่เกี่ยวข้องกับส่วนราชการอื่น (ให้ส่วน ราชการตอบตามความเหมาะสมของภารกิจของส่วนราชการ)

85 6.2 กระบวนการสนับสนุน (10) - ส่วนราชการมีตัวชี้วัดที่สำคัญอะไรบ้างที่ใช้ในการควบคุมและ ปรับปรุงกระบวนการสนับสนุน - ส่วนราชการมีวิธีการอย่างไรในการนำกระบวนการดังกล่าวไป ปฏิบัติ เพื่อให้บรรลุผลตามข้อกำหนดที่สำคัญนั้น (11)- ส่วนราชการมีวิธีการอย่างไรในการลดค่าใช้จ่ายในด้านการ ตรวจสอบ การทดสอบ และการตรวจประเมินกระบวนการหรือ ผลการดำเนินการ - ส่วนราชการมีวิธีการอย่างไรในการป้องกันไม่ให้เกิดข้อผิดพลาด การทำงานซ้ำและความสูญเสียจากผลการดำเนินการ (12) - ส่วนราชการมีวิธีการอย่างไรในการปรับปรุงกระบวนการ สนับสนุน เพื่อให้ผลการดำเนินการและการให้บริการดีขึ้น - ส่วนราชการมีวิธีการอย่างไรในการนำการปรับปรุงดังกล่าวมา เผยแพร่แลกเปลี่ยนประสบการณ์ ภายในหน่วยงานและระหว่าง หน่วยงาน

86 ตัวอย่าง หมวด 6

87 ตัวอย่าง ต่อ

88 ตัวอย่าง

89 ตัวอย่าง

90 หมวด 7 ผลลัพธ์การดำเนินการ
7.1 มิติ ด้านประสิทธิผลตามแผนปฏิบัติราชการ 7.2 มิติ ด้านคุณภาพ การให้บริการ 7.3 มิติ ด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ 7.4 มิติ ด้านการพัฒนา องค์กร ตัวชี้วัดที่สำคัญของการบรรลุความสำเร็จตามยุทธศาสตร์ของส่วนราชการ ตัวชี้วัดที่สำคัญด้านความพึงพอใจและไม่พึงพอใจของผู้รับบริการและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ตัวชี้วัดที่สำคัญในด้านคุณค่าจากมุมมองของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ ส่วนเสีย รวมถึงวามสัมพันธ์กับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ตัวชี้วัดที่สำคัญของผลการดำเนินการด้านขอบเขต ขนาด และประเภท การให้บริการที่เพิ่มขึ้น ตัวชี้วัดที่สำคัญของผลการดำเนินการที่สำคัญอื่นๆ ที่เกี่ยวกับผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ตัวชี้วัดที่สำคัญของผลการดำเนินการด้านการปฏิบัติการของกระบวนการที่สร้างคุณค่ารวมทั้งผลิตภาพ รอบเวลา ผลการดำเนินการขององค์กรหรือส่วนราชการที่ทำงานเกี่ยวข้องกันรวมถึงตัวชี้วัดประสิทธิผลอื่นๆ ที่เหมาะสม ตัวชี้วัดที่สำคัญของผลการดำเนินการด้านการปฏิบัติการของกระบวนการสนับสนุน รวมทั้งผลิตภาพ รอบเวลา ผลการดำเนินการขององค์กรหรือส่วนราชการที่ทำงานเกี่ยวข้องกันรวมถึงตัวชี้วัดประสิทธิผลอื่นๆ ที่เหมาะสม ตัวชี้วัดที่สำคัญของผลการดำเนินการและประสิทธิผลด้านระบบงาน ตัวชี้วัดที่สำคัญของผลการดำเนินการด้านการเรียนรู้และพัฒนาของบุคลากร ตัวชี้วัดที่สำคัญของผลการดำเนินการด้านความผาสุก ความพึงพอใจและไม่พึงพอใจ ของบุคลากร ตัวชี้วัดที่สำคัญของพฤติกรรมที่มีจริยธรรม ตัวชี้วัดที่สำคัญของความ ไว้วางใจของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่มีต่อผู้นำระดับสูงและการกำกับดูแลตนเองที่ดีของส่วนราชการและตัวชี้วัดที่สำคัญของพฤติกรรมที่ฝ่าฝืนจริยธรรม

91 หมวด 7 ผลลัพธ์การดำเนินการ
7.1 มิติ ด้านประสิทธิผลตามแผนปฏิบัติราชการ 7.2 มิติ ด้านคุณภาพ การให้บริการ 7.3 มิติ ด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ 7.4 มิติ ด้านการพัฒนา องค์กร ตัวชี้วัดที่สำคัญของผลการดำเนินการด้านงบประมาณ และการเงิน รวมถึงการ ควบคุมและการลดค่าใช้จ่าย ตัวชี้วัดที่สำคัญด้านความรับผิดชอบด้านการเงินทั้งภายในและภายนอก ตัวชี้วัดที่สำคัญด้านการปฏิบัติตามกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และกฎหมาย ตัวชี้วัดที่สำคัญด้านการเป็นองค์กรที่ดีในการสนับสนุนชุมชนที่สำคัญ

92 หมวด 7 ผลลัพธ์การดำเนินการ
หมวด 7 ผลลัพธ์การดำเนินการ ในหมวดผลลัพธ์การดำเนินการ เป็นการตรวจประเมินผลการดำเนินการ และแนวโน้มของส่วนราชการในมิติต่างๆ ได้แก่ มิติด้านประสิทธิผล มิติด้านคุณภาพการให้บริการ มิติด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ และมิติด้านการพัฒนาองค์กร นอกจากนี้ ยังตรวจประเมินผลการดำเนินการของส่วนราชการโดยเปรียบเทียบกับส่วนราชการ หรือองค์กรอื่นที่มีภารกิจคล้ายคลึงกัน ในหมวดผลลัพธ์การดำเนินการนี้ ให้แสดงผลในรูปแบบที่เข้าใจง่าย เห็นภาพชัดเจน เช่น ในรูปแบบกราฟ หรือตาราง ในการนำเสนอข้อมูล ให้ส่วนราชการพิจารณาเลือกตัวชี้วัดที่สำคัญๆ ที่สะท้อนผลการดำเนินงานของส่วนราชการมาแสดง และอาจนำข้อมูลจากคำรับรองการปฏิบัติราชการมาประกอบด้วยก็ได้ ทั้งนี้ การจะนำไปสู่องค์กรที่เป็นเลิศนั้น ส่วนราชการควรกำหนดตัวชี้วัดที่นอกเหนือจากตัวชี้วัดที่กำหนดในคำรับรองการปฏิบัติราชการเพิ่มเติมด้วย

93 7.1 มิติด้านประสิทธิผลตาม แผนปฏิบัติราชการ
7.1 มิติด้านประสิทธิผลตาม แผนปฏิบัติราชการ (1) - ตัวชี้วัดที่สำคัญของการบรรลุความสำเร็จตามยุทธศาสตร์ของส่วนราชการ

94 7.2 มิติด้านคุณภาพการให้บริการ
7.2 มิติด้านคุณภาพการให้บริการ 2. - ตัวชี้วัดที่สำคัญด้านความพึงพอใจและไม่พึงพอใจของผู้รับบริการและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 3. - ตัวชี้วัดที่สำคัญในด้านคุณค่าจากมุมมองของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ ส่วนเสีย รวมถึงความสัมพันธ์กับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 4. - ตัวชี้วัดที่สำคัญของผลการดำเนินการด้านขอบเขต ขนาด และประเภท การให้บริการที่เพิ่มขึ้น 5. - ตัวชี้วัดที่สำคัญของผลการดำเนินการที่สำคัญอื่นๆ ที่เกี่ยวกับผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

95 7.3 มิติด้านประสิทธิภาพของ การปฏิบัติราชการ
7.3 มิติด้านประสิทธิภาพของ การปฏิบัติราชการ 6. - ตัวชี้วัดที่สำคัญของผลการดำเนินการด้านการปฏิบัติการของกระบวนการที่ สร้างคุณค่ารวมทั้งผลิตภาพ รอบเวลา ผลการดำเนินการขององค์กรหรือ ส่วนราชการที่ทำงานเกี่ยวข้องกันรวมถึงตัวชี้วัดประสิทธิผลอื่นๆ ที่เหมาะสม 7. - ตัวชี้วัดที่สำคัญของผลการดำเนินการด้านการปฏิบัติการของกระบวนการ สนับสนุน รวมทั้งผลิตภาพ รอบเวลา ผลการดำเนินการขององค์กรหรือส่วน ราชการที่ทำงานเกี่ยวข้องกันรวมถึงตัวชี้วัดประสิทธิผลอื่นๆ ที่เหมาะสม 8. - ตัวชี้วัดที่สำคัญของผลการดำเนินการด้านงบประมาณ และการเงิน รวมถึงการ ควบคุมและการลดค่าใช้จ่าย 9. - ตัวชี้วัดที่สำคัญด้านความรับผิดชอบด้านการเงินทั้งภายในและภายนอก 10. - ตัวชี้วัดที่สำคัญด้านการปฏิบัติตามกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และกฎหมาย 11. - ตัวชี้วัดที่สำคัญด้านการเป็นองค์กรที่ดีในการสนับสนุนชุมชนที่สำคัญ

96 7.4 มิติด้านการพัฒนาองค์กร
7.4 มิติด้านการพัฒนาองค์กร (12) - ตัวชี้วัดที่สำคัญของผลการดำเนินการและประสิทธิผลด้านระบบงาน (13) - ตัวชี้วัดที่สำคัญของผลการดำเนินการด้านการเรียนรู้และพัฒนาของบุคลากร (14) - ตัวชี้วัดที่สำคัญของผลการดำเนินการด้านความผาสุก ความพึงพอใจและ ไม่พึงพอใจ ของบุคลากร (15) - ตัวชี้วัดที่สำคัญของพฤติกรรมที่มีจริยธรรม ตัวชี้วัดที่สำคัญของความ ไว้วางใจของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่มีต่อผู้นำระดับสูงและการกำกับดูแลตนเอง ที่ดีของส่วนราชการและตัวชี้วัดที่สำคัญของพฤติกรรมที่ฝ่าฝืนจริยธรรม

97 แหล่งข้อมูลเพิ่มเติม
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ รางวัลคุณภาพแห่งชาติ Thailand Quality Award Malcolm Baldrige National Quality Award


ดาวน์โหลด ppt เกณฑ์ PMQA.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google