งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

เกณฑ์ PMQA ระดับพื้นฐาน (Fundamental Level)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "เกณฑ์ PMQA ระดับพื้นฐาน (Fundamental Level)"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 เกณฑ์ PMQA ระดับพื้นฐาน (Fundamental Level)
ภาวนา กิตติวิมลชัย สำนักประเมินและประกันคุณภาพ ม.ขอนแก่น

2 ฉีดวัคซีน PMQA

3 PMQA ปี 2549 ปี 2550 ปี 2551 ปี 2552 ตัวชี้วัดเลือก
มีการวิเคราะห์โอกาสในการปรับปรุง จัดทำแผนปรับปรุงองค์กร ตัวชี้วัดบังคับ ประเมินตนเองแบบ “ADLI” ตัวชี้วัดบังคับ กำหนดเกณฑ์ PMQAระดับพื้นฐาน การผ่านเกณฑ์ขั้นต่ำระดับพื้นฐาน จัดทำแผนพัฒนาองค์การ

4 Roadmap การพัฒนาองค์การ
2552 2553 2554 1 5 2 กรมด้านบริการ 3 6 4 เน้นความสำคัญกับผู้รับบริการ โดยออกแบบกระบวนงานและพัฒนาบุคลากรให้สามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 1 4 3 กรมด้านนโยบาย 2 6 5 เน้นความสำคัญของยุทธศาสตร์และการนำไปปฏิบัติ โดยมีระบบการวัดผลการดำเนินการที่เป็นระบบ 1 2 5 จังหวัด 4 3 6 เน้นความสำคัญของฐานข้อมูลในการผลักดันยุทธศาสตร์ภายใต้ระบบการนำองค์กรที่มีประสิทธิภาพ โดยยึดประชาชนเป็นศูนย์กลาง 1 3 2 Successful Level สถาบันอุดมศึกษา 6 5 4 เน้นความสำคัญของการกำหนดทิศทางองค์กรที่ชัดเจน และการพัฒนาบุคลากรเพื่อเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง

5 Roadmap การพัฒนาองค์การ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
2552 2553 2554 คำรับรองการปฏิบัติราชการระหว่าง อธิการบดีกับคณบดี ผอ. ศูนย์ สถาบัน สำนัก และหน่วยงาน 1 4 5 Successful Level คณะ/หน่วยงาน 2 3 6 1 3 2 Successful Level มหาวิทยาลัยขอนแก่น 6 5 4 เน้นความสำคัญของการกำหนดทิศทางองค์กรที่ชัดเจน และการพัฒนาบุคลากรเพื่อเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง

6 เกณฑ์พัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
(Fundamental Level)

7 เปรียบเทียบเกณฑ์ PMQA กับเกณฑ์ PMQA ระดับพื้นฐาน
F L ลักษณะสำคัญขององค์กร 15 - หมวด 1 12 7 หมวด 2 9 หมวด 3 11 10 หมวด 4 หมวด 5 21 5 หมวด 6 6 หมวด 7 รวม 105 คำถาม 42 ประเด็น

8 เกณฑ์ PMQA ระดับพื้นฐาน เกณฑ์ PMQA ระดับพื้นฐาน
Contents เกณฑ์ PMQA ระดับพื้นฐาน รหัส (CODE) หมวด 1 LD Leadership หมวด 2 SP Strategic planning หมวด 3 CS Customer & Stakeholders หมวด 4 IT Information & Technology หมวด 5 HR Human resource หมวด 6 PM Process management หมวด 7 RM Result management รวม

9 แนวคิดในการจัดทำเกณฑ์ PMQA ระดับพื้นฐาน
มุ่งเน้นให้มีการนำไปปฏิบัติมากกว่าการเขียนรายงาน เน้นการวิเคราะห์กระบวนการอย่างเป็นระบบและการสร้างความเชื่อมโยงกับผลลัพธ์ ใช้ประโยชน์จากข้อมูลและตัวชี้วัดที่ส่วนราชการเก็บอยู่ เน้นการปรับปรุงอย่างต่อเนื่องและบูรณาการ เน้นการพัฒนามากกว่าการได้รางวัล

10 PMQA ระดับพื้นฐาน พิจารณาการดำเนินการตามประเด็น ADLI
A (Approach) แนวทางที่เป็นระบบ (ทำซ้ำได้) D (Deployment) การนำไปปฏิบัติ/การถ่ายทอดสู่การปฏิบัติ L (Learning) การทบทวน/การเรียนรู้ I (Integration) ความเชื่อมโยง/บูรณาการ

11 หมวด 1 การนำองค์กร LD1-LD6

12 ประเด็นการพิจารณาการดำเนินการ
หมวด 1 การนำองค์กร รหัส แนวทางการดำเนินการ ประเด็นการพิจารณาการดำเนินการ LD1 สภามหาวิทยาลัยต้องมีการกำหนดทิศทางการทำงานที่ชัดเจน ครอบคลุมในเรื่องวิสัยทัศน์ ค่านิยมหลัก เป้าประสงค์หรือผลการดำเนินการที่คาดหวังขององค์การ โดยมุ่งเน้นนิสิตนักศึกษาและผู้ที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งมีการสื่อสารเพื่อถ่ายทอดทิศทางดังกล่าวสู่บุคลากร เพื่อให้เกิดการรับรู้ ความเข้าใจ และการนำไปปฏิบัติของบุคลากร อันจะส่งผลให้การดำเนินการบรรลุผลตามเป้าประสงค์ที่ตั้งไว้ *คำถาม PMQA ข้อ 1.1(1) A มีแนวทาง/วิธีการในการทบทวนวิสัยทัศน์ พันธกิจ และค่านิยมหลักที่แสดงให้เห็นถึงการมุ่งเน้นนิสิตนักศึกษา และผู้ที่เกี่ยวข้อง อาจจัดทำเป็นแผนภาพ (Flow Chart) กระบวนการ มีช่องทางการสื่อสาร(4 เรื่อง) ระบุผู้รับผิดชอบที่ชัดเจน D บุคลากรมีการรับรู้และเข้าใจเกี่ยวกับทิศทางการดำเนินการของสภามหาวิทยาลัย/สถาบันอุดมศึกษา และสามารถนำไปใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติงาน (อาจะใช้แบบสำรวจ/การสุ่มถาม/จำนวนครั้งการสื่อสาร) L มีการปรับแผนปฏิบัติราชการให้สอดคล้องกับนโยบาย กรอบทิศทางการดำเนินงานที่กำหนด มีการสรุปข้อมูลที่ได้จากการสื่อสารผ่านช่องทางต่างๆและนำข้อมูลมาใช้ให้เกิดประโยชน์ในระดับปฏิบัติ I ทิศทางการดำเนินการของสภามหาวิทยาลัย/สถาบันอุดมศึกษาที่มีความสอดคล้องพันธกิจ/ความต้องการ/ความคาดหวังของนิสิต นักศึกษา และผู้ที่เกี่ยวข้อง (การดำเนินงานของสภาและ มข.เพื่อตอบสนองต่อพันธกิจหลัก)

13 การกำหนดทิศทางองค์กร

14 ประเด็นพิจารณาการดำเนินการ
หมวด 1 การนำองค์กร รหัส แนวทางดำเนินการ ประเด็นพิจารณาการดำเนินการ LD2 สภามหาวิทยาลัยและผู้บริหารของสถาบันอุดมศึกษามีการมอบอำนาจและทบทวนการมอบอำนาจในการตัดสินใจ(Empowerment) ให้แก่เจ้าหน้าที่ระดับต่างๆ ภายในสถาบันให้มีความเหมาะสม โดยมุ่งประโยชน์เพื่อผู้รับบริการ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และเพื่อผลการดำเนินการที่ดีของสถาบันอุดมศึกษา *คำถาม PMQA ข้อ 1.1(2) A คำสั่ง/วิธีปฏิบัติ/แนวทางในการกระจายอำนาจการตัดสินใจไปสู่บุคลากร D รายงานผลการดำเนินการการกระจายอำนาจดังกล่าว พร้อมยกตัวอย่าง L รายงานผลการติดตาม/ทบทวนความเหมาะสมของการกระจายอำนาจไปสู่บุคลากร I แสดงประโยชน์ ที่ได้รับจากการมอบกระจายอำนาจไปสู่บุคคลากร ที่ส่งผลต่อการดำเนินงานของสถาบันฯ

15 หมวด 1 การนำองค์กร ตารางการปฏิบัติงานตามพระราชกฤษฎีการมอบอำนาจ พ.ศ.2550 ชื่อหน่วยงาน…………….(มหาวิทยาลัยขอนแก่น) ลำดับที่ มาตราและชื่อกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับที่ให้อำนาจ ผู้มีอำนาจตามกฏหมาย อำนาจตามกฎหมายที่จะมอบให้ปฏิบัติราชการแทน ผู้รับมอบอำนาจ อำนาจที่จะให้มีการมอบอำนาจต่อได้ ผู้รับมอบอำนาจต่อ รายงานผลการใช้อำนาจของผู้รับมอบอำนาจ (1) (2) (3) (4) (5) (6) (7) (8)

16 ประเด็นการพิจารณาการดำเนินการ
หมวด 1 การนำองค์กร รหัส แนวทางการดำเนินการ ประเด็นการพิจารณาการดำเนินการ ที่ครบถ้วน LD 3 ผู้บริหารของ สถาบันอุดมศึกษา ส่งเสริมให้มี กระบวนการและ กิจกรรมการเรียนรู้ เพื่อให้เกิดการบูรณา การและสร้างความ ผูกพัน ร่วมมือภายใน สถาบัน รวมถึงการ สร้างแรงจูงใจเพื่อให้ บุคลากรสามารถ ปฏิบัติงานได้ตาม เป้าหมาย *คำถาม PMQA ข้อ 1.1(2) A แนวทาง/วิธีการส่งเสริมให้มีกระบวนการและกิจกรรมการเรียนรู้ เพื่อให้เกิดการบูรณาการและสร้างความผูกพัน ร่วมมือภายในสถาบันฯ รวมถึงการสร้างแรงจูงใจเพื่อให้บุคลากรสามารถปฏิบัติงานได้ตามเป้าหมายตัวอย่างกระบวนการ/กิจกรรมการเรียนรู้ D ยกตัวอย่างเพื่อให้เกิดการบูรณาการและสร้างความผูกพัน ความร่วมมือภายในสถาบันฯ รวมถึงการสร้างแรงจูงใจเพื่อให้บุคลากรสามารถปฏิบัติงานได้ตามเป้าหมาย L ผลการติดตามและทบทวนแนวทาง/วิธีการ ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เพื่อให้เกิดการบูรณาการและสร้างความผูกพัน ร่วมมือภายในสถาบันฯ รวมถึงการสร้างแรงจูงใจเพื่อให้บุคลากรสามารถปฏิบัติงานได้ตามเป้าหมาย เพื่อนำไปสู่การปรับปรุง I แสดงให้เห็นว่ากิจกรรมที่กำหนดขึ้น ทำให้เกิดการบูรณาการและสร้างความผูกพัน ความร่วมมือภายในสถาบันฯ รวมถึงการสร้างแรงจูงใจเพื่อให้บุคลากรสามารถปฏิบัติงานได้ตามเป้าหมายความร่วมมือของสถาบันฯ และส่งเสริมการดำเนินงานของส่วนราชการ

17 หมวด 1 การนำองค์กร แผนพัฒนาองค์การ มข. ประเด็นสำคัญ
ผู้บริหารต้องเข้าร่วมกิจกรรม การจัดกิจกรรมต้องครอบคลุมบุคลากรทุกคณะ/หน่วยงาน ตัวอย่างกิจกรรม เช่น สภากาแฟ การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ กิจกรรมวิชาการสร้างสรรค์ MORNING TALK / LUANCH TALK/ DINNER TALK การจัด KM อย่างเดียว อาจจะไม่เพียงพอ หรือไม่ตอบโจทย์การสร้างความผูกพันและแรงจูงใจในการทำงาน กิจกรรมที่จัดต้องสร้างความผูกพัน แรงจูงใจในการทำงาน ส่งผลให้การปฏิบัติงานมีผลดี อาจจะประเมินจากแบบสอบถาม/การสุ่มจากบุคลากรที่เข้าร่วมกิจกรรม/การสัมภาษณ์ผู้บริหาร/การเทียบผลการดำเนินงาน แผนพัฒนาองค์การ มข. 1.จัดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้และสร้างความผูกพัน ความร่วมมือภายในมหาวิทยาลัยเพื่อสร้างแรงจูงใจให้บุคลากรสามารถปฏิบัติงานได้ตามเป้าหมาย (LD3) ผู้รับผิดชอบ 1.1 จัดกิจกรรม show & share กองแผนฯ 1.2 จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้วิธีการปฏิบัติที่ดีในหัวข้อต่างๆด้านประกันคุณภาพ QA 1.3 จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้การติดตามประเมินผลการปฏิบัติราชการ

18 ตัวอย่างกิจกรรม LD 3

19 ประเด็นการพิจารณาการดำเนินการ
หมวด 1 การนำองค์กร รหัส แนวทางการดำเนินการ ประเด็นการพิจารณาการดำเนินการ LD 4 สภามหาวิทยาลัยและ ผู้บริหารของสถาบัน ต้อง กำหนดตัวชี้วัดที่สำคัญ และกำหนดให้มีระบบการ ติดตามและประเมินผล การดำเนินการ สำหรับใช้ ในการทบทวนผลการ ปฏิบัติงานและนำผลการ ทบทวนดังกล่าวมา จัดลำดับความสำคัญ เพื่อนำไปใช้ในการ ปรับปรุงการดำเนินงาน ของสถาบันให้ดีขึ้น *คำถาม PMQA ข้อ 1.1(5-6) A วิธีการในการกำหนดตัวชี้วัดที่สำคัญที่ผู้บริหารใช้ในการติดตามประเมินผล แนวทาง/ปัจจัยที่ใช้ในการนำผลการทบทวนมาจัดลำดับความสำคัญเพื่อปรับปรุงการดำเนินงาน D แสดงตัวชี้วัดที่สำคัญที่ผู้บริหารใช้ในการติดตามประเมินผล รายงานผลการประเมินผลการปฏิบัติราชการ รายงานผลการจัดลำดับความสำคัญของผลการทบทวนที่จะนำมาปรับปรุงการดำเนินงาน L มีการทบทวนและปรับปรุงแนวทางในการกำหนดตัวชี้วัดและแผนการประเมินเพื่อให้ผลการดำเนินการดีขึ้น I แสดงให้เห็นถึงผลการปฏิบัติงานที่ดีขึ้นอันเกิดจากการทบทวนผลการดำเนินงาน ประเด็นสำคัญ ตัวชี้วัดที่นำมาติดตามประเมินผลไม่ควรเกิน 20 ตัว แต่ควรจะครอบคลุม ตัวชี้วัดจาก 5 แหล่ง 1. ตัวชี้วัดในการติดตามประเมินผลการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์ 2. ตัวชี้วัดในการบรรลุพันธกิจหลัก 3. ตัวชี้วัดเกี่ยวกับกระบวนการที่สร้างคุณค่า 4. ตัวชี้วัดของแผนกลยุทธ์ 5. ตัวชี้วัดของแผนงาน/โครงการ

20 หมวด 1 การนำองค์กร แผนพัฒนาองค์การ มข.
แผนพัฒนาองค์การ มข. 2. จัดลำดับความสำคัญในการปรับปรุงผลการดำเนินงานตามผลการประเมินและผลการทบทวนการดำเนินงาน (อ้างถึง LD4) ผู้รับผิดชอบ 2.1 ทบทวนผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัดของยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัย ปีงบประมาณ พ.ศ.2552 ทุกคณะ/หน่วยงาน 2.2 จัดทำรายงานผลการทบทวนผลการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัย กองแผนงาน 2.3 จัดลำดับผลการดำเนินงานที่จะนำมาพัฒนาและปรับปรุงมากที่สุด อย่างน้อย 3 อันดับ 2.4 กำหนดผู้รับผิดชอบและมอบหมายให้นำผลการดำเนินงานไปปรับปรุง 2.5 จัดทำรายงานผลการปรับปรุงการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย

21 ประเด็นการพิจารณาการดำเนินการ
หมวด 1 การนำองค์กร รหัส แนวทางการดำเนินการ ประเด็นการพิจารณาการดำเนินการ LD5 สภามหาวิทยาลัยต้องมีการกำหนดระบบการกำกับดูแลตนเองที่ดีของสถาบันอุดมศึกษา(Organizational Governance)หรืออัตตาภิบาล(Self Governance)เพื่อเป็นแนวทางในการดำเนินงานของสถาบัน และเพื่อให้การดำเนินการบรรลุผล *คำถาม PMQA ข้อ 1.2 (11) A แนวทาง/วิธีการในการกำหนดหรือทบทวนนโยบายการกำกับดูแลตนเองที่ดีและการกำกับดูแลสถาบันอุดมศึกษา มีระบบการกำกับดูแลตนเองที่ดีที่ทำให้เกิดการควบคุมและการตรวจสอบ แนวทาง/ช่องทางในการสื่อสารนโยบายในการกำกับดูแลองค์การ มีการแต่งตั้งหรือปรับปรุงบทบาทของคณะกรรมการการดำเนินการตามจรรยาบรรณวิชาชีพคณาจารย์ประจำของสถาบัน D แสดงรายละเอียดการดำเนินการตามระบบการกำกับดูแลตนเองที่ดี มีการจัดทำคู่มือจรรยาบรรณวิชาชีพคณาจารย์และประกาศใช้อย่างเป็นทางการเพื่อให้คณาจารย์และผู้เกี่ยวข้องรับทราบ L ผลการติดตามประเมินผลการดำเนินการตามระบบการกำกับองค์การที่ดี เพื่อนำผลไปปรับปรุงนโยบายและแนวทางการดำเนินดังกล่าว I แสดงให้เห็นถึงความสอดคล้องของนโยบายการกำกับดูแลองค์การที่ดี กับวิสัยทัศน์ พันธกิจ และค่านิยมหลักของสถาบันฯ

22 หมวด 1 การนำองค์กร แผนพัฒนาองค์การ มข.
แผนพัฒนาองค์การ มข. 3. ติดตามประเมินผลการกำกับดูแลตนเองที่ดีของมหาวิทยาลัย (อ้างถึง LD 5) ผู้รับผิดชอบ 3.1 จัดทำตารางความสอดคล้อง (Matrix)ระหว่างนโยบายการกำกับดูแลตนเองที่ดีกับวิสัยทัศน์ พันธกิจและค่านิยมหลักของสถาบัน กองแผนงาน

23 ประเด็นการพิจารณาการดำเนินการ
หมวด 1 การนำองค์กร รหัส แนวทางการดำเนินการ ประเด็นการพิจารณาการดำเนินการ LD 6 ผู้บริหารของสถาบันอุดมศึกษาต้องกำหนดให้มีวิธีการหรือมารตการในการจัดการผลกระทบทางลบที่เกิดขึ้นต่อสังคม อันเป็นผลมาจากการดำเนินการของสถาบัน รวมทั้งต้องนำวิธีการหรือมาตรการที่กำหนดไว้ไปปฏิบัติ *คำถาม PMQA ข้อ 1.2(8-9-10) A มาตรการ/วิธีการในการจัดการผลกระทบทางลบที่เกิดขึ้นกับสังคมอาจจัดทำเป็นแผนภาพ(Flow Chart)ของกระบวนการ D รายงานผลการจัดการผลกระทบทางลบที่เกิดขึ้นกับสังคม L มีการทบทวนวิธีการจัดการผลกระทบทางลบที่เกิดขึ้นกับสังคมเพื่อนำมาปรับปรุง I แสดงผลประโยชน์ที่ได้จากการจัดการผลกระทบทางลบ ประเด็นสำคัญ 1. ผลกระทบทางลบ เป็นสิ่งที่เกิดขึ้นมาแล้ว 2. หากพิจารณาจากผลการดำเนินงานแล้วไม่พบว่ามีผลกระทบทางลบ ให้พิจารณาจากข้อ ร้องเรียน/กรณีฟ้องร้อง/การประกาศใช้นโยบาย ระเบียบต่างๆ 3. การไม่มีผลกระทบทางลบแสดงให้เห็นถึงการมีมาตรการป้องกันที่ดี 4. หากไม่มีผลกระทบทางลบ การดำเนินงานในประเด็น D จะพิจารณาจากการสื่อสารมาตรการ ป้องกันผลกระทบทางลบให้ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องรับทราบ

24 ตัวอย่างผลกระทบทางลบ
หมวด 1 การนำองค์กร หน่วยงาน ตัวอย่างผลกระทบทางลบ รัฐบาล “น้องเขย” ม็อบเสื้อเหลือง กรณีปิดสนามบินสุวรรณภูมิ รัฐบาล “นายกอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ” ม็อบเสื้อแดง กรณีก่อจลาจล ปิดถนน กล่าวหารัฐบาลทำร้ายประชาชน การประกาศใช้ พรฎ.ฉุกเฉิน การเลื่อนประชุมอาเซี่ยน การประกาศวันหยุดราชการ วันที่ เมษายน 2552 สำนักงานพัฒนาสังคมฯ ผู้รับบริการร้องเรียนเรื่องความไม่เป็นธรรมในการจ่ายเงินสงเคราะห์ ให้กับผู้ด้อยโอกาสและคนชรา สำนักงานประกันสังคม ผู้ประกันตนไม่ได้รับความเป็นธรรมในการเบิกค่ารักษาพยาบาล/เบิกได้ น้อย/ไม่คุ่มกับจำนวนเงินที่ถูกหักไป สถานคุ้มครองสวัสดิภาพ เด็กและเยาวชน เยาวชนที่อยู่ในความคุ้มครองหนีออกไปสร้างปัญหาสังคม ได้แก่ การลัก ขโมย การก่อกวน และทะเลาะวิวาท มหาวิทยาลัยขอนแก่น การจราจรติดขัดวันพระราชทานปริญญาบัตร การจราจรติดขัดวันแข่งขันมาราธอนนานาชาติ กรณีพิพาทกับชุมชน กรณีสถานบันเทิงโดยรอบมหาวิทยาลัย การผลักดันให้เป็นมหาวิทยาลัยในกำกับ นโยบายการปรับค่าธรรมเนียมการศึกษา /การบังคับใช้กฎหมายและ ระเบียบต่างๆ

25 หมวด 2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์
SP1-SP7

26 หมวด 2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ ประเด็นการพิจารณาการดำเนินการ
Contents รหัส แนวทางการดำเนินการ ประเด็นการพิจารณาการดำเนินการ SP1 สถาบันอุดมศึกษาต้องมีการกำหนดขั้นตอน/กิจกรรม และกรอบเวลาที่เหมาะสม รวมถึง มีการระบุผู้รับผิดชอบอย่างชัดเจนในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี และแผนปฏิบัติราชการประจำปี โดยมุ่งเน้นที่จะผลักดันให้บรรลุวิสัยทัศน์ พันธกิจ และค่านิยมหลังของสถาบัน บรรลุเป้าหมายตามแผนการบริหารราชการแผ่นดิน แผนปฏิบัติราชการของกระทรวงศึกษาธิการและสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา A มีการจัดทำแผนภาพ (Flowchart) ของการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี และ 1 ปี ระบุขั้นตอน/รอบเวลา/ผู้รับผิดชอบ D แสดงการถ่ายทอดค่าเป้าหมาย (cascading) ระหว่างแผนการบริหารราชการแผ่นดิน แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี และแผน 1 ปี การมีส่วนร่วมของบุคลากร +ผู้บริหารทุกระดับ L การปรับปรุงกระบวนการจัดทำแผนปฏิบัติราชการจาก ผลการประเมินจากผู้ประเมินภายนอกองค์ ผลการประเมินจากผู้ประเมินภายในองค์การ I แสดงความเชื่อมโยงของกลยุทธ์กับการตอบสนองความท้าทาย 3 ด้าน และความต้องการของผู้รับบริการ

27 หมวด 2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ รายละเอียดของขั้นตอนกระบวนการ
Contents ตัวอย่างตารางแสดงขันตอนของกระบวนการวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ (SP 1) ขั้นตอน ขั้นตอนกระบวนการ รายละเอียดของขั้นตอนกระบวนการ ผู้เข้าร่วม ช่วงเวลาตามปฏิทิน 1 การเตรียมการ 2 การทบทวนผลการดำเนินการ ที่ผ่านมา 3 การวิเคราะห์ SWOT 4 การยกร่างแผน 5 การมีส่วนร่วมของผู้บริหาร 6 การมีส่วนร่วมของบุคลากร 7 อื่นๆ

28 หมวด 2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์
Contents รหัส แนวทางการดำเนินการ ประเด็นการพิจารณา SP2 ในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการของสถาบันอุดมศึกษา(4 ปี และ 1 ปี) ต้องมีการนำปัจจัยทั้งภายในและภายนอกที่สำคัญและสอดคล้องกับสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไป มาใช้ประกอบการวิเคราะห์ อย่างน้อยประกอบด้วย วิสัยทัศน์ พันธกิจ และค่านิยมหลักของสถาบัน ความต้องการของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ผลการดำเนินงานที่ผ่านมา กฎหมาย ระเบียบ โครงสร้างและจุดเน้นของสถาบัน และความเสี่ยงในด้านต่างๆ A -มีกระบวนการรวบรวมข้อมูล /วิเคราะห์ข้อมูลแต่ละประเภท D -แสดงให้เห็นถึงปัจจัยภายในและภายนอกที่นำมาใช้ประกอบการวางแผนฯ -แสดงประเภทข้อมูลในแต่ละปัจจัยภายในและภายนอกที่ใช้ประกอบการวางแผนฯ ได้อย่างชัดเจน -สามารถแสดงให้เห็นถึงวิธีการรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลและสารสนเทศที่เหมาะสม ได้แก่ o ข้อมูลที่นำมาใช้เป็นข้อมูลปัจจุบัน o การรวบรวมข้อมูลต้องครอบคลุมทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง o แสดงให้เห็นถึงการวิเคราะห์ที่เหมาะสมกับประเภทข้อมูล L -แสดงให้เห็นถึงการปรับเปลี่ยน/เพิ่มเติมปัจจัย (ประเภทข้อมูล) ที่นำมาใช้ประกอบการวางแผน

29 Contents หมวด 2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ ตัวอย่างตารางจัดเก็บข้อมูล SP2
ปัจจัยสำคัญในกระบวนการวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ต ปีที่นำมาปัจจัยมาใช้วางแผนฯ แหล่ง ข้อมูลและ สารสนเทศที่ใช้ การเก็บรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล การนำมา ใช้ในขั้นตอนกระบวน การ* ผู้รับ ผิดชอบ 2551 2552 (A) (L) (D) ปัจจัยภายใน วิสัยทัศน์ พันธกิจ และค่านิยมหลัก จุดเน้นของสถาบัน ผลการดำเนินงานที่ผ่านมา ความต้องการของผู้รับบริการ ความต้องการของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ความเสี่ยง ปัจจัยภายนอก 1. 2.

30 หมวด 2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ ประเด็นการพิจารณาการดำเนินการ
Contents รหัส แนวทางการดำเนินการ ประเด็นการพิจารณาการดำเนินการ SP3 สถาบันอุดมศึกษาต้องมีการวางแผนกลยุทธ์ด้านการบริหารทรัพยากรบุคคลให้สอดคล้องกับแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี และแผนปฏิบัติราชการประจำปี ของสถาบัน รวมทั้ง มีการวางแผนเตรียมการจัดสรรทรัพยากรอื่นๆเพื่อรองรับการดำเนินการตามแผนปฏิบัติราชการ A มีแผนกลยุทธ์ด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล อย่างน้อยต้องครอบคลุมในแต่ละด้าน ดังนี้ แผนการวางแผนและบริหารกำลังคน แผนพัฒนาบุคลากร แผนการบริหารทรัพยากรบุคลากรที่มีทักษะหรือสมรรถนะสูง ในสายงานหลัก แผนการพัฒนาเทคโยโลยีสารสนเทศด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล ประเด็นสำคัญ 1. แผนบริหารทรัพยากรบุคคลต้องสอดคล้องกับแผน 4 ปีและ 1 ปี 2. กรณีแผนบริหารทรัพยากรบุคคลที่ได้ทำไว้แล้ว ต้องแสดงให้เห็นว่ามีการนำแผนดังกล่าวมาทบทวนเพื่อให้สอดคล้องกับแผน 4 ปีและ 1 ปี 3. หลักฐานที่ต้องแสดงคือ ความเชื่อมโยงของแผนบริหารทรัพยากรบุคคลกับแผน 4 ปีและ 1 ปี

31 หมวด 2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ ประเด็นการพิจารณาการดำเนินการ
Contents รหัส แนวทางการดำเนินการ ประเด็นการพิจารณาการดำเนินการ SP4 สถาบันอุดมศึกษาต้องมีระบบการสื่อสาร เพื่อถ่ายทอดนโยบายทิศทางการดำเนินงาน รวมถึงแผนปฏิบัติราชการ และเป้าหมายของสถาบันให้กับบุคลากรในระดับต่างๆเพื่อให้มีการถ่ายทอดแผนไปสู่การปฏิบัติได้อย่างบรรลุผลตามเป้าหมายที่กำหนด A สามารถแสดงให้เห็นถึงวิธีการหรือช่องทางที่ผู้บริหารใช้ในการสื่อสารและสร้างความเข้าใจในการปฏิบัติตามแผน ให้กับบุคลากร D การสื่อสารและสร้างความเข้าใจในการปฏิบัติตามแผน ต้องครอบคลุมประเด็น 1.การถ่ายทอดกลยุทธ์องค์กรไปสู่การจัดทำแผนปฏิบัติการ 2.การปฏิบัติตามแผนงาน/โครงการ 3.ตัวชี้วัดของแต่ละแผนปฏิบัติการ 4.บทบาทหน้าที่ของบุคลากรต่อการบรรลุเป้าหมายองค์กร L สามารถแสดงให้เห็นถึงวิธีการหรือช่องทางที่บุคลากรใช้ในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ แลกเปลี่ยนประสบการณ์ในการทำงาน แสดงให้เห็นถึงกิจกรรมในการแลกเปลี่ยนวิธีการปฏิบัติที่ดีในการนำแผนไปสู่การปฏิบัติ ภายในสถาบัน LD 1

32 หมวด 2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ ประเด็นการพิจารณาการดำเนินการ
Contents รหัส แนวทางการดำเนินการ ประเด็นการพิจารณาการดำเนินการ SP5 สถาบันอุดมศึกษาต้องมีการถ่ายทอด(cascading)ตัวชี้วัดและเป้าหมายระดับสถาบันลงสู่ระดับคณะ/สำนัก(ทุกคณะ/สำนัก)และระดับบุคคลอย่างน้อย 1 คณะ/สำนักรวมทั้ง มีการจัดทำข้อตกลงการปฏิบัติงานเป็นลายลักษณ์อักษรอย่างชัดเจน เพื่อให้สอดคล้องไปในทิศทางเดียวกันกับเป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ A มีการจัดทำแผนที่ยุทธศาสตร์ (strategy map) มีกรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการของทุกคณะ/หน่วยงาน มีกรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการในระดับบุคคล (อย่างน้อย 1 คณะ/สำนัก) ที่แสดงให้เห็นถึงการถ่ายทอดตัวชี้วัดและเป้าหมายลงสู่ระดับบุคคล มีแนวทางการติดตามความก้าวหน้าและรายงานผล มีแผนการจัดระบบการถ่ายทอดตัวชี้วัดและเป้าหมายลงสู่บุคคล (Gantt Chart) D มีการจัดทำข้อตกลงในการปฏิบัติงานอย่างเป็นลายลักษณ์อักษร (คำรับรองการปฏิบัติราชการ) วิธีการสื่อสารตัวชี้วัดที่ทำการถ่ายทอดลงสู่ระดับคณะ/สำนักและระดับบุคคล L มีการจัดทำระบบรายงานผลการปฏิบัติงาน เพื่อติดตามผลเป้าหมายความสำเร็จของการดำเนินการ I มีการเชื่อมโยงระหว่างผลการประเมินการปฏิบัติงานตามข้อตกลงในการปฏิบัติงานกับระบบแรงจูงใจ

33 หมวด 2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ ประเด็นการพิจารณาการดำเนินการ
Contents รหัส แนวทางการดำเนินการ ประเด็นการพิจารณาการดำเนินการ SP6 สถาบันอุดมศึกษาต้องมีระบบการติดตามและประเมินผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติราชการ โดยจัดทำเป็นรายงานผลการปฏิบัติราชการของคณะ/สำนัก และแสดงให้เห็นถึงกระบวนการและผลที่เกิดขึ้นจากการปรับปรุงการดำเนินงานเพื่อบรรลุเป้าหมายที่กำหนด A มีการจัดทำรายละเอียดของแผนงาน/โครงการ ซึ่งต้องประกอบด้วย 1. ระยะเวลาดำเนินการ2.ผู้รับผิดชอบ 3.การจัดสรรงบประมาณ และทรัพยากรด้านอื่น ๆ D มีรายงานผลการปฏิบัติราชการของคณะ/หน่วยงานที่มีสาระสำคัญครอบคลุมการรายงานผลการดำเนินงานตามแผน มีรายงานการประชุมหรือบันทึกการประชุมสภามหาวิทยาลัย หรือคณะกรรมการที่เกี่ยวข้อง แสดงรายละเอียดกระบวนการติดตามและประเมินผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติราชการของสถาบันอุดมศึกษา L มีเอกสาร/หลักฐานอื่นที่แสดงถึงกระบวนการทำงานในการปรับปรุงการดำเนินงานเพื่อบรรลุเป้าหมายที่กำหนดของสถาบัน/คณะ/สำนัก รวมทั้ง หลักฐานอื่นที่ยืนยันผลสำเร็จจากการปรับปรุงการดำเนินงานดังกล่าว LD 4

34 หมวด 2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ ประเด็นการพิจารณาการดำเนินการ
Contents รหัส แนวทางการดำเนินการ ประเด็นการพิจารณาการดำเนินการ SP7 สถาบันอุดมศึกษาต้องมีการจัดทำแนวทางการบริหารความเสี่ยงในระดับสถาบันที่ชัดเจนและสามารถนำไปประกอบการจัดทำแผนบริหารความเสี่ยงในระดับคณะ/หน่วยงานได้โดยครอบคลุมสาระสำคัญเรื่องความเสี่ยงด้านกลยุทธ์ ด้านการดำเนินงาน ด้านธรรมาภิบาล และด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ A กระบวนการวิเคราะห์ความเสี่ยงในระดับสถาบันและระดับคณะ/หน่วยงานโดยเฉพาะการบริหารความเสี่ยงในเรื่องเกี่ยวกับนโยบายการกำกับดูแลตนเองที่ดีที่สภามหาวิทยาลัยกำหนด ประกาศ/คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการ/คณะทำงาน ในการวิเคราะห์และจัดทำแผนบริหารความเสี่ยง D รายงานผลการวิเคราะห์ความเสี่ยงเพื่อนำมาจัดแผนบริหารความเสี่ยง แผนบริหารความเสี่ยงของสถาบัน/คณะ/หน่วยงาน ซึ่งได้รับความเห็นชอบจากผู้มีอำนาจ มีการนำแผนไปปฏิบัติ ช่องทางสื่อสารการนำแผนบริหารความเสี่ยงไปปฏิบัติ L มีการสรุปผลการดำเนินงานตามแผนบริหารความเสี่ยง และนำเสนอผู้บริหารไตรมาสละ 1 ครั้ง อย่างน้อย 2 ไตรมาส มีการจัดทำรายงานสรุปผลการดำเนินงานตามแผนบริหารความเสี่ยง เมื่อสิ้นปีงบประมาณ

35 ถาม-ตอบ Contents


ดาวน์โหลด ppt เกณฑ์ PMQA ระดับพื้นฐาน (Fundamental Level)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google