งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

3. องค์กรในการบังคับใช้กฎหมาย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "3. องค์กรในการบังคับใช้กฎหมาย"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 3. องค์กรในการบังคับใช้กฎหมาย
3. องค์กรในการบังคับใช้กฎหมาย พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ พ.ศ.2542 3.1 คณะกรรมการ มาตรา ในกรุงเทพฯ : มีคณะกรรมการกลางว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ (กกร.) (รมว.พณ. เป็นประธาน / อธิบดี คน. เป็นเลขานุการ) ต่างจังหวัด : มีคณะกรรมการส่วนจังหวัดว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ (กจร) (ผวจ. เป็นประธาน / พณจ. เป็นเลขานุการ) *** มีการแต่งตั้งผู้ทรงคุณวุฒิจากภาคราชการและเอกชน ร่วมเป็นกรรมการ มีวาระอยู่ในตำแหน่ง คราวละ 2 ปี แต่จะแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งติดต่อกันเกิน 2 วาระไม่ได้ เรียบเรียงโดย : สำนักงานการค้าภายในจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ครั้งที่ 1 / เมษายน 2554

2 3. องค์กรในการบังคับใช้กฎหมาย
3. องค์กรในการบังคับใช้กฎหมาย พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ พ.ศ.2542 3.2 สำนักงาน มาตรา ในกรุงเทพฯ : มี สำนักงาน กกร. อยูที่กรมการค้าภายใน มีอธิบดีกรมการค้าภายใน เป็นผู้บังคับบัญชา ต่างจังหวัด : มี สำนักงาน กจร. อยู่ที่สำนักงานพาณิชย์จังหวัด มี พาณิชย์จังหวัด เป็นหัวหน้าสำนักงาน (เฉพาะของ สป.) *** มีอำนาจหน้าที่ ดำเนินงานธุรการ ศึกษา วิเคราะห์ ติดตามความเคลื่อนไหวราคาสินค้า และรับเรื่องร้องเรียนที่ได้รับความเดือดร้อนหรือเสียหาย เนื่องจากการกระทำอันมีผลกระทบกระเทือนต่อราคา เรียบเรียงโดย : สำนักงานการค้าภายในจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ครั้งที่ 1 / เมษายน 2554

3 3. องค์กรในการบังคับใช้กฎหมาย
3. องค์กรในการบังคับใช้กฎหมาย พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ พ.ศ.2542 3.3 พนักงานเจ้าหน้าที่ มาตรา 4, 6 ,23 ● คือใคร ? เป็นข้าราชการ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์แต่งตั้ง เป็นพนักงานฝ่ายปกครองหรือตำรวจ ● ขอบข่ายอำนาจ (1) มีอำนาจในทุกท้องที่ทั่วราชการอาณาจักร (ผู้ตรวจกระทรวงพาณิชย์, ที่ปรึกษาการพาณิชย์, ที่ปรึกษากฎหมาย, ข้าวราชการตั้งแต่ระดับ 3 กรมการค้าภายใน, นายตรวจชั่งตวงวัด (2) มีอำนาจภายในท้องที่ของตน (นายอำเภอ, ปลัดอำเภอ, ข้าวราชการตั้งแต่ระดับ 3 สังกัด กระทรวงพาณิชย์) เรียบเรียงโดย : สำนักงานการค้าภายในจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ครั้งที่ 1 / เมษายน 2554

4 3. องค์กรในการบังคับใช้กฎหมาย
3. องค์กรในการบังคับใช้กฎหมาย พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ พ.ศ.2542 3.4 อำนาจหน้าที่ของพนักงานเจ้าหน้าที่ มาตรา 18 มีหนังสือเรียกบุคคลมาให้ถ้อยคำ แจ้งข้อเท็จจริง หรือให้ส่งบัญชีเอกสาร เพื่อตรวจสอบ หรือเพื่อประกอบการพิจารณา เข้าไปในสถานที่ประกอบการ ยานพาหนะ หรือสั่งให้ผู้ควบคุมยานพาหนะให้หยุด เพื่อ ตรวจสอบ ตรวจค้นและยึดพยานหลักฐาน จับกุมผู้กระทำความผิดฝ่าฝืน มาตรา 30 (กักตุน) หรือ มาตรา 31 (ปฏิเสธ) โดยไม่ต้อง มีหมายค้น มีอำนาจ กัก อายัด หรือ ยึดสินค้า ยานพาหนะ เอกสารหลักฐาน ในกรณีที่มีหลักฐานชัดแจ้งว่า ฝ่าฝืน มาตรา 30 หรือ มาตรา 31 เรียบเรียงโดย : สำนักงานการค้าภายในจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ครั้งที่ 1 / เมษายน 2554


ดาวน์โหลด ppt 3. องค์กรในการบังคับใช้กฎหมาย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google