งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การดำเนินงานด้านอนุรักษ์พลังงาน กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การดำเนินงานด้านอนุรักษ์พลังงาน กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การดำเนินงานด้านอนุรักษ์พลังงาน กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน
ของ กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน นายไกรฤทธิ์ นิลคูหา อธิบดีกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน กระทรวงพลังงาน ” การประชุมชี้แจงนโยบายของกระทรวงพลังงานแก่หน่วยราชการส่วนท้องถิ่น จังหวัด ชลบุรี วันที่ 9 ตุลาคม 2552

2 สถานการณ์พลังงานของประเทศไทย

3 สถานการณ์พลังงานของไทยในปี 2551
หน่วย : เทียบเท่าพันบาร์เรลน้ำมันดิบต่อวัน 2547 2548 2549 2550 2551 การใช้ 1,450 1,520 1,548 1,606 1,624 การผลิต 676 743 765 794 850 การนำเข้า (สุทธิ) 988 980 978 998 941 การนำเข้า/การใช้ (%) 68 64 63 62 58 อัตราการเปลี่ยนแปลง (%) 7.7 4.8 1.8 3.8 1.1 1.5 9.9 3.0 3.7 7.1 13.8 -0.9 -0.2 2.0 -5.7 The First I would like to present energy situation in Thailand 2008 Energy consumption in Thailand is continuously increased during the year with an average annual growth rate of 2% In 2008 the total final energy consumption was about 66 Million tons of oil equivalent. Final energy consumption by economic sector, you will see the Transportation and Manufacturing are big consumptions that consumed the final energy amount for 72% of the country energy demand. In transportation is almost used petroleum products and for industrial sector is mixed consisting of petroleum products, natural gas, coal and agricultural waste. The total value of energy imported is a large financial burden on our country. Especially the imported petroleum product is a major portion about 97% of total value of energy imported. Ref : EPPO, Thailand Energy Statistics 2008

4 สถานการณ์พลังงานของไทยในปี 2551
น้ำมันสำเร็จรูป ก๊าซธรรมชาติ ถ่านหิน พลังงาน หมุนเวียน 47% 12% 18% 5% ความต้องการใช้พลังงานขั้นสุดท้ายตามชนิดพลังงาน ไฟฟ้า เกษตรกรรม เหมืองแร่ 0.2% ขนส่ง อุตสาหกรรม ก่อสร้าง 0.2% พาณิชย์ 35.1% 5.2% 37% 15.2% 7.1% ความต้องการใช้พลังงานขั้นสุดท้ายตามภาคเศรษฐกิจ The First I would like to present energy situation in Thailand 2008 Energy consumption in Thailand is continuously increased during the year with an average annual growth rate of 2% In 2008 the total final energy consumption was about 66 Million tons of oil equivalent. Final energy consumption by economic sector, you will see the Transportation and Manufacturing are big consumptions that consumed the final energy amount for 72% of the country energy demand. In transportation is almost used petroleum products and for industrial sector is mixed consisting of petroleum products, natural gas, coal and agricultural waste. The total value of energy imported is a large financial burden on our country. Especially the imported petroleum product is a major portion about 97% of total value of energy imported. ที่อยู่อาศัย ความต้องการใช้พลังงานขั้นสุดท้าย 66,284 ktoe Ref : DEDE, Thailand Energy Situation 2008

5 สรุปข้อมูลสถานภาพด้านพลังงาน ปี 2551
สถานการณ์พลังงานของไทยในปี 2551 สรุปข้อมูลสถานภาพด้านพลังงาน ปี 2551 การใช้พลังงานขั้นสุดท้ายของปี 1,624 เทียบเท่าพันบาร์เรลน้ำมันดิบต่อวัน, เพิ่มขึ้น 1.1% จากปี 2550 ภาคอุตสาหกรรมและภาคขมนาคมขนส่งเป็นผู้ใช้พลังงานหลัก โดยมีสัดส่วนการใช้พลังงานรวมกันเกินกว่า 70% ของการใช้พลังงานของทั้งประเทศ ประมาณร้อยละ 58 ของปริมาณการใช้พลังงานทั้งหมด ต้องนำเข้าจากต่างประเทศ คิดเป็นมูลค่าประมาณ 1.16 ล้านล้านบาท น้ำมันดิบและน้ำมันสำเร็จรูปเป็นเชื้อเพลิงที่มีปริมาณการนำเข้าสูงสุด คิดเป็นประมาณ 69% ของปริมาณพลังงานที่มีการนำเข้าทั้งหมด Energy Intensity ของประเทศมีค่าประมาณ 15.2 toe/million Baht Energy per Capita ของประเทศมีค่าประมาณ 1.05 toe/capita

6 เป้าหมายการอนุรักษ์พลังงาน

7 Energy Efficiency Goals (Industry and Commercial Sector)
Old Target vs. New Target -- Reducing Energy Intensity by 8% Energy Consumption (KTOE) BAU ลดการใช้พลังงาน 20% New Target reduce Energy Intensity 8% by 2015 (base year 2005) actual

8 Energy Intensity Target (Industry and Commercial Sector)
New Target -- Reducing Energy Intensity by 25% by 2030 (base year 2005) Base Year 2005 (EI = 9.03) ASEAN Regional Target APEC Minister Declaration 8% reduction by 2015 (EI = 8.31) 25% reduction by 2030 (EI = 6.77) Actual Target

9 ภาพรวมการดำเนินงานด้านอนุรักษ์พลังงาน
เป้าหมาย ลด Energy Intensity ลง 8% ภายในปี 2558 (เทียบกับ EI ฐาน ปี 2548) ลด EI จาก 9.03 ktoe/พันล้านบาท ในปี 2548 ลงเหลือ 8.31 ktoe/พันล้านบาท ในปี 2558 ภาพรวมการอนุรักษ์พลังงาน การกำกับการอนุรักษ์พลังงาน การส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน การสนับสนุนการอนุรักษ์พลังงาน โรงงาน/อาคารควบคุม โรงงานควบคุม อาคารควบคุม มาตรฐานการจัดการพลังงาน มาตรฐานอาคารก่อสร้างใหม่ มาตรฐานประสิทธิภาพอุปกรณ์ มาตรฐานขั้นต่ำ มาตรฐานขั้นสูง เงินหมุนเวียนเพื่อการอนุรักษ์พลังงาน โรงงาน อาคาร ESCO FUND มาตรการภาษี Cost based Performance based BOI สินเชื่อพลังงาน -สินเชื่อพลังงานครัวเรือน -การสาธิตเทคโนโลยี -DSM การพัฒนาบุคลากร การถ่ายทอดและเผยแพร่เทคโนโลยี การอนุรักษ์พลังงานแบบมีส่วนร่วม การอนุรักษ์พลังงานในกระบวน การผลิตและการเปลี่ยนเครื่องจักร ประสิทธิภาพสูง การกระตุ้นเสริมสร้างจิตสำนึก -การให้คำปรึกษาและคลินิกพลังงาน -การสร้างเครื่อข่ายด้านอนุรักษ์พลลังงาน สถาอุตสาหกรรม หอการค้าไทย การนิคมอุตสาหกรรมฯ 9

10 แนะนำ กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน

11

12 ทำความรู้จัก พพ. กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน (พพ.)
วิสัยทัศน์ เป็นผู้นำด้านพลังงานสะอาดระดับแนวหน้าของเอเชีย ภายในปี 2554 พันธกิจ พัฒนา ส่งเสริม สนับสนุนการผลิตและการใช้พลังงานสะอาดที่สอดคล้องกับสภาพการณ์ของแต่ละพื้นที่อย่างคุ้มค่าและยั่งยืน พัฒนาเทคโนโลยีพลังงานสะอาดเชิงพาณิชย์ ทั้งด้านการบริโภคภายในและการส่งออกรวมทั้ง การสร้างเครือข่ายความร่วมมือที่นำพาประเทศไปสู่สังคมฐานความรู้ด้านพลังงาน เพื่อเศรษฐกิจมั่นคงสังคมเป็นสุขอย่างยั่งยืน เป้าหมายการให้บริการ 1. เพื่อให้การใช้พลังงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ 2. เพื่อให้มีการจัดหาและใช้งานพลังงานทดแทนทุกประเภท

13 มาตรการ/โครงการ ด้านอนุรักษ์พลังงาน

14 การกำกับการอนุรักษ์พลังงาน
โรงงาน/อาคารควบคุม กลุ่มเป้าหมาย โรงงานหรืออาคารที่มีการติดตั้งมิเตอร์ไฟฟ้าตั้งแต่ 1000 kW หรือติดตั้งหม้อแปลงไฟฟ้าขนาดตั้งแต่ 1,175 kvA หรือใช้พลังงานสิ้นเปลืองเทียบเท่าพลังงานไฟฟ้าตั้งแต่ 20 ล้านเมกะจูลต่อปี ขึ้นไป ปัจจุบัน มีโรงงานควบคุมประมาณ 3360 แห่ง อาคารควบคุมประมาณ 1921 แห่ง การดำเนินงาน ออกกฎกระทรวงและประกาศกระทรวงที่เกี่ยวข้องที่เกี่ยวข้องในการกำกับดูแลการปฏิบัติกฏหมายของโรงงานและอาคารควบคุม กำกับดูแลให้โรงงานและอาคารควบคุมดำเนินการตามกฎหมาย ดังนี้ จัดให้มีผู้รับผิดชอบด้านพลังงานประจำโรงงานและอาคารควบคุมอย่างน้อย 1 คน ดำเนินการเรื่องการจัดการพลังงาน ( Energy Management ) ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กฎหมายกำหนด ส่งรายงานการจัดการพลังงานให้ พพ. เป็นประจำทุกปี จัดให้มีผู้ตรวจสอบพลังงานเข้าไปตรวจสอบเรื่องการจัดการพลังงานทุกปี นำระบบการจัดการพลังงาน (Energy Management) มาเป็นแนวทางหลักเพื่อให้เกิดการอนุรักษ์พลังงานที่ยั่งยืนมี 3 ฉบับ ดังนี้ อำนวยความสะดวกให้โรงงานและอาคารควบคุมสามารถปฏิบัติตามกฏหมายได้อย่างถูกต้องและครบถ้วน เป้าหมาย มีศักยภาพการประหยัดพลังงานไม่น้อยกว่า 400 ktoe/ปี 14

15 การกำกับการอนุรักษ์พลังงาน
โรงงาน/อาคารควบคุม ผลการดำเนินงาน ออกกฎกระทรวง 3 ฉบับ ได้แก่ กฎกระทรวง กำหนดมาตรฐาน หลักเกณฑ์ และวิธีการจัดการพลังงาน (มีผลใช้บังคับ 20 พ.ย. 52) กฎกระทรวง กำหนดคุณสมบัติ หน้าที่และจำนวนผู้รับผิดชอบด้านพลังงาน (มีผลใช้บังคับ 31 ก.ค.52) กฎกระทรวง กำหนดคุณสมบัติของผู้ตรวจสอบพลังงาน การขอรับใบอนุญาตและการต่อใบอนญาต เป็นผู้ตรวจสอบพลังงาน ( อยู่ระหว่างการพิจารณาของ สนง. คณะกรรมการกฤษฎีกา) จัดทำประกาศกระทรวงในส่วนที่เกี่ยวข้องเพิ่มเติม จัดสัมมนาและอบรมให้ความรู้ความเข้าใจในเรื่องการปฏิบัติตามกฏหมายอนุรักษ์พลังงาน แก่กับกลุ่มเป้าหมาย (ดำเนินการไปแล้ว 12 ครั้ง) จัดทำคู่มือและเอกสารเผยแพร่สำหรับโรงงานและอาคารควบคุม ให้บริการคำปรึกษาและข้อมูลข่าวสารที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงานตามกฏหมายผ่านทาง หน่วยลูกค้าสัมพันธ์และคลินิกพลังงาน 15

16 การกำกับการอนุรักษ์พลังงาน
มาตรฐานอาคารก่อสร้างใหม่ (Energy Building Code) ข้อกำหนด : 1. อาคารที่ก่อสร้างแล้วเสร็จหรือดัดแปลงแล้วเสร็จ มีขนาดพื้นที่รวมกันทุกชั้นในหลังเดียวกันตั้งแต่ 2,000 ตารางเมตรขึ้นไป ต้องออกแบบให้มีการอนุรักษ์พลังงานเป็นไปตามข้อกำหนด (พรบ. มาตรา 19) 2. มาตรฐานการออกแบบเพื่อการอนุรักษ์พลังงาน (ออกเป็นกฎกระทรวงฯ) ระบบกรอบอาคาร (ผนัง, หลังคา) ระบบไฟฟ้าแสงสว่าง ระบบปรับอากาศ อุปกรณ์ผลิตน้ำร้อน (หม้อไอน้ำ, หม้อต้มน้ำร้อน, ฮีตปั้ม) การใช้พลังงานหมุนเวียนในระบบต่างๆ ของอาคาร การใช้พลังงานรวมของอาคาร แนวทางการบังคับใช้ ให้ถือว่ากฎกระทรวงฯ มีผลเสมือนกับกฎกระทรวงที่ออกตาม ม. 8 แห่ง พรบ. ควบคุมอาคาร พ.ศ โดยเจ้าพนักงานท้องถิ่น กทม. เทศบาล และ อบต. เป็นผู้ให้การอนุญาตแบบก่อสร้าง โดยช่วงแรกให้หน่วยงานท้องถิ่น ส่งให้ พพ. เป็นผู้ตรวจสอบรับรองแบบก่อสร้าง

17 การกำกับการอนุรักษ์พลังงาน
ออกกฎกระทรวงฯ มีผลใช้บังคับ 20 มิ.ย.52 ดำเนินการจัดทำประกาศกระทรวงฯ ที่เกี่ยวข้อง การออกกฎหมาย - จัดสัมมนาเผยแพร่ให้ความรู้ 7 ครั้ง มีผู้เข้าร่วมสัมมนารวมแล้วประมาณ 900 คน ประกอบด้วย ผู้แทนอาคารควบคุม สถาปนิก วิศวกร หน่วยงานภาครัฐที่กำกับดูแล การสัมมนาและฝึกอบรม จัดงานแถลงข่าว 11 ก.พ. 52 ส่งหนังสือแจ้งหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น สถาบันการศึกษา สมาคม องค์กร หน่วยงานภาครัฐ ประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อต่างๆ ผลการดำเนินงาน Building Code การประชาสัมพันธ์ - จัดทำแบบฟอร์มการยื่นขออนุญาต จัดทำคู่มือต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง จัดทำโปรแกรมคอมพิวเตอร์สำหรับคำนวณ การออกแบบอาคาร การเตรียมความพร้อม ประสานงานกรมโยธาฯ และ กทม. เพื่อ ใช้บังคับกับอาคารในเขตกรุงเทพฯ ประสานงานหน่วยงานท้องถิ่น เช่น อบจ. อบต. เมืองพัทยา เพื่อผลักดันใช้บังคับ อาคารในต่างจังหวัด การประสานงานหน่วยงานบังคับใช้กฎหมาย

18 การจัดทำมาตรฐานอุปกรณ์และกฏกระทรวงเพื่อการอนุรักษ์พลังงาน
การกำกับดูแลการอนุรักษ์พลังงาน การจัดทำมาตรฐานอุปกรณ์และกฏกระทรวงเพื่อการอนุรักษ์พลังงาน วัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมให้มีการผลิต และการจำหน่ายเครื่องจักรอุปกรณ์ประสิทธิภาพสูงและวัสดุเพื่อการอนุรักษ์ พลังงานอย่างแพร่หลาย แนวทางการดำเนินงาน มาตรฐานประสิทธิภาพพลังงานขั้นสูง (High Energy Performance Standards :HEPS) เป็นกฏกระทรวงฯ ตามมาตรา 23 ของ พ.ร.บ. ส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงานพ.ศ.2535 โดย พพ. กำหนดค่าเกณฑ์มาตรฐานฯ ขั้นสูง ประกาศเป็นกฎกระทรวงฯ โดยดำเนินการในรูปแบบมาตรการส่งเสริม ซึ่งสนับสนุน ให้มีการผลิต การจำหน่ายและการใช้เครื่องจักร อุปกรณ์ประสิทธิภาพสูงและวัสดุเพื่อการอนุรักษ์พลังงาน โดยการติดฉลากประสิทธิภาพพลังงานหรือฉลากประสิทธิภาพสูง และการรณรงค์ประชาสัมพันธ์ มาตรฐานประสิทธิภาพพลังงานขั้นต่ำ (Minimum Energy Performance Standards :MEPS) เป็นมาตรการบังคับ ที่ พพ. กำหนดค่าเกณฑ์มาตรฐานฯ ขั้นต่ำสำหรับเครื่องจักรอุปกรณ์ และนำส่งสำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (สมอ.) เพื่อให้ประกาศเป็นมาตรฐานผลิตภัณฑ์ อุตสาหกรรม เฉพาะด้านประสิทธิภาพพลังงาน ตาม พ.ร.บ. มาตรฐานประสิทธิภาพอุตสาหกรรมของ สมอ. 18

19 การจัดทำมาตรฐานอุปกรณ์และกฏกระทรวงเพื่อการอนุรักษ์พลังงาน
การกำกับดูแลการอนุรักษ์พลังงาน การจัดทำมาตรฐานอุปกรณ์และกฏกระทรวงเพื่อการอนุรักษ์พลังงาน ผลการดำเนินงาน HEPS : ได้มีการศึกษาเพื่อจัดทำมาตรฐานประสิทธิภาพพลังงานขั้นสูงแล้วใน 54 ผลิตภัณฑ์ และจัดทำเป็นร่างกฎกระทรวงแล้วสำหรับ 8 ผลิตภัณฑ์ MEPS : ศึกษาเพื่อจัดทำมาตรฐานประสิทธิภาพพลังงานขั้นต่ำแล้วจำนวน 50 ผลิตภัณฑ์ และจัดทำร่างมาตรฐานของ MEPS แล้วสำหรับ 11 ผลิตภัณฑ์ มีศักยภาพในการประหยัดพลังงานรวม 280 ktoe/ปี หรือคิดเป็นมูลค่าผลประหยัดรวม 7,500 ล้าน ร่าง จำนวน อุปกรณ์ ผลประหยัด สถานภาพ Ktoe/ปี ล้านบาท/ปี กฎกระทรวง 8 1) เครื่องปรับอากาศ 2) ตู้เย็น 3) พัดลม 4) เครื่องทำน้ำอุ่น 5) หม้อหุงข้าว ) กระติกน้ำร้อน 7) เครื่องทำน้ำเย็นสำหรับระบบปรับอากาศ 8) กระจก 29 790 รอประกาศในราชกิจจานุเบกษา มาตรฐาน 11 1) เครื่องปรับอากาศ 2) ตู้เย็น 3)พัดลม 4)เครื่องทำน้ำอุ่น 5)หม้อหุงข้าว ) กระติกน้ำร้อน 7)มอเตอร์ 8)เตาแก๊ส 9) หลอดคอมแพค 10) หลอดฟลูออเรสเซ็นต์ 11)บัลลาสต์แกนเหล็ก 0.63 17 อยู่ระหว่างการพิจารณาของ สมอ. เพื่อประกาศบังคับใช้ต่อไป 19

20 โครงการเงินหมุนเวียนเพื่อการอนุรักษ์พลังงานและพลังงานทดแทน
การส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน โครงการเงินหมุนเวียนเพื่อการอนุรักษ์พลังงานและพลังงานทดแทน ลักษณะโครงการ - เป็นเงินกู้ดอกเบี้ยต่ำ โดยปล่อยผ่านสถาบันการเงินในอัตราดอกเบี้ยไม่เกิน 4 % สำหรับการลงทุนด้านอนุรักษ์พลังงานและพลังงานทดแทน - กองทุนคิดอัตราดอกเบี้ยจากสถาบันการเงิน 0.5% (เริ่มตั้งแต่ปี 2549 เป็นต้นไป) - วงเงินกู้ไม่เกิน 50 ล้านบาทต่อโครงการ - อายุเงินกู้ไม่เกิน 7 ปี ผลการดำเนินงานที่ผ่านมา ตั้งแต่ปี ’46 –’52 ภาครัฐปล่อยเงินกู้ทั้งหมด 5,978 ล้านบาท เอกชนลงทุนเอง 6,069 ล้านบาท รวมเงินลงทุนทั้งหมด 12,047 ล้านบาท เกิดผลประหยัด 4,138 ล้านบาท/ปี สถาบันการเงินที่เข้าร่วมโครงการ

21 โครงการเงินหมุนเวียนเพื่อการอนุรักษ์พลังงานและพลังงานทดแทน
การส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน โครงการเงินหมุนเวียนเพื่อการอนุรักษ์พลังงานและพลังงานทดแทน เงินลงทุนเฉลี่ย 12,446,174 บาท/โครงการ ระยะเวลาคืนทุนเฉลี่ย 3 ปี เงินลงทุนเฉลี่ย 71,178,684 บาท/โครงการ ระยะเวลาคืนทุนเฉลี่ย 3 ปี

22 Energy Conservation Promotion Fund
การส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน การจัดตั้งกองทุนเพื่อร่วมลงทุนและส่งเสริมการลงทุนให้ โครงการอนุรักษ์พลังงานและพลังงานทดแทน (ESCO Fund) ลักษณะโครงการ จัดตั้งกองทุน เพื่อร่วมลงทุนและส่งเสริมการลงทุนให้โครงการอนุรักษ์พลังงาน และพลังงานทดแทน Energy Conservation Promotion Fund เงินสนับสนุน ESCO Fund Investment Committee ปี 51-52 งบประมาณ 500 ล้านบาท Investor Investor Investor Investor Fund Manager ESCO Venture Capital Equity Investment Equipment Leasing Carbon Market Technical Assistance Credit Guarantee Facility กลไกการบริหาร ผู้จัดการกองทุน : ดำเนินการบริหารจัดการกองทุน คณะกรรมการการลงทุน : กำกับดูแล วางนโยบาย ประกอบ ผู้แทนหน่วยงานภาครัฐและผู้ทรงคุณวุฒิ กองทุนฯจะได้รับผลตอบแทนตามสัดส่วนของการลงทุนและผลประกอบการของบริษัท / โครงการ ที่เข้าร่วมลงทุน 22

23 การจัดตั้งกองทุนเพื่อร่วมลงทุนและส่งเสริมการลงทุนให้
การส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน การจัดตั้งกองทุนเพื่อร่วมลงทุนและส่งเสริมการลงทุนให้ โครงการอนุรักษ์พลังงานและพลังงานทดแทน (ESCO Fund) เงื่อนไขการสนับสนุน % ของเงินลงทุนทั้งหมด แต่ไม่เกิน 50 ล้านบาท 2. ผลตอบแทนและความเสี่ยงอยู่ในเกณฑ์ที่เหมาะสม การถอนตัวการลงทุน หลักเกณฑ์ พิจารณาถอนตัวจากการลงทุนเมื่อโครงการคืนทุนแล้ว หรือสามารถดำเนินการต่อได้ด้วยตนเอง ทั้งนี้ เพื่อนำเงินไปใช้ส่งเสริมโครงการอื่นๆ ต่อไป และเป็นไปตามวัตถุประสงค์ของการเข้าร่วมทุนของกองทุนฯ สำหรับช่วยกระตุ้นและส่งเสริมให้โครงการสามารถดำเนินการได้ในช่วงเริ่มต้น วิธีการ 1. ขายหุ้น / ทรัพย์สินคืนแก่เจ้าของโครงการหรือนักลงทุนรายอื่นในราคาตลาด หรือในราคาที่มีการตกลงไว้ (เงินลงทุน+ดอกเบี้ย) 2. ผ่อนชำระคืนเงินลงทุน ภายใน 5 ปี พร้อมดอกเบี้ย 3. ขายเข้าตลาดหลักทรัพย์ (ถ้าเป็นไปได้) 23

24 การจัดตั้งกองทุนเพื่อร่วมลงทุนและส่งเสริมการลงทุนให้
การส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน การจัดตั้งกองทุนเพื่อร่วมลงทุนและส่งเสริมการลงทุนให้ โครงการอนุรักษ์พลังงานและพลังงานทดแทน (ESCO Fund) Fund Manager มูลนิธิอนุรักษ์พลังงานแห่งประเทศไทย มูลนิธิพลังงานเพื่อสิ่งแวดล้อม ผลการดำเนินงาน ณ ปัจจุบัน มีโครงการได้รับอนุมัติการลงทุนแล้ว 17 โครงการ ประกอบด้วย โครงการลงทุนก่อสร้างโรงไฟฟ้าจากชีวมวล 8 โครงการ โครงการก่อสร้างโรงไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ 1 โครงการ โครงการผลิตน้ำร้อนจากพลังงานแสงอาทิตย์ 1 โครงการ โครงการด้านการเช่าซื้อ และขยายการจำหน่ายอุปกรณ์ประหยัดพลังงาน 5 โครงการ ใช้เงินของ ESCO Fund ทั้งสิ้น 290 ล้านบาท ก่อให้เกิดการลงทุน 4,230 ล้านบาท และมี ผลประหยัดเกินกว่า 200 ล้านบาท / ปี 24

25 การส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน
มาตรการภาษี ลักษณะโครงการ Cost-based (ระยะที่1 : ): - ยกเว้นภาษีเงินได้สำหรับเงินได้ที่จ่ายเป็นค่าใช้จ่ายเพื่อได้มาซึ่งทรัพย์สินประเภท วัสดุ อุปกรณ์หรือ เครื่องจักรที่มีผลต่อการประหยัดพลังงาน ในอัตราร้อยละ 25 - ให้สิทธิเฉพาะเงินค่าใช้จ่าย 50 ล้านบาทแรก - ทยอยหักภาษีใน 5 รอบระยะเวลาบัญชี - ให้สิทธิ์เฉพาะการเปลี่ยนอุปกรณ์ใหม่ที่ประหยัดพลังงานกว่าทดแทนอุปกรณ์เดิมซึ่งเป็นชนิด เดียวกัน Cost-based (ระยะที่2 : ): อยู่ระหว่างเตรียมประกาศกรม ของ พพ. และกรมสรรพากร เครื่องจักรที่มีผลต่อการประหยัดพลังงาน แต่ไม่รวมถึงยานพาหนะและวัสดุ อุปกรณ์ หรือเครื่องจักร ที่ใช้กับยานพาหนะ ในอัตราร้อยละ 25 - ไม่จำกัดขนาดเงินลงทุน - ให้สิทธิ์ได้ทั้งการเปลี่ยนอุปกรณ์ หรือติดตั้งเพิ่มเติม Performance-based : - ดำเนินการ 2 ระยะ ( และ ) - หักคืนภาษีในอัตรา 30% ของผลประหยัดจากโครงการด้านอนุรักษ์พลังงาน - ยกเว้นภาษีสูงสุดไม่เกิน 2 ล้านบาท /สถานประกอบการ - ต้องมีการทำ Pre และ Post Audit BOI : ยกเว้นภาษีเงินได้ 8 ปี + ยกเว้นอากรขาเข้า สำหรับธุรกิจ 3 ประเภท ได้แก่ 1. การผลิตเครื่องจักร อุปกรณ์ ประหยัดพลังงาน และ การผลิต Solar PV 2. ธุรกิจบริษัทจัดการพลังงาน (ESCO) 3. ธุรกิจผลิตพลังงานทดแทน 25

26 การส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน
มาตรการทางภาษี ผลการดำเนินงานที่ผ่านมา Cost-based (ระยะที่1) - สถานประกอบการได้รับสิทธิ์ 94 แห่ง รัฐจ่ายคืนภาษีเป็นเงิน 139 ล้านบาท - เกิดผลประหยัด 375 ล้านบาท/ปี - กระตุ้นให้เกิดการลงทุน 557 ล้านบาท ระยะคืนทุนเฉลี่ย 1.5 ปี Performance-based (ระยะที่1) - สถานประกอบการได้รับสิทธิ์ 119 แห่ง รัฐจ่ายคืนภาษีเป็นเงิน 42 ล้านบาท - เกิดผลประหยัด 402 ล้านบาท/ปี - กระตุ้นให้เกิดการลงทุน 546 ล้านบาท ระยะคืนทุนเฉลี่ย 1.35 ปี Performance-based (ระยะที่ 2) - สถานประกอบการได้รับสิทธิ์ 132 แห่ง รัฐจ่ายคืนภาษีเป็นเงิน 96 ล้านบาท - เกิดผลประหยัด 628 ล้านบาท/ปี - กระตุ้นให้เกิดการลงทุน 1276 ล้านบาท ระยะคืนทุนเฉลี่ย 2.03 ปี BOI - โครงการที่ได้รับการอนุมัติ 37 โครงการ - เกิดผลประหยัด 2,459 ล้านบาท/ปี - กระตุ้นให้เกิดการลงทุน 8,006 ล้านบาท 26

27 การส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน
สินเชื่อพลังงาน ลักษณะโครงการ พพ. ร่วมมือสถาบันการเงินในการปล่อยสินเชื่อทางด้านพลังงาน (เพิ่มเติมจากภาคที่อยู่ อาศัย ธุรกิจ การศึกษา) โดยมีการลงนาม MOU กับ 13 ธนาคาร ธนาคารเป็นผู้กำหนดหลักเกณฑ์ในการปล่อยสินเชื่อของตนเอง พพ. สนับสนุนข้อมูลด้านพลังงาน บริการด้านวิชาการ ตลอดจนช่วยการประชาสัมพันธ์ ผลที่คาดว่าจะได้รับ เกิดการลงทุนด้านพลังงาน เพื่อนำไปสู่การลดต้นทุนพลังงานของผู้ประกอบการธุรกิจและอุตสาหกรรม ทำให้สามารถเกิดการแข่งขันกับนานาประเทศได้ นอกจากนี้ ยังเกิดผลดีกับประเทศชาติ ทั้งส่วนของการลดการนำเข้าพลังงาน การพัฒนาแหล่งพลังงานทดแทน และส่งผลดีต่อสภาพแวดล้อม ก่อให้เกิดการใช้พลังงานอย่างคุ้มค่า โดยคาดว่าจะสามารถประหยัดพลังงานในรูปแบบต่างๆ ดังนี้ ประหยัดไฟฟ้า ได้ประมาณ 4,200 ล้านหน่วย/ปี ประหยัดน้ำมัน (เทียบเท่าน้ำมันเตา) 1,110 ล้านลิตร/ปี คิดเป็นเงินที่ประหยัดได้ ประมาณ 21,000 ล้านบาท/ปี (คิดจากวงเงินที่ให้สินเชื่อพลังงานรวม 60,000 ล้านบาท) 27

28 การส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน
สินเชื่อพลังงาน ผลการดำเนินถึงปัจจุบัน ธนาคารปล่อยสินเชื่อไปแล้วเป็นวงเงินรวม 65,473 ล้านบาท เกิดผลประหยัดพลังงานประมาณ 21,824 ล้านบาท/ปี คิดเป็นจำนวนโครงการที่ได้รับสินเชื่อไปดำเนินการประมาณ 1,200 โครงการ ประเภทของโครงการที่มีการลงทุน เช่น โครงการผลิตไฟฟ้า SPP, VSPP , Co-generation การเปลี่ยนเครื่องจักร อุปกรณ์ประสิทธิภาพสูง เช่น Boiler, Chiller, VSD การปรับปรุงกระบวนการผลิต

29 การส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน การอนุรักษ์พลังงานแบบมีส่วนร่วม
แนวคิด 1. เน้นการมีส่วนร่วมของคนทุกคนในหน่วยงานเพื่อการอนุรักษ์พลังงาน 2. การอนุรักษ์พลังงานอย่างเป็นระบบและมีความยั่งยืน แนวทางการดำเนินงาน จัดส่งทีมผู้เชี่ยวชาญเข้าไปดำเนินการ ดังนี้ ให้ความรู้และพัฒนาทักษะที่จำเป็นด้านอนุรักษ์พลังงาน วางระบบการจัดการพลังงาน สร้างการมีส่วนร่วมและความตระหนักในการอนุรักษ์พลังงานของทุกคนในหน่วยงาน สนับสนุนช่วยเหลือสถานประกอบการในการดำเนินมาตรการประหยัดพลังงาน ติดตามประเมินผลการดำเนินงาน และให้ข้อเสนอแนะ ผลการดำเนินงาน ( ปี ) มีจำนวนสถานประกอบการที่เข้าร่วมโครงการดังกล่าวแล้วทั้งสิ้น 3,560 ราย โรงงานและอาคารควบคุมจำนวน 1,824 ราย โรงงานและอาคารขนาดกลางและขนาดเล็ก (SME) จำนวน 1,736 ราย คิดเป็นพลังงานที่ประหยัดได้รวม ktoe คิดเป็นเงินที่ประหยัดได้ประมาณ 2,720 ล้านบาท/ปี

30 การส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน มาตรการส่งเสริมและสนับสนุนอื่นๆ
มาตรการฝึกอบรมให้ความรู้และพัฒนาทักษะด้านอนุรักษ์พลังงาน เช่น หลักสูตรผู้รับผิดชอบด้านพลังงาน ( สามัญ / อาวุโส) หลักสูตรฝึกอบรมภาคปฏิบัติ Mini Plant Energy Display Center มาตรกระตุ้นและเสริมสร้างจิตสำนึก เช่น การจัดประกวดผลงานดีเด่นด้านพลังงาน “Thailand Energy Awards” การจัดกิจกรรมประชาสัมพันธ์เผยแพร่ความรู้ต่างๆ เช่น Energy Fair, ESCO Fair, การจัดสัมมนาทางวิชาการ, การประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อต่างๆ การจัดทำคู่มือความรู้และเอกสารเผยแพร่ เช่น วารสารรักษ์พลังงาน, คู่มือชุดความรู้ด้านอนุรักษ์พลังงาน, สื่อการเรียนรู้ทางอิเล็คทรอนิคส์ (E-Learning) มาตรการสร้างเครือข่ายความร่วมมือด้านอนุรักษ์พลังงาน หอการค้าไทย สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย การนิคมอุสาหกรรมแห่งประเทศไทย สถาบันการเงิน

31 E-mail :dedeoss@dede.go.th
หน่วยลูกค้าสัมพันธ์ (4 คู่สาย) โทรสาร อาคาร 8 ชั้น 1 พพ.

32


ดาวน์โหลด ppt การดำเนินงานด้านอนุรักษ์พลังงาน กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google