งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ พลังงาน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ พลังงาน"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ พลังงาน
โดย นายบุญลิ ศีลวัตกุล อดีตผู้อำนวยการศูนย์พยากรณ์และสารสนเทศพลังงาน วันที่ 9 มิถุนายน 2555

2 หัวข้อการบรรยาย ประเภทพลังงาน การจัดประเภทพลังงานแบบอื่นๆ
พลังงานสิ้นแปลือง พลังงนหมุนเวียน การจัดประเภทพลังงานแบบอื่นๆ สำรองพลังงาน (Energy reserve) หน่วยพลังงานและการแปลงหน่วย (Energy Unit and Conversion)

3 หัวข้อการบรรยาย (ต่อ)
5. การแปลงสภาพพลังงาน (Transformation Sector) 5.1 โรงกลั่นน้ำมัน (Refinery) 5.2 โรงแยกก๊าซธรรมชาติ (Gas Separation Plant) 5.3 โรงไฟฟ้า (Power Plant) 6. พลังงานกับเศรษฐกิจ 6.1 Energy Elasticity 6.2 Energy Intensity 6.3 Energy Per Capita

4 พลังงาน “ พลังงาน ” หมายถึง ความสามารถในการทำงาน ซึ่งมีอยู่ในตัวของสิ่งที่อาจให้พลังงานได้ ตามความหมายของ พรบ.คณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ จะรวมถึง สิ่งที่อาจให้งานได้ เช่น เชื้อเพลิงชนิดต่างๆ ความร้อน และไฟฟ้า

5 พลังงานแยกเป็น 2 ประเภท คือ
พลังงานสิ้นเปลือง พลังงานหมุนเวียน

6 1. พลังงานสิ้นเปลือง ได้แก่
น้ำมันดิบ (CRUDE) คอนเดนเสท (CONDENSATE) ก๊าซธรรมชาติ (NATURAL GAS) ถ่านหิน (COAL + LIGNITE) หินน้ำมันหรือทรายน้ำมัน (Oil shell or oil sand) Orimulsion นิวเคลียร์ (NUCLEAR)

7 2. พลังงานหมุนเวียน ได้แก่
ไม้ ฟืน ถ่าน (FIREWOOD) แกลบ (PADDY HUSK) กากอ้อย (BAGASSE) ชีวมวล (BIOMASS) น้ำ (HYDRO) ลม (WIND) แสงแดด (SOLAR) คลื่น (WAVE) ความร้อนใต้พิภพ (GEOTHERMAL)

8 น้ำมันดิบ (Crude Oil) หน่วย: บาร์เรล, ลิตร
เป็นสารประกอบไฮโดรคาร์บอนสถานะของเหลวที่ผลิตได้จากหลุมน้ำมัน (Oil Well) ก่อนส่งเข้ากระบวนการกลั่นแยก โดยมีองค์ประกอบที่หลากหลาย ตั้งแต่ไฮโดรคาร์บอนโมเลกุลต่ำจนกระทั่งไฮโดรคาร์บอนโมเลกุลสูงเช่น โอโซเคอไรท์ ยางมะตอย (แอสฟัลท์ หรือ บิทูเมน) และไฮโดรคาร์บอนทุกชนิดที่เกิดขึ้นโดยธรรมชาติไม่ว่าในสภาพของแข็ง ของหนืด หรือของเหลว หน่วย: บาร์เรล, ลิตร

9 แหล่งน้ำมันดิบที่สำคัญ
ผู้ผลิต เบญจมาส Chevron Offshore ยูโนแคล Chevron Thailand E&P สิริกิต์ PTTEP จัสมิน Perl Oil ทานตะวัน บึงหญ้าและบึงม่วง SINO US Petroleum ฝาง กรมการพลังงานทหาร

10 การผลิตน้ำมันดิบ หน่วย:บาร์เรล/วัน 2550 2551 2552 2553 2554 2555*
2550 2551 2552 2553 2554 2555* เบญจมาศ 42,132 44,960 29,067 26,665 27,077 27,763 สิริกิติ์ 20,511 20,942 21,324 21,808 22,974 26,351 ทานตะวัน 7,703 6,505 6,196 3,860 5,428 3,786 ยูโนแคล 39,215 35,559 33,766 36,998 30,643 29,806 จัสมิน 19,267 18,292 13,637 13,868 12,762 10,722 บัวหลวง - 3,324 8,916 8,327 7,641 7,235 สงขลา 287 5,063 7,926 9,787 21,030 ลันตา 5,319 7,019 2,428 7,042 อื่นๆ 5,735 14,066 30,753 26,703 21,251 20,892 รวมในประเทศ 134,563 143,935 154,041 153,174 139,991 154,627 นำเข้า 804,242 811,561 803,362 816,201 794,226 959,722 รวมทั้งหมด 938,805 955,496 957,403 969,375 934,217 1,114,349 *ข้อมูลเดือน ม.ค.-มี.ค.

11 การนำเข้าน้ำมันดิบแยกตามแหล่งผลิต
หน่วย : ล้านลิตร 2551 2552 2553 2554 2555* อัตราการเปลี่ยนแปลง (%) สัดส่วน ตะวันออกกลาง 39,145 36,601 34,553 35,757 10,247 3.5 37.1 75 ตะวันออกไกล 3,344 6,025 4,250 3,684 1,267 -13.3 98.5 9 อื่นๆ 4,736 3,995 8,563 6,648 2,218 -22.4 -19.8 16 รวม 47,225 46,620 47,365 46,090 13,733 -2.7 26.2 100 *ข้อมูลเดือน ม.ค.-มี.ค.

12 คอนเดนเสท (Condensate)
เป็นสารประกอบไฮโดรคาร์บอนที่มีสถานะเป็นของเหลว ซึ่งมีความดันไอสูง ผลิตได้จากหลุมก๊าซ (Gas Well) โดยกลั่นตัวแยกจากก๊าซธรรมชาติที่อุณหภูมิและความดันบรรยากาศซึ่งเมื่อผลิตมาถึงปากบ่อจะสามารถแยกจากไฮโดรคาร์บอนที่มีสถานะเป็นก๊าซบนแท่นผลิตแล้วลำเลียงขนส่งโดยทางเรือหรือทางท่อนำไปกลั่นเป็นน้ำมันสำเร็จรูปต่อไป หน่วย: บาร์เรล, ตัน, ลิตร

13 การผลิตคอนเดนเสท หน่วย:บาร์เรล/วัน 2550 2551 2552 2553 2554 2555* บงกช
2550 2551 2552 2553 2554 2555* บงกช 17,869 18,505 18,300 19,568 20,556 21,028 เอราวัณ 11,291 10,594 12,496 11,180 10,531 9,838 ไพลิน 25,276 23,268 22,106 22,435 18,048 12,105 ฟูนานและจักรวาล 11,746 10,240 6,591 6,733 5,508 6,655 อาทิตย์ - 12,610 17,520 17,508 15,811 9,751 อื่นๆ 12,663 9,676 6,887 11,203 13,682 22,172 รวม 78,845 84,893 83,900 88,627 84,136 81,549 *ข้อมูลเดือน ม.ค.-มี.ค.

14 ก๊าซธรรมชาติ (Natural Gas)
เป็นสารประกอบไฮโดรคาร์บอนที่มีสถานะเป็นก๊าซทุกชนิดไม่ว่าชื้นหรือแห้ง (Wet or Dry) ที่ผลิตได้จากหลุมน้ำมัน (Oil Well) หรือหลุมก๊าซ (Gas Well) รวมถึงก๊าซที่เหลือจากการแยกไฮโดรคาร์บอนในสภาพของเหลว (Natural Gas Liquid) หรือสารพลอยได้ออกจากก๊าซชื้น (Wet Gas) หน่วย: ลูกบาศก์ฟุต, ค่าความร้อน(บีทียู)/ลูกบาศก์ฟุต

15 แหล่งก๊าซธรรมชาติที่สำคัญ
ผู้ผลิต บงกช PTTEP ไพลิน Chevron E&P ฟูนานและจักรวาล เอราวัณ อาทิตย์ ภูฮ่อม Amerada น้ำพอง Exxon Mobil

16 การจัดหาก๊าซธรรมชาติ
หน่วย:ล้านลูกบาศก์ฟุต/วัน 2550 2551 2552 2553 2554 2555* รวมในประเทศ 2,515 2,778 2,990 3,511 3,581 3,776 - บงกช 629 604 540 596 606 700 - เอราวัณ 278 275 244 256 239 270 - ไพลิน 457 431 417 430 411 352 - อาทิตย์ - 418 501 407 266 - เจดีเอ 126 441 649 763 772 - อื่นๆ 1,151 1,064 930 1,079 1,155 1,416 รวมนำเข้า 906 828 803 853 928 914 - นำเข้า (พม่า) 830 770 - นำเข้า LNG 98 144 รวมทั้งหมด 3,421 3,606 3,794 4,364 4,509 4,690 *ข้อมูลเดือน ม.ค.-มี.ค.

17 การใช้ก๊าซธรรมชาติรายสาขา
หน่วย : ล้านลูกบาศก์ฟุต/วัน สาขา 2550 2551 2552 2553 2554 2555* ผลิตไฟฟ้า 2,346 2,423 2,435 2,728 2,476 2,522 โรงแยกก๊าซ 572 583 599 652 867 875 อุตสาหกรรม 347 361 387 478 569 603 รถยนต์ (NGV) 24 77 143 181 231 274 รวม 3,288 3,444 3,564 4,039 4,143 4,274 สัดส่วนการใช้ก๊าซธรรมชาติ หน่วย : % สาขา 2550 2551 2552 2553 2554 2555* ผลิตไฟฟ้า 71 70 68 60 59 โรงแยกก๊าซ 17 16 21 อุตสาหกรรม 11 12 14 รถยนต์ (NGV) 1 2 4 5 6 รวม 100 *ข้อมูลเดือน ม.ค.-มี.ค.

18 ถ่านหินและลิกไนต์ (Coal And Lignite)
เป็นหินตะกอนชนิดหนึ่ง จัดเป็นแร่เชื้อเพลิง (Fuel Minerals) สามารถติดไฟได้ การสะสมตัวของถ่านหินเริ่มจากอินทรียวัตถุ ประกอบด้วย คาร์บอน ออกซิเจน และไฮโดรเจน ธาตุหรือสารอื่นๆ เช่น กำมะถัน เจือปนเล็กน้อย เมื่อเกิดการเน่าเปื่อยทับถมของพืชยืนต้นในบริเวณน้ำนิ่งจะเริ่มกลายเป็นพีท และจากการกดทับจะทำให้เนื้อถ่านหินแน่นแข็ง อุณหภูมิและความดันเพิ่มขึ้น น้ำ ไฮโดรเจน และออกซิเจนเริ่มลดน้อยลงจนหนีหายออกไป ทำให้มีความเป็นถ่านหินสูงขึ้น ตั้งแต่ลิกไนต์ ซับบิทูมินัน บิทูมินัส และแอนทราไซต์ โดยคุณภาพของถ่านหินจะขึ้นอยู่กับเปอร์เซ็นต์ของคาร์บอน หน่วย : ตัน

19 ประเภทของถ่านหิน

20 ประเภทและองค์ประกอบของถ่านหิน
พีท (Peat) เป็นขั้นแรกในกระบวนการเกิดถ่านหิน ประกอบด้วยซากพืชซึ่งบางส่วนได้สลายตัวไปแล้วสามารถใช้เป็นเชื้อเพลิงได้ ลิกไนต์ (Lignite) มีซากพืชหลงเหลืออยู่เล็กน้อย มีความชื้นมาก เป็นถ่านหินที่ใช้เป็นเชื้อเพลิง ซับบิทูมินัส (Sub-Bituminous) มีสีดำ เป็นเชื้อเพลิงที่มีคุณภาพเหมาะสมในการผลิตกระแสไฟฟ้า บิทูมินัส (Bituminous) เป็นถ่านหินเนื้อแน่น แข็ง ประกอบด้วยชั้นถ่านหินสีดำมันวาว ใช้เป็นเชื้อเพลิงเพื่อการถลุงโลหะ แอนทราไซต์ (Anthracite) เป็นถ่านหินที่มีลักษณะดำเป็นเงา มันวาวมาก มีรอยแตกเว้าแบบก้นหอย ติดไฟยาก ร้อยละ (%) C H O N S ความชื้น Peat 50-60 5-6 35-40 2 1 75-80 Lignite 60-75 20-30 50-70 Sub-Bituminous 15-20 25-30 Bituminous 80-90 4-6 10-15 5 5-10 Anthracite 90-98 2-3 2-5

21 แหล่งผลิตลิกไนต์ที่สำคัญ
แม่เมาะ จังหวัด ลำปาง กระบี่ จังหวัด กระบี่ ลี้ จังหวัด ลำพูน แม่ละเมา จังหวัด ตาก แม่ตัน จังหวัด ลำปาง แม่แจ่ม จังหวัด เชียงใหม่ หนองหญ้าปล้อง จังหวัด เพชรบุรี

22 การผลิตลิกไนต์ หน่วย:พันตัน 2550 2551 2552 2553 2554 2555*
แม่เมาะ (กฟผ.) 16,118 16,421 15,632 15,987 17,558 4,147 บ้านปู 735 351 - อื่นๆ 1,386 1,514 1,934 2,244 3,769 214 รวมในประเทศ 18,239 18,286 17,566 18,231 21,327 4,361 นำเข้าถ่านหิน 14,414 15,979 16,389 16,904 16,331 4,162 รวมทั้งประเทศ 32,653 34,265 33,955 35,135 37,658 8,523 *ข้อมูลเดือน ม.ค.-มี.ค.

23 การใช้ถ่านหิน/ลิกไนต์
หน่วย : Ktoe 2550 2551 2552 2553 2554 2555* ผลิตไฟฟ้า 7,504.5 7,767.9 7,618.8 7,633.7 8,262.2 2,116.6 อุตสาหกรรม 6,438.9 7,283.4 7,503.4 7,844.5 7,044.5 1,678.9 รวม 13,943.4 15,051.3 15,122.2 15,478.1 15,306.7 3,795.6 สัดส่วนการใช้ถ่านหิน/ลิกไนต์ หน่วย: % 2550 2551 2552 2553 2554 2555* ผลิตไฟฟ้า 53.8 51.6 50.4 49.3 54.0 55.8 อุตสาหกรรม 46.2 48.4 49.6 50.7 46.0 44.2 รวม 100 *ข้อมูลเดือน ม.ค.-มี.ค.

24 การจัดประเภทพลังงาน ในรูปแบบอื่น ที่ควรทราบ

25 1. Primary Energy “ Primary Energy ” หมายถึง พลังงานที่กำเนิดจากธรรมชาติ หรือพลังงานที่ไม่ได้เปลี่ยนแปลงรูปแบบภายในประเทศ ได้แก่ น้ำ (HYDRO) น้ำมันดิบ (CRUDE) ลม (WIND) ถ่านหิน (COAL/LIGNITE) แสงแดด (SOLAR) ก๊าซธรรมชาติ (NG) ไฟฟ้าพลังน้ำ ดีเซลนำเข้า อื่นๆ

26 2. Secondary Energy “ Secondary Energy ” หมายถึง พลังงานที่มีการเปลี่ยนแปลงรูปแบบภายในประเทศ ได้แก่ น้ำมันสำเร็จรูป (Petroleum Products) ไฟฟ้าที่เกิดจากการผลิตจากเชื้อเพลิงอื่น

27 “ Commercial Energy” หมายถึง พลังงานที่ซื้อขายกันในวงกว้าง ได้แก่
ถ่านหิน (COAL/LIGNITE) ก๊าซธรรมชาติ (NG) น้ำมันดิบ (CRUDE) คอนเดนเสท (CONDENSATE) ไฟฟ้า (ELECTRICITY) หินน้ำมัน (Oil Shell) ทรายน้ำมัน (Oil Sand) ออริมันชั่น (ORIMULSION) นิวเคลียร์ (NUCLEAR) อื่นๆ

28 4. Non Commercial Energy Fuel Wood Waste (Garbage) Paddy Husk Bagasse

29 5. Final Energy Consumption

30 Energy Reserve

31 ปริมาณสำรองปิโตรเลียม (Petroleum Reserves)
ปริมาณสำรองปิโตรเลียมที่พิสูจน์แล้ว (Proved Reserves; P1) เป็นปริมาณของปิโตรเลียมที่สามารถผลิตในเชิงพาณิชย์ ณ วันที่กำหนดใดๆ โดยมีความแน่นอนสูง ภายใต้เงื่อนไขสภาวะเศรษฐกิจ และวิธีการผลิตในปัจจุบัน รวมถึงกฎระเบียบของรัฐ ปริมาณสำรองที่คาดว่าจะพบ (Probable Reserves; P2) คือปริมาณสำรองที่ยังไม่ได้พิสูจน์ แต่มีความเป็นไปได้ว่าจะสามารถผลิตได้ จากการวิเคราะห์ข้อมูลธรณีวิทยา และวิศวกรรม ซึ่งถ้าใช้วิธีการคำนวณแบบความน่าจะเป็น ( Probabilistic Method) จะต้องมีความน่าจะเป็นไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ว่า จะได้ผลผลิตรวมมากกว่าหรือเท่ากับปริมาณสำรองพิสูจน์แล้วรวมกับปริมาณสำรองที่คาดว่าจะพบ (P50>=P1+P2) ปริมาณสำรองที่น่าจะพบ (Possible Reserve; P3) คือปริมาณสำรองที่ยังไม่ได้พิสูจน์ แต่มีความเป็นไปได้ว่าจะสามารถผลิตได้ จากการวิเคราะห์ข้อมูลธรณีวิทยา และวิศวกรรม ซึ่งถ้าใช้วิธีการคำนวณแบบความน่าจะเป็น ( Probabilistic Method) จะต้องมีความน่าจะเป็นไม่น้อยกว่าร้อยละ 10 ว่า จะได้ผลผลิตรวมมากกว่าหรือเท่ากับปริมาณสำรองพิสูจน์แล้วรวมกับปริมาณสำรองที่คาดว่าจะพบและรวมกับปริมาณสำรองที่น่าจะพบ (P10>=P1+P2+P3)

32 Distribution of proved oil reserves

33 Oil reserves-to-production (R/P) ratios

34 Distribution of proved natural gas reserves

35 Natural gas reserves-to-production (R/P) ratios

36 Proved coal reserves

37 Coal reserves-to-production (R/P) ratios

38 Fossil fuel reserves-to-production (R/P) ratios

39 แหล่งพลังงานของประเทศไทย ณ 31 ธันวาคม 2550
แหล่งบนบก น้ำมันดิบ 63 ล้านบาร์เรล คอนเดนเสท 3 ล้านบาร์เรล ก๊าซธรรมชาติ 770 พันล้าน ลบ.ฟ. แหล่งอ่าวไทย น้ำมันดิบ 314 ล้านบาร์เรล คอนเดนเสท 585 ล้านบาร์เรล ก๊าซธรรมชาติ 22,105 พันล้าน ลบ.ฟ.

40 ปริมาณสำรองปิโตรเลียม ณ 31 ธันวาคม 2553
ปริมาณสำรอง* การผลิต 2550 ใช้ได้นาน (ปี) P1 P1+P2 P1+P2+P3 น้ำมันดิบ (ล้านบาร์เรล) 197 659 906 55 4 12 16 คอนเดนเสท 245 581 710 32 8 18 22 ก๊าซธรรมชาติ (พันล้านลูกบาศก์ฟุต) 10,589 22,068 28,455 1,044 10 21 27 ลิกไนต์ (ล้านตัน) 1,181 2,007 65 110 SOURCES: * DEPARTMENT OF MINERAL FUELS

41 Energy Unit and Conversion

42 Energy Unit and Calculation
BBL/D , KBD , KBPCD BBL/D CRUDE OIL EQUIVALENT Ton Oil Equivalent (TOE , KTOE) Joule (MJ, PJ, TJ) CAL , KCAL BTU , M.BTU Remark : 1 BBL = LITRES 1 LITRE = KG. (LPG)

43 Measured Units No Production Unit 1 Crude Barrel, BBLD, BLD,KBD 2
Pet. Products LITRE , BBL, BBLD, BLD,KBD 3 LPG KG , TON , LITRE , BBL 4 Lignite, Coal TON 5 Natural Gas MMSCF , MMSCFD

44 ENERGY CONTENT OF FUEL (NET CALORIFIC VALUE)
CONVERSION FACTORS ENERGY CONTENT OF FUEL (NET CALORIFIC VALUE) TYPES UNIT KCAL / UNIT TOE / 106 UNIT MJ / UNIT 103 BTU / UNIT MODERN ENERGY 1. CRUDE OIL litre 8,680 860.00 36.33 34.44 2. CONDENSATE 7,900 782.72 33.07 31.35 3. NATURAL GAS 3.1 WET scf. 248 24.57 1.04 0.98 3.2 DRY 244 24.18 1.02 0.97 4. PETROLEUM PRODUCTS 4.1 LPG 6,360 630.14 26.62 25.24 4.2 GASOLINE 7,520 745.07 31.48 29.84 4.3 AVIATION FUEL 8,250 817.40 34.53 32.74 4.4 KEROSENE

45 CONVERSION FACTORS (cont.)
ENERGY CONTENT OF FUEL (NET CALORIFIC VALUE) TYPES UNIT KCAL / UNIT TOE / 106 UNIT MJ / UNIT 103 BTU / UNIT 4.5 DIESEL litre 8,700 861.98 36.42 34.52 4.6 FUEL OIL 9,500 941.24 39.77 37.70 4.7 BITUMEN 9,840 974.93 41.19 39.05 4.8 PETROLEUM COKE kg. 8,400 832.26 35.16 33.33 5. ELECTRICITY kWh 860 85.21 3.60 3.41 6. HYDRO-ELECTRIC 2,236 221.54 9.36 8.87 7. GEOTHERMAL-ELECTRIC 8. COAL (IMPORT) 6,300 624.19 26.37 25.00 9. COKE 6,600 653.92 27.63 26.19 10. ANTHRACITE 7,500 743.09 31.40 29.76 11. LIGNITE

46 CONVERSION FACTORS (cont.)
ENERGY CONTENT OF FUEL (NET CALORIFIC VALUE) TYPES UNIT KCAL / UNIT TOE / 106 UNIT MJ / UNIT 103 BTU / UNIT 11.1 LI kg. 4,400 435.94 18.42 17.46 11.2 KRABI 2,600 257.60 10.88 10.32 11.3 MAE MOH 2,500 247.70 10.47 9.92 11.4 CHAE KHON 3,610 357.67 15.11 14.32 RENEWABLE ENERGY 12. FUEL WOOD 3,820 378.48 15.99 15.16 13. CHARCOAL 6,900 683.64 28.88 27.38 14.PADDY HUSK 3,440 340.83 14.40 13.65 15. BAGASSE 1,800 178.34 7.53 7.14 16. GABBAGE 1,160 114.93 4.86 4.60 17. SAW DUST 18. AGRICULTURAL WASTE 3,030 300.21 12.68 12.02

47 CONVERSION FACTORS (cont.)
GENERAL 1 kcal = 4186 joule 3968 btu toe 10.093 gcal 42.244 gj 40.047x106 barrel 158.99 litres cu.m. of solid wood 600 kg. cu.m. of charcoal 250 5 kg. of wood kg. of charcoal product litre of LPG 0.54

48 การแปลงหน่วย 1. ปี 2003 ประเทศไทยผลิต NG. ได้วันละ 2,106 ล้านลูกบาสก์ฟุต จะมีค่าความร้อนเท่าใดในปีนี้ เมื่อ ก. หน่วยเป็น BTU ข. หน่วยเป็น KTOE ค. หน่วยเป็น BBL/D เทียบเท่าน้ำมันดิบ

49 ก. หน่วยเป็น BTU ผลิต NG. ปี 2003 ทั้งปี = 2,106 x 365 MMSCF
NG. 1 SCF = 980 BTU NG. 2,106 x 365 MMSCF = 980 x 2,106 x 365 x 106 BTU = 753,316,200 M.BTU

50 ข. หน่วยเป็น KTOE ผลิต NG. ปี 2003 ทั้งปี = 2,106 x 365 MMSCF
NG. 1 MMSCF = TOE NG. 2,106 x 365 MMSCF = x 2,106 x 365 TOE = 18,886, TOE 1 KTOE = 1, TOE = 18, KTOE

51 ค. หน่วยเป็น BBL/D เทียบเท่าน้ำมันดิบ
ผลิต NG. ปี 2003 ทั้งปี = 2,106 x MMSCF NG. 1 MMSCF = TOE NG. 2,106 x 365 MMSCF = x 2,106 x 365 TOE = 18,886, TOE น้ำมันดิบ 860 TOE = 1,000,000 ลิตร 18,886, TOE = (1,000,000 x 18,886,713.3) / 860 ลิตร = 21, x ลิตร 1 BBL = ลิตร 1 ปี = 365 วัน (สำหรับปีที่ไม่ใช่อธิกสุรทิน) เพราะฉะนั้น = (21, x 106) / ( x 365) = 378,438 BBL/D

52 ตัวอย่างหน่วยวัดเชื้อเพลิง
ปริมาณ หน่วย ปริมาณผลิตทั้งปี toe /106 ktoe ล้านลิตร (เทียบ เท่าน้ำมัน ดิบ) บาเรลต่อวัน (เทียบ NG 2,106.00 mmscf/d 768,690.00 mmscf 24.59 scf 8,421.00 9,791.86 168,734 CONDENSATE 62,663.00 barrel/d 3,636.42 M.litre 782.72 litre 1,307.25 1,520.06 26,194 CRUDE OIL 96,322.00 5,589.70 860.00 1,244.68 1,447.30 24,940 LIGNITE 18,886,911.00 ton 18,886.91 M.kg 247.70 kg 3,848.74 4,475.28 77,118 HYDRO ELEC. 7,207.76 GWh 221.54 kWh 802.31 932.92 16,076 IMPORTED ELEC. 2,473.41 85.21 54.92 63.86 1,100 GASOLINE 8,639.70 745.07 3,429.71 3,988.03 68,722 DIESEL 19,176.80 861.98 6,269.96 7,290.65 125,633 FUEL OIL 6,080.90 941.24 4,461.01 5,187.22 89,386 LPG 3,337.31 6,180.20 630.14 1,451.84 1,688.19 29,091

53 การแปลงสภาพ พลังงาน

54 Transformation Sector
Waste (Garbage) Refinery Gas Separation Plant : GSP Power Plant

55 โรงกลั่นน้ำมัน

56 กระบวนการกลั่นน้ำมัน

57 โรงกลั่นน้ำมันในประเทศไทย
กำลังการกลั่น ปี 2555 ไทยออยล์ (TOP) 275 ไออาร์พีซี (IRPC) 215 เอสโซ่ (ESSO) 170 อะโรเมติกส์และการกลั่น (PTTAR) 170 สตาร์ปิโตรเลียมรีไฟน์นิ่ง (SPRC) 150 บางจาก (BCP) 120 ระยองเพียวริไฟเออร์ (RPC) 17 1,117 (พันบาร์เรล/วัน)

58 การใช้กำลังกลั่นของประเทศ ปี 2555
โรงกลั่น ความสามารถในการกลั่น (บาร์เรล/วัน) น้ำมันดิบ ใช้ในโรงกลั่น* (บาร์เรล/วัน) สัดส่วนการใช้กำลังการกลั่น (%) ไทยออยล์ 275,000 279,893 102 บางจาก 120,000 102,523 85 เอสโซ่ 170,000 137,815 81 ไออาร์พีซี 215,000 185,768 86 อะโรเมติกส์และการกลั่น 153,205 90 สตาร์ปิโตรเลียมฯ 150,000 164,021 109 ระยองเพอริไฟเออร์ 17,000 4,638 27 รวม 1,117,000 1,027,862 92 *ข้อมูลเดือน ม.ค.-มี.ค.

59 การเพิ่มค่า OCTANE สารตะกั่ว MTBE (NGL) Ethernol (Gasohol)

60 น้ำมันสำเร็จรูป

61 สัดส่วนการใช้น้ำมัน ม.ค.-ก.พ. 2555
LPG Gasoline Kerosene Fuel Oil Jet Diesel Petroleum Product GASOLINE KEROSEN DIESEL J.P. FUEL OIL LPG * Unite : ML/Day 20.7 0.04 56.5 15.8 5.9 23.8 * Excluding LPG used as Feedstock in Petrochemical Industries

62 การใช้น้ำมันเบนซิน ม.ค.-ก.พ. 2555
Premium Regular Gasoline Regular Premium Unite : ML/Day 14.75 5.90

63 การใช้เบนซินพิเศษ ม.ค.-ก.พ. 2555
Gasohol 95 (E85) Gasohol 95 (E20) U 95 Gasohol 95 (E10) Premium U-95 Gasohol 95 (E10) 95 (E20) 95 (E85) Unite : ML/Day 0.14 5.00 0.71 0.05

64 การใช้เบนซินธรรมดา ม.ค.-ก.พ. 2555
Gasohol 91 (E10) U 91 Regular U-91 Gasohol 91 (E10) Unite : ML/Day 9.42 5.33

65 โรงแยกก๊าซธรรมชาติ

66 กำลังการผลิตของโรงแยกก๊าซธรรมชาติ
GSP6 2011 (2554) 800 TOTAL 2,630

67 ผลิตภัณฑ์จากก๊าซธรรมชาติ
ก๊าซมีเทน (C1) : ใช้เป็นเชื้อเพลิงสำหรับผลิตกระแสไฟฟ้า และนำไปอัดใส่ถังด้วยความดันสูง เรียกว่า ก๊าซธรรมชาติอัด สามารถใช้เป็นเชื้อเพลิงในรถยนต์ ก๊าซอีเทน (C2) และก๊าซโพรเพน (C3) : ใช้เป็นวัตถุดิบในอุตสาหกรรมปิโตรเคมีขั้นต้น สามารถนำไปใช้ผลิตเม็ดพลาสติก เส้นใยพลาสติกชนิดต่างๆ ก๊าซโพรเพน (C3) และก๊าซบิวเทน (C4) : นำเอาก๊าซโพรเพนกับก๊าซบิวเทนมาผสมกัน อัดใส่ถังเป็นก๊าซปิโตรเลียมเหลว (Liquefied Petroleum Gas - LPG) หรือที่เรียกว่า ก๊าซหุงต้ม ไฮโดรคาร์บอนเหลว (Heavier Hydrocarbon) : อยู่ในสถานะของเหลวที่อุณหภูมิและความดันบรรยากาศ เมื่อผลิตขึ้นมาถึงปากบ่อบนแท่นผลิตสามารถแยกได้ เรียกว่า คอนเดนเสท (Condensate) สามารถลำเลียงขนส่งโดยทางเรือหรือทางท่อ นำไปกลั่นเป็นน้ำมันสำเร็จรูป ก๊าซโซลีนธรรมชาติ (Natural Gasoline) : แม้ว่าจะมีการแยกคอนเดนเสทออกเมื่อทำการผลิตขึ้นมาถึงปากบ่อบนแท่นผลิตแล้ว แต่ก็ยังมีไฮโดรคาร์บอนเหลวบางส่วนหลุดไปกับไฮโดรคาร์บอนที่มีสถานะเป็นก๊าซ เมื่อผ่านกระบวนการแยกจากโรงแยกก๊าซธรรมชาติแล้ว ไฮโดรคาร์บอนเหลวเหล่านี้ก็จะถูกแยกออก เรียกว่า ก๊าซโซลีนธรรมชาติ หรือ NGL (Natural Gasoline) และส่งเข้าไปยังโรงกลั่นน้ำมัน เป็นส่วนผสมของผลิตภัณฑ์น้ำมันสำเร็จรูป ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ : เมื่อผ่านกระบวนการแยกแล้ว จะถูกนำไปทำให้อยู่ในสภาพของแข็ง เรียกว่า น้ำแข็งแห้ง

68 กระบวนการแยกก๊าซธรรมชาติ

69 รูปแบบอื่นๆของ ก๊าซธรรมชาติ
CNG : Compressed Natural Gas NGV : Natural Gas Vehicle LNG : Liquified Natural Gas NGL : Natural Gasoline

70 ไฟฟ้า

71 โรงไฟฟ้า

72 โรงไฟฟ้าแยกได้เป็นประเภทต่างๆ คือ
โรงไฟฟ้าพลังน้ำ (Hydroelectric Power Plant) โรงไฟฟ้าพลังความร้อน (Thermal Power Plant) ไฟฟ้าจาก พลังลม แสงแดด ฯลฯ

73 โรงไฟฟ้าพลังน้ำ (Hydroelectric Power Plant)
โรงไฟฟ้าแบบมีน้ำไหลผ่านตลอดปี (Run-of-river Hydro Plant) โรงไฟฟ้าแบบมีอ่างเก็บน้ำขนาดเล็ก (Regulating Pond Hydro Plant) โรงไฟฟ้าแบบมีอ่างเก็บน้ำขนาดใหญ่ (Reservoir Hydro Plant) โรงไฟฟ้าแบบสูบน้ำกลับ (Pumped Storage Hydro Plant )

74 โรงไฟฟ้าพลังความร้อน (Thermal Power Plant)
โรงไฟฟ้าพลังไอน้ำ (Steam Power Plant) โรงไฟฟ้ากังหันก๊าซ (Gas Turbine Power Plant) โรงไฟฟ้าพลังความร้อนร่วม (Combined Cycle Power Plant) โรงไฟฟ้าดีเซล (Diesel Power Plant) โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ (Nuclear Power Plant)

75 โรงไฟฟ้าพลังงานทดแทน (Alternative Energy)
พลังงานจากแสงอาทิตย์ พลังงานลม พลังงานความร้อนใต้พิภพ พลังงานจากชีวมวล

76 พลังไฟฟ้า (POWER) พลังงานไฟฟ้า (ENERGY)

77 หน่วยของ POWER หน่วยของ ENERGY
ได้แก่ WATT KW (1,000 W) MW (1,000 KW) GW (1,000 MW) หน่วยของ ENERGY ได้แก่ KWh = ไฟฟ้า 1 หน่วย MWh (1,000 KWh) GWh (1,000 MWh)

78 กำลังการผลิตติดตั้งกระแสไฟฟ้า ปี 2555
พลังน้ำ พลังความร้อน พลังความร้อนร่วม กังหันแก๊ส ดีเซล พลังงานทดแทน IPP SPP ซื้อไฟต่างประเทศ กำลังการผลิตติดตั้งรวม 31,439 (MW)

79 คำนิยาม EGAT: Electricity Generating Authority of Thailand กฟผ. (การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย) MEA: Metropolitan Electricity Authority กฟน. (การไฟฟ้านครหลวง) PEA: Provincial Electricity Authority กฟภ. (การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค) IPP: Independent Power Producer ผู้ผลิตไฟฟ้าอิสระ / ผู้ผลิตไฟฟ้ารายใหญ่ SPP: Small Power Producers ผู้ผลิตไฟฟ้ารายเล็ก VSPP: Very Small Power Producer ผู้ผลิตไฟฟ้าขนาดเล็กมาก TOD, TOU

80 โครงสร้างกิจการไฟฟ้าในไทย
ระบบผลิต (% ส่วนแบ่งตลาด) SPPs (10%) กฟผ. (45%) IPPs (42%) ซื้อต่างประเทศ(3%) VSPPs (<< 1%) รัฐบาล กำหนดนโยบาย ระบบส่ง กฟผ. (100%) SO การควบคุมระบบ ระบบจำหน่าย กฟภ. (66%) กฟน. (32%) ลูกค้าตรง (2%) กกพ. กำกับดูแลตามนโยบาย การจำหน่าย ผู้ใช้ไฟฟ้า ผู้ใช้ไฟฟ้า การรับซื้อไฟฟ้าจากต่างประเทศ จะมีการกำกับดูแลเฉพาะการก่อสร้างสายส่งเพื่อรับซื้อไฟฟ้าของ กฟผ. ในประเทศไทย และผลกระทบด้านราคาไฟฟ้า หมายเหตุ : ตัวเลขในวงเล็บเป็นสัดส่วนในการผลิตพลังงานไฟฟ้าในปี 2550

81 ความสัมพันธ์ระหว่าง เศรษฐกิจและพลังงาน

82 ดัชนีชี้วัดพลังงาน Energy Consumption per capita Energy Elasticity
Macro Elasticity (GDP Elasticity หรือ Income Elasticity) Energy Intensity Energy Consumption per capita

83 Energy Elasticity ความยืดหยุ่นของการใช้พลังงานต่อ GDP (Energy Elasticity : EE) คือ อัตราการเปลี่ยนแปลงการใช้พลังงานต่ออัตราการเปลี่ยนแปลง GDP (%Energy / %GDP) เป็นตัวชี้วัดว่าประเทศมีการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพหรือไม่ โดยปกติถ้าค่าความยืดหยุ่นใกล้เคียงหรือต่ำกว่าหนึ่งถือว่าการใช้พลังงานมีประสิทธิภาพ

84

85

86 Calculated by Regression Analysis
Energy Elasticity Calculated by Regression Analysis * Remark: Final Energy Demand Including Renewable Energy *

87

88

89

90 Calculated by Regression Analysis
Energy Elasticity Calculated by Regression Analysis * Remark: Final Energy Demand Excluding Renewable Energy *

91

92

93

94 Energy Intensity * Remark: Final Energy Demand Including Renewable Energy *

95 Transportation Total Industry Others

96

97

98

99

100 Source: Energy Information Administration

101 Source: Energy Information Administration

102 Source: Energy Information Administration

103 Source: Energy Information Administration

104 Source: Energy Information Administration

105 ขอบคุณ ครับ


ดาวน์โหลด ppt ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ พลังงาน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google