งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

แนวทางการจัดการการจราจรและขนส่งเพื่อการประหยัดพลังงานและลดมลพิษ: กรณีศึกษาเทศบาลเมืองชลบุรี โดย นางสาวฉันทนา สมยา ปริญญา วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (การจัดการสิ่งแวดล้อม)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "แนวทางการจัดการการจราจรและขนส่งเพื่อการประหยัดพลังงานและลดมลพิษ: กรณีศึกษาเทศบาลเมืองชลบุรี โดย นางสาวฉันทนา สมยา ปริญญา วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (การจัดการสิ่งแวดล้อม)"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 แนวทางการจัดการการจราจรและขนส่งเพื่อการประหยัดพลังงานและลดมลพิษ: กรณีศึกษาเทศบาลเมืองชลบุรี
โดย นางสาวฉันทนา สมยา ปริญญา วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (การจัดการสิ่งแวดล้อม) สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (วิศวกรรมขนส่ง) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี

2 วัตถุประสงค์ของงานวิจัย
เพื่อศึกษาสถานการณ์ทั่วไปและสภาพปัญหาของการจราจรและขนส่งโดยเฉพาะอย่างยิ่งด้านการใช้พลังงานและมลพิษในเขตเทศบาลเมืองชลบุรี เพื่อวิเคราะห์และประเมินการจัดการจราจรและขนส่งของเทศบาลเมืองชลบุรี เพื่อเสนอแนะแนวทางการวางแผนและจัดการการจราจรและขนส่งเพื่อการประหยัดพลังงานและลดมลพิษสำหรับเทศบาลเมืองชลบุรี

3 กรอบแนวคิดในการวิจัย
การทบทวนเอกสาร การสำรวจ / การสังเกตการณ์ การสัมภาษณ์ ข้อมูลทั่วไปด้านการจราจรและขนส่งของเทศบาลเมืองชลบุรี การทบทวนเอกสาร การสำรวจ / การสังเกตการณ์ ตัวชี้วัดการจราจรและขนส่งเพื่อการประหยัดพลังงานและลดมลพิษ ปัญหาการจราจรและขนส่ง กับผลกระทบด้านการ ใช้พลังงานและมลพิษ การจัดการด้านการจราจรและขนส่งของเทศบาลเมืองชลบุรี SWOT Analysis หลักการจัดการจราจรและขนส่ง เพื่อการอนุรักษ์พลังงาน แนวทางการจัดการจราจรและขนส่งเพื่อการประหยัดพลังงานและลดมลพิษ

4 วิธีการดำเนินงานวิจัย
สภาพการจราจรและขนส่งภายในเขตเทศบาล ความต้องการใช้พลังงานในภาคการจราจรและขนส่ง มลพิษที่เกิดจากการจราจรและขนส่ง ปัญหาที่เกิดขึ้นเมื่อใช้ตัวชี้วัดด้านการจราจรและขนส่งเพื่อการประหยัดพลังงานและลดมลพิษ การใช้พลังงาน ด้านสิ่งแวดล้อม ด้านเศรษฐกิจ ด้านมนุษย์และสังคม การบริหารจัดการ การบริหารจัดการการจราจรและขนส่ง

5 วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล
การสำรวจ/การสังเกตการณ์ โครงข่ายถนน ทางเดินเท้า / ทางจักรยาน ระบบการจัดการการจราจร ระบบขนส่งสาธารณะ การทบทวนเอกสาร ข้อมูลทั่วไป การจราจร/ขนส่ง การใช้พลังงาน เศรษฐกิจ/สังคม ผังเมือง สิ่งแวดล้อม หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผน/โครงการ ตัวชี้วัดการจราจรและขนส่ง แบบยั่งยืน การสัมภาษณ์ ปัจจัยต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการจัดการการจราจรและขนส่ง ปัญหาและอุปสรรคในการจัดการการจราจรและขนส่ง

6 เขตเทศบาลเมืองชลบุรี

7 โครงข่ายการจราจรและขนส่งจังหวัดชลบุรี

8 การวิเคราะห์โดยใช้เทคนิค SWOT ANALYSIS
ผลการศึกษาวิจัย สภาพทั่วไปด้านการจราจรและขนส่ง ยานพาหนะเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง การนิยมเดินทางโดยพาหนะส่วนบุคคล การใช้พลังงานในภาคคมนาคม มลพิษทางจากการจราจรและขนส่ง ปัญหาจากการจราจรและขนส่ง การสิ้นเปลืองพลังงาน การจราจรติดขัด ความปลอดภัยในการสัญจร การขาดประสิทธิภาพของระบบขนส่ง สาธารณะ ปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมจากการจราจรและขนส่ง ตัวชี้วัดด้านการจราจรและขนส่งที่ประหยัดพลังงานและลดมลพิษ พลังงาน สิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจ มนุษย์/สังคม การบริหารจัดการ SWOT ANALYSIS ปัจจัยภายใน ปัจจัยภายนอก การวิเคราะห์โดยใช้เทคนิค SWOT ANALYSIS 1. ปัจจัยภายใน 2. ปัจจัยภายนอก - บุคลากร เศรษฐกิจและสังคม - งบประมาณ สิ่งแวดล้อม - วัสดุอุปกรณ์ และนิเวศวิทยา - โครงสร้างและการบริหาร การเมือง/กฎหมาย/ จัดการของหน่วยงาน นโยบาย - นโยบาย/แผนงาน/โครงการ - คู่คิด/คู่แข่ง - ผลการดำเนินงาน

9 จำนวนรถยนต์ที่จดทะเบียนในจังหวัดชลบุรีตั้งแต่ปี พ.ศ. 2542 - พ.ศ. 2545
คัน จำนวนรถยนต์ที่จดทะเบียนในจังหวัดชลบุรีตั้งแต่ปี พ.ศ พ.ศ. 2545 กรมการขนส่งทางบก

10 (คน-เที่ยวต่อวัน) วัตถุประสงค์การเดินทางโดยจำแนกตามประเภทของยานพาหนะ (คน-เที่ยวต่อวัน) พ.ศ. 2545 สำนักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร

11 สภาพการจราจรในอนาคต สภาพการจราจร พ.ศ.2555 โดยรวมบนโครงข่ายถนนโดยพิจารณาดัชนีทางด้านวิศวกรรมจราจร อัตราส่วนระหว่างปริมาณจราจรต่อความจุ เพิ่มขึ้น ร้อยละ 27 เวลาที่ใช้ในการเดินทาง เพิ่มขึ้นร้อยละ 43 ความเร็วในการเดินทาง ลดลงร้อยละ 11 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี

12 จำนวนยานพาหนะจดทะเบียนพ.ศ.2545 ระยะทางใช้งานเฉลี่ยต่อปี (กิโลเมตร/ปี)
จำนวนยานพาหนะที่จดทะเบียน ปีพ.ศ.2545 ระยะทางที่ใช้งานเฉลี่ยต่อปี (กิโลเมตร/ปี) และอัตราสิ้นเปลืองน้ำมันเชื้อเพลิงในพื้นที่ต่างจังหวัด ชนิดของยานพาหนะ จำนวนยานพาหนะจดทะเบียนพ.ศ.2545 ระยะทางใช้งานเฉลี่ยต่อปี (กิโลเมตร/ปี) อัตราสิ้นเปลืองน้ำมันเชื้อเพลิง (กิโลเมตร / ลิตร) เบนซินซุปเปอร์ ไร้สาร เบนซิน ดีเซล รถยนต์นั่งส่วนบุคคล 102,417 19,838 11.93 11.49 - ค่าเฉลี่ย = 11.71 รถยนต์บรรทุกส่วนบุคคล 155,041 62,067 12.74 รถจักรยานยนต์ 498,080 10,339 22.92 19.31 ค่าเฉลี่ย = 21.12 รถโดยสารประจำทาง 1,926 71,790 9.69 รถโดยสารไม่ประจำทาง 386 78,988 10.43 กรมการขนส่งทางบก และ สำนักงานคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ

13 การสิ้นเปลืองน้ำมันเชื้อเพลิงของยานพาหนะ (ลิตร/ปี) ชนิดของยานพาหนะ
รถยนต์นั่งส่วนบุคคล (102,417 x 19,838) / 11.71 = 173,505,418 รถยนต์บรรทุกส่วนบุคคล (155,041 x 62,067) / 12.74 = 755,332,005 รถจักรยานยนต์ ( 498,080 x 10,339) / 21.12 = 243,828,083 รถโดยสารประจำทาง ( 1,926 x 71,790) / 9.69 = 14,269,096 รถโดยสารไม่ประจำทาง ( 386 x 78,988) / 10.43 = 2,923,238 รวม 1,189,857,840

14 ปริมาณมลพิษจากการจราจรและขนส่ง
ประเภทของยานพาหนะ จำนวนยานพาหนะ ปริมาณ การปล่อย CO (กรัม / กม.) การปล่อย HC การปล่อย Nox รถยนต์ส่วนบุคคล 257,458 257,458 x 18 = 4,634,244 257,458 x 2.5 = 643,645 257,458 x1.0 = 257,458 รถจักรยานยนต์ 498,080 498,080 x 15 = 7,471,200 498,080 x 3.4 = 1,693,472 498,080 x 0.4 = 199,232 รถโดยสาร 2,312 2,312 x 7.5 = 17,340 2,312 x 1.6 = 3,699 2,312 x 11.4 = 26,357

15

16 แนวทางในการจัดการจราจรและขนส่งที่ประหยัดพลังงานและลดมลพิษสำหรับเทศบาลเมืองชลบุรี
1. ส่งเสริมการเดินทางแบบไร้เครื่องยนต์ ปรับปรุงทางเท้า สร้างทางจักรยาน ส่งเสริมการอำนวยความสะดวกแก่คนเดินเท้า เพิ่มความปลอดภัย

17 3. จัดการความต้องการการใช้รถยนต์ส่วนตัว
2. พัฒนาระบบการจราจรและขนส่งให้มีประสิทธิภาพโดยเน้นที่การพัฒนาระบบขนส่งสาธารณะ ที่ตั้งสถานีขนส่งที่เหมาะสมเพื่อเป็นศูนย์รวมของระบบการจราจรและขนส่ง เพิ่มทางเลือกในการใช้ระบบขนส่งสาธารณะ พัฒนาประสิทธิภาพของระบบขนส่งสาธารณะ การประสานระบบข้อมูลข่าวสาร 3. จัดการความต้องการการใช้รถยนต์ส่วนตัว จัดให้มีกิจกรรมเพื่อการรณรงค์และประชาสัมพันธ์ จำกัดพื้นที่หรือเวลาในการเดินรถ

18 4. ใช้หลักธรรมาภิบาลในการจัดการการจราจรและขนส่ง
การมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดการจราจรและขนส่ง ส่งเสริมนโยบายด้านการจราจรและขนส่งที่ประหยัดพลังงานและลดมลพิษ พัฒนาศักยภาพของบุคลากรด้านการจราจรและขนส่ง 5. การผลักดันกฎหมาย/ระเบียบที่เอื้ออำนวยต่อการพัฒนาระบบจราจรและขนส่งที่ประหยัดพลังงานและลดมลพิษ


ดาวน์โหลด ppt แนวทางการจัดการการจราจรและขนส่งเพื่อการประหยัดพลังงานและลดมลพิษ: กรณีศึกษาเทศบาลเมืองชลบุรี โดย นางสาวฉันทนา สมยา ปริญญา วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (การจัดการสิ่งแวดล้อม)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google