งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

แนวทางและแผนการรองรับวิกฤติด้านพลังงานไฟฟ้า ของประเทศไทย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "แนวทางและแผนการรองรับวิกฤติด้านพลังงานไฟฟ้า ของประเทศไทย"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 แนวทางและแผนการรองรับวิกฤติด้านพลังงานไฟฟ้า ของประเทศไทย

2 การดำเนินงานของกระทรวงพลังงาน
16 ธ.ค. 52 : สนพ. แต่งตั้งคณะทำงานจัดทำแผนรองรับสภาวะวิกฤติด้านพลังงานไฟฟ้า โดยมี ผอ. สนพ. เป็นประธาน มีคณะทำงานจาก สกพ. การไฟฟ้าทั้ง 3 แห่ง และผู้ทรงคุณวุฒิ หน้าที่ รวบรวมข้อมูลสภาวะวิกฤติด้านพลังงานไฟฟ้าของประเทศไทยในอดีต ศึกษา และวิเคราะห์สถานการณ์สมมติของสภาวะวิกฤติด้านพลังงานไฟฟ้าของประเทศไทย เสนอแนะแนวทางการบริหารจัดการพลังงานไฟฟ้าของประเทศในสภาวะวิกฤติ และจัดทำแผนรองรับสภาวะวิกฤติ

3 การดำเนินงานที่ผ่านมา
- รวบรวมข้อมูลสถานการณ์สภาวะวิกฤติด้านพลังงานไฟฟ้าในอดีต และแผนปฏิบัติการแก้ไขสถานการณ์ฉุกเฉินของการไฟฟ้า - รวบรวมคำนิยามของสภาวะวิกฤติด้านพลังงานไฟฟ้า - การวิเคราะห์สถานการณ์สมมติของสภาวะวิกฤติด้านพลังงานไฟฟ้า แผนการสื่อสารและประชาสัมพันธ์ในกรณีเกิดวิกฤติด้านพลังงานไฟฟ้า - จัดทำสถานการณ์สมมติของสภาวะวิกฤติด้านพลังงานไฟฟ้า และแนวทางการบริหารจัดการพลังงานไฟฟ้า - จัดทำแผนรองรับสภาวะวิกฤติด้านพลังงานไฟฟ้า - จัดทำสถานการณ์สมมติสภาวะวิกฤติด้านพลังงาน เพื่อใช้ในการซักซ้อม - จัดทำแนวทางการดำเนินการแก้ไขตามสถานการณ์สมมติ - ซักซ้อมแผนตามสถานการณ์สมมติ เมื่อวันที่ 3 เมษายน 2554 ณ โรงไฟฟ้าระยอง ปี 2553 ปี 2554

4 การผลิต การใช้กำลังผลิตสำรอง และการประมาณการในอนาคต

5 การใช้พลังงาน รายได้ประชาชาติ และประชากร
พันตันน้ำมันดิบ, ล้านหน่วย, พันคน พันล้านบาท รายได้ประชาชาติ(พันล้านบาท) การใช้ไฟฟ้า(ล้านหน่วย) ประชากร(พันคน) การใช้พลังงานขั้นสุดท้าย(พันตันน้ำมันดิบ) การใช้น้ำมันสำเร็จรูป(พันตันน้ำมันดิบ)

6 กำลังผลิตติดตั้ง (Install Capacity)
ณ วันที่ 28 ก.พ. 53 โรงไฟฟ้า กำลังผลิต เมกะวัตต์ % พลังน้ำ 3, 11.72% - เอกชน 340.0 1.16% พลังความร้อน 4,699.0 16.09% 3,300.6 11.30% พลังความร้อนร่วม 6,196.0 21.21% 10,518.0 36.01% กังหันแก๊ส 0.0 0.00% 120.0 0.41% ดีเซล 4.4 0.02% พลังงานหมุนเวียน 4.546 305.3 1.05% อื่น ๆ (เอกชน) 300.0 1.03% รวม 29,212.0 100

7 ปัจจัยและการบริหารความเสี่ยงด้านพลังงานไฟฟ้า

8 การผลิตและซื้อไฟฟ้า ปี 2553 สัดส่วนการใช้เชื้อเพลิงผลิตไฟฟ้า
Peak = 24, MW (+8.90 %) (ข้อมูลจริง ณ 10 พ.ค. 53) Energy = 152,083.6 Gwh (+4.72 %) (บนสมมติฐาน GDP = +5.0 %) ปี 2553 พลังงานไฟฟ้าสุทธิ (GWh) Q1 37,325.1 Q2 39,016.3 Q3 38,554.3 Q4 37,187.9 น้ำมัน ก๊าซธรรมชาติ พลังน้ำ ถ่านหิน/ลิกไนต์ นำเข้า พลังงานหมุนเวียน คาดการณ์การผลิตและซื้อไฟฟ้า ปี 2553 พลังไฟฟ้าสูงสุด (Peak) = 23,192.6 MW (เดือน เมษายน 2553) เพิ่มขึ้นจากค่าสูงสุดของปีที่ผ่านมา (22,044.9 MW) = 5.21 % พลังงานไฟฟ้า (Energy) = 152, ล้านหน่วย (บนสมมติฐาน GDP = +5.0 %) เพิ่มขึ้นจากปีที่ผ่านมา = 6, ล้านหน่วย (+4.72 %) ไตรมาสที่ 1 = 37, ล้านหน่วย เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันของปีที่ผ่านมา % ไตรมาสที่ 2 = 39, ล้านหน่วย เพิ่มขึ้น “ 5.99 % ไตรมาสที่ 3 = 38, ล้านหน่วย เพิ่มขึ้น “ 1.49 % ไตรมาสที่ 4 = 37, ล้านหน่วย เพิ่มขึ้น “ 1.08 % คาดการณ์สัดส่วนการใช้เชื้อเพลิงผลิตไฟฟ้า ปี 2553 ก๊าซธรรมชาติ = % ถ่านหิน = % พลังน้ำ = % น้ำมัน = % (น้ำมันเตา %+ ดีเซล 0.06 %) พลังงานหมุนเวียน = % ซื้อมาเลเซีย = % หมายเหตุ - คาดการณ์การผลิตและซื้อไฟฟ้า และคาดการณ์การใช้เชื้อเพลิงผลิตไฟฟ้า ปี 2553 : ข้อมูลจาก หวจ-ส. กวต-ส. เดือน ม.ค. - เม.ย. 2553

9 สัดส่วนการใช้เชื้อเพลิง

10 แผนรองรับสภาวะวิกฤติด้านพลังงานไฟฟ้า

11 คำนิยามของสภาวะวิกฤติด้านพลังงานไฟฟ้า
สถานการณ์ที่ไม่ปกติที่ส่งผลกระทบรุนแรงต่อองค์กร ชุมชนโดยรอบ หรือ สาธารณชน ทั้งนี้ สถานการณ์ที่ไม่ปกติ หมายถึงเหตุการณ์ที่สร้างความประหลาดใจ ความกดดัน ความตื่นตระหนก และก่อให้เกิดความสับสน ความเข้าใจในเชิงลบ อยู่ในความสนใจอย่างสูงต่อหมู่ชน ทั้งภายในและภายนอกองค์กร รวมทั้งเหตุฉุกเฉินหรือเหตุการณ์ที่อยู่ในความสนใจของสาธารณชน ก่อให้เกิดเหตุการณ์ที่ต่อเนื่องตามมา รวมทั้งขาดการบังคับหรือการควบคุมที่จะส่งผลต่อภาพลักษณ์และการดำเนินงานขององค์กร กฟผ. เหตุการณ์ที่ระบบการผลิตไฟฟ้าขัดข้อง/ไม่เพียงพอ หรือสถานีต้นทาง/ สถานีย่อย/ สายส่ง/ สายป้อนชำรุดเสียหาย แล้วไม่สามารถถ่ายเทภาระไฟฟ้า (Load) ให้อุปกรณ์ไฟฟ้าในพื้นที่ข้างเคียงรองรับได้ ส่งผลให้ไฟฟ้าดับเป็นบริเวณกว้าง ผู้ใช้ไฟฟ้าจำนวนมากไม่มีไฟฟ้าใช้เป็นระยะเวลานาน กฟน. เหตุการณ์ไม่ปกติ หมายถึง ช่วงเวลาที่มีการเกิดภัยพิบัติ เช่น แผ่นดินไหว วาตภัย อุทกภัย อัคคีภัยฯ หรือวินาศภัย เช่น บุกยึดสถานที่ จับตัวประกัน การขู่วางระเบิด วางระเบิดสถานที่ทำลายทรัพย์สิน หรืออุบัติภัย เช่น ตึกถล่ม เครื่องบินตก สารเคมีระเบิด ไฟไหม้อาคาร ฯลฯ กฟภ.

12 ผังการสื่อสารการจัดการพลังงานไฟฟ้าในสภาวะวิกฤติ
CMT คทง.จัดการวิกฤติส่วนกลาง CRT คทง.ปฏิบัติการวิกฤติส่วนกลาง CCT คทง.สื่อสารในภาวะวิกฤติ LMT คทง.จัดการวิกฤติประจำพื้นที่ LRT คทง.ปฏิบัติการวิกฤติประจำพื้นที่

13 แนวทางในการรองรับสภาวะวิกฤตฯ ในอนาคต
ประเมินเหตุการณ์ และวิเคราะห์ผลกระทบ แก้ไขปัญหาเบื้องต้น ประสานงานกับ operator ในหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เหตุการณ์วิกฤตในประเทศ หน่วยงานระดับต้น หน่วยงานระดับกลาง ผู้บริหารกรม หน่วยงานภายนอก ผู้บริหารระดับกระทรวง รวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูล นำเสนอผู้บริหารเพื่อการตัดสินใจ ประสานงานหน่วยงานภายใน ประสานงานเรื่องสื่อ หารือในระดับบริหาร เพื่อตัดสินใจเชิงนโยบาย และข้อขัดแย้งในกรณีที่สามารถแก้ไขได้ในระดับกรม เช่น มีการคาบเกี่ยวระหว่างหลายหน่วยงาน แจ้งคณะรัฐมนตรีในกรณีที่เหตุการณ์ขยายตัวและมีความรุนแรงมาก NESO

14 ด้านการจัดหา (Supply)และการใช้ (Demand)
แนวทางการรองรับ ด้านการจัดหา (Supply)และการใช้ (Demand)

15 GREEN PDP 23 มี.ค. 2553 ครม. เห็นชอบแผน PDP 2010 แผนระยะยาว 20 ปี
มุ่งเน้นความมั่นคงของกำลังการผลิตไฟฟ้า ควบคู่ไปกับการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม เน้นการมีส่วนร่วมของประชาชน ความมั่นคง การดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม สัดส่วนกำลังการผลิตไฟฟ้าสำรองของประเทศที่เหมาะสม กระจายแหล่งและชนิดเชื้อเพลิง ในการผลิตไฟฟ้า ซื้อไฟฟ้าจากประเทศเพื่อนบ้าน ลดการพึ่งพาการใช้ก๊าซธรรมชาติ ลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากภาคการผลิตไฟฟ้าใหม่ ส่งเสริมให้มีการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียนให้สอดคล้องกับแผนพัฒนาพลังงานทดแทน 15 ปี เพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงาน (DSM) ส่งเสริมการผลิตไฟฟ้าอย่างมีประสิทธิภาพด้วยระบบผลิตไฟฟ้าและ ความร้อนร่วม (Cogeneration)

16 Demand Side

17 การส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน
มาตรการด้านกฎหมาย มาตรฐานหลักเกณฑ์ วิธีการ การออกแบบอาคารอนุรักษ์พลังงาน มาตรฐานหลักเกณฑ์ วิธีการ การบริหารจัดการพลังงานในโรงงาน /อาคารควบคุม มาตรฐานอุปกรณ์ไฟฟ้าประหยัดพลังงาน

18 การส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน
มาตรการด้านบริหาร สินเชื่อพลังงาน เงินทุนหมุนเวียน เพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน ESCO Fund สิทธิประโยชน์ด้าน BOI สิทธิประโยชน์ด้านภาษี – Cost & Performance

19 การส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน
มาตรการด้านสังคม เปลี่ยนหลอดไฟเป็นหลอดประหยัดพลังงาน อุปกรณ์ไฟฟ้า ประหยัดพลังงานเบอร์ 5 Standby -1 watt

20 Supply Side

21 สมมุติฐานในการจัดทำแผน PDP สมมุติฐานด้านความมั่นคงของระบบไฟฟ้า
กำลังผลิตไฟฟ้าสำรองของระบบไฟฟ้า ร้อยละ โดยพิจารณาความเสี่ยงจากการ ใช้ก๊าซธรรมชาติประกอบ กระจายเชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟ้า ใช้เชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟ้าที่หลากหลาย เพื่อลดการพึ่งพาก๊าซธรรมชาติ สัดส่วนการรับซื้อไฟฟ้าจากประเทศเพื่อนบ้าน การศึกษาที่ผ่านมากำหนดสัดส่วนดังนี้ ซื้อไฟฟ้าจาก 1 ประเทศ ไม่เกิน 13 % ของกำลังผลิตทั้งหมด ซื้อไฟฟ้าจาก 2 ประเทศ ไม่เกิน 25 % ของกำลังผลิตทั้งหมด ซื้อไฟฟ้าจาก 3 ประเทศ ไม่เกิน 33 % ของกำลังผลิตทั้งหมด ซื้อไฟฟ้าจาก 4 ประเทศ ไม่เกิน 38 % ของกำลังผลิตทั้งหมด


ดาวน์โหลด ppt แนวทางและแผนการรองรับวิกฤติด้านพลังงานไฟฟ้า ของประเทศไทย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google