งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ประโยชน์ของข้อมูลสถิติ กับการพัฒนา

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ประโยชน์ของข้อมูลสถิติ กับการพัฒนา"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ประโยชน์ของข้อมูลสถิติ กับการพัฒนา
โดย นายปรเมธี วิมลศิริ ที่ปรึกษาด้านนโยบายและแผน สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ 18 พฤษภาคม 2549

2 ประโยชน์ของข้อมูลกับการพัฒนา สศช.
หัวข้ออภิปราย การใช้ประโยชน์ของข้อมูลสถิติในการพัฒนา ข้อจำกัดในปัจจุบัน ระบบสถิติที่พึงปรารถนา ความต้องการข้อมูลสำหรับการพัฒนา ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบข้อมูลของประเทศ มาตรฐานสถิติ ทิศทางการพัฒนาข้อมูลของ สศช. ประโยชน์ของข้อมูลกับการพัฒนา สศช.

3 1. การใช้ประโยชน์ของข้อมูลสถิติต่อการพัฒนา
1.1 การรายงานสถานการณ์ทางเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ 1.2 การจัดทำแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศ 1.3 การวิเคราะห์แผนงานและโครงการภาครัฐ 1.4 การติดตามประเมินผลการพัฒนา 1.5 การศึกษาวิจัย ประโยชน์ของข้อมูลกับการพัฒนา สศช.

4 1.1 การรายงานสถานการณ์ทางเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ
QGDP SET INDEX CPI PPI MPI การว่างงาน อัตราดอกเบี้ย ดัชนีความเชื่อมั่นของธุรกิจ ดัชนีความเชื่อมั่นของประชาชน ฯลฯ วัตถุประสงค์ เพื่อใช้สร้างระบบเฝ้าระวัง และส่งสัญญานเตือนภัยในระยะสั้น ที่สามารถนำไปสู่การกำหนดนโยบายและมาตรการที่เหมาะสมและทันต่อสถานการณ์ สถานภาพการใช้ข้อมูลในปัจจุบันเมื่อเทียบกับอดีต 1. ปัจจุบันมีการรายงานรวดเร็วขึ้น 2. มีความหลากหลายมากขึ้นเมื่อเทียบกับอดีต โดยเฉพาะ รายการตัวชี้วัดต่างๆ 3. ขยายข้อมูลทางด้านสังคมมากขึ้น 4. เข้าถึงข้อมูลได้ง่ายขึ้น สื่อต่างๆ ให้ความสนใจ ข้อจำกัด 1. ยังมีข้อมูลจำกัดในบางสาขา เช่น ทรัพยากรฯ และ สิ่งแวดล้อม 2. มีหน่วยงานองค์กรภาครัฐและเอกชนแข่งขันกันรายงาน ข้อมูลมากขึ้น แต่อาจสับสนในกรณีที่ตัวเลขแตกต่างกัน ประโยชน์ของข้อมูลกับการพัฒนา สศช.

5 1.2 การจัดทำแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศ
GDP SAM ประชากรและการมีงานทำ การกระจายรายได้ การบริโภค การลงทุน การศึกษา สาธารณสุข ฯลฯ วัตถุประสงค์ เพื่อใช้วิเคราะห์แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างเศรษฐกิจและสังคม ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในระยะยาว สถานภาพการใช้ข้อมูลในปัจจุบันเมื่อเทียบกับอดีต 1. มีการรายงานรวดเร็วขึ้นในบางรายการ 2. มีจำนวนรายการเพิ่มขึ้นไม่มากนัก 3. รายการข้อมูลมีจำนวนใกล้เคียงกันทั้งด้านเศรษฐกิจ และสังคม 4. สื่อต่างๆ ยังให้ความสนใจน้อย ข้อจำกัด 1. ยังมีข้อมูลจำกัดในบางสาขา เช่น ทรัพยากรฯ และ สิ่งแวดล้อม 2. หน่วยงานราชการ และนักวิชาการในปัจจุบันให้ความ สนใจศึกษาไม่มากนัก ประโยชน์ของข้อมูลกับการพัฒนา สศช.

6 1.3 การวิเคราะห์แผนงานและโครงการภาครัฐ
I/0 logistic Sattlelite A/C บัญชีท่องเที่ยว บัญชีการศึกษา บัญชีสุขภาพ บัญชีสิ่งแวดล้อม สถิติประชามติ ฯลฯ วัตถุประสงค์ เพื่อใช้ประกอบการศึกษาวิเคราะห์ความเหมาะสมและความเป็นได้ของโครงการและแผนงานภาครัฐและเอกชน สถานภาพการใช้ข้อมูลในปัจจุบัน 1. ยังขาดแคลนข้อมูลรายละเอียดทั้งในด้านข้อมูล พื้นฐานและข้อมูลเชิงลึก 2. มีการสำรวจข้อมูลประชามติเพิ่มขึ้น 3. ยังเข้าถึงข้อมูลได้ยาก ข้อจำกัด 1. ยังมีข้อมูลจำกัดในบางสาขา เช่น ทรัพยากรฯ และ สิ่งแวดล้อม 2. หน่วยงานราชการและนักวิชาการในปัจจุบันให้ความ สนใจศึกษาไม่มากนัก ประโยชน์ของข้อมูลกับการพัฒนา สศช.

7 1.4 การติดตามประเมินผลการพัฒนา
GDP GPP KPI รายการต่างๆ ความยากจนและการกระจายรายได้ บัญชีทรัพยากร ธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม ฯลฯ วัตถุประสงค์ เพื่อใช้เป็นเครื่องมือชี้วัดผลสำเร็จของการพัฒนา และประเมินผลการดำเนินงานตามแผนงาน โครงการ และมาตรการของรัฐ ทั้งในด้านเศรษฐกิจ สังคม ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม สภานภาพการใช้ข้อมูลในปัจจุบัน 1. มีข้อมูลเฉพาะบางจุดที่คนสนใจเท่านั้น 2. การใช้ประโยชน์ในแง่การแก้ไขปัญหาของประเทศยังอยู่ในวงแคบ 3. เข้าถึงข้อมูลได้ยาก ข้อจำกัด 1. ยังมีข้อมูลจำกัดในบางสาขา เช่น ทรัพยากรฯ และสิ่งแวดล้อม 2. ยังขาดความรู้ทางวิชาการในการพัฒนาข้อมูล 3. นักวิชาการในปัจจุบันให้ความสนใจศึกษาไม่มากนัก ประโยชน์ของข้อมูลกับการพัฒนา สศช.

8 ประโยชน์ของข้อมูลกับการพัฒนา สศช.
1.5 การศึกษาวิจัย I/O ต้นทุนการผลิต logistic biology innovation science & technology ทรัพย์สินทางปัญญา ข้อมูลด้านสังคม ฯลฯ วัตถุประสงค์ เพื่อใช้สร้างเสริมองค์ความรู้ และเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศให้แก่ภาคีการพัฒนาในทุก ๆ ระดับ รวมทั้งงานวิจัย ที่สะท้อนผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงด้านเศรษฐกิจ สังคม ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่เชื่อมโยงกับการพัฒนาในทุกมิติ สภานภาพการใช้ข้อมูลในปัจจุบัน 1. มีการส่งเสริมงานวิจัยในจำนวนน้อย 2. ยังไม่สามารถใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์ 3. ค้นคว้าพัฒนาและการต่อยอดความรู้มีจำกัด 4. หาข้อมูลได้ยาก ข้อจำกัด 1. ยังมีข้อมูลจำกัดในทุกสาขา 2. ยังขาดความรู้ทางวิชาการในการพัฒนาข้อมูล 3. นักวิชาการในปัจจุบันให้ความสนใจศึกษาไม่มากนัก ประโยชน์ของข้อมูลกับการพัฒนา สศช.

9 2. ข้อจำกัดทางด้านข้อมูลของประเทศ
ผลกระทบ แนวทางแก้ไข ระบบสถิติของไทยเป็นระบบกระจายอำนาจ มีการกระจายภารกิจตามผังรวมสถิติ แต่ยังมีผลต่อการพัฒนาข้อมูลไม่มากนัก ขาดข้อมูลในหลายสาขา ข้อมูลรายพื้นที่หาได้ยาก ระบบสถิติควรควบคู่ไปกับระบบการบริหารราชการแผ่นดิน ถ้ามีการกระจายอำนาจ กระจายงบประมาณ และกำลังคน แลัว ต้องกระจายภารกิจด้านข้อมูลตามไปด้วย โดยมีการกระจายไปสู่ กระทรวง ทบวง กรม จังหวัดและท้องถิ่น ประโยชน์ของข้อมูลกับการพัฒนา สศช.

10 2. ข้อจำกัดทางด้านข้อมูลของประเทศ (ต่อ)
ผลกระทบ แนวทางแก้ไข การจัดทำข้อมูลสถิติ บางสาขายังไม่ได้มาตรฐานสากล มาตรฐานการจัดหมวดหมู่ (classification) และคำนิยาม (definition) ของข้อมูล การรายงานเผยแพร่ ไม่ครบถ้วนและไม่ต่อเนื่อง ใช้ประโยชน์ในวงจำกัด และค่าความคลาด เคลื่อนสูง วิเคราะห์ เชื่อมต่อข้อมูลได้ยาก การกำหนดนิยามต่างๆ ควรมีความชัดเจนและเป็นที่ยอมรับในวงกว้าง จัดทำเอกสารคำอธิบายข้อมูล (Meta data) ประโยชน์ของข้อมูลกับการพัฒนา สศช.

11 3. ระบบสถิติที่พึงปรารถนา
ระบบสถิติที่สามารถสะท้อนหรือเป็นเครื่องมือในการวางแผนพัฒนาประเทศซึ่งมีเป้าหมายมุ่งสู่การเจริญเติบโตอย่างมีเสถียรภาพ ยั่งยืน และความอยู่ดีมีสุขของประชาชน ระบบสถิติที่ได้มาตรฐานสากล เป็นที่ยอมรับของทุกฝ่าย ระบบสถิติที่มีความครบถ้วนทุกสาขาสถิติเพียงพอต่อการใช้ในการวางแผนพัฒนาประเทศ ระบบสถิติที่ได้มาตรฐาน มีคุณภาพ โปร่งใส เป็นที่ยอมรับของสากล ระบบสถิติที่สนองความต้องการของผู้ใช้ข้อมูลทุกระดับ ทั้งในภาครัฐ ภาคเอกชน และประชาชน ทั้งในส่วนกลางและท้องถิ่น ระบบสถิติที่ประชาชนต้องเข้าถึงข้อมูลได้ง่าย และได้รับรู้ข้อมูลข่าวสารโดยเท่าเทียมกัน ประโยชน์ของข้อมูลกับการพัฒนา สศช.

12 4. ความต้องการข้อมูลสำหรับการพัฒนา
4.1 ระดับมหภาค ขยายรายการข้อมูลเศรษฐกิจให้ครอบคลุมธุรกรรมใหม่ๆ เพื่อใช้ในการจัดทำบัญชีประชาชาติ เช่น ข้อมูลด้านการลงทุน ข้อมูลด้านการขนส่งและสื่อสาร ข้อมูลด้านการค้าทางอิเล็กทรอนิกส์ และข้อมูลการผลิตสินค้าและบริการชนิดใหม่ในสาขาต่างๆ พัฒนาบัญชีบริวาร (Sattelite Accounts) ในสาขาหรือกิจกรรมที่อยู่ในบริบทของการพัฒนาประเทศ พัฒนาตัวชี้วัดในด้านสังคม ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมตามมาตรฐานสากลให้มากขึ้น เพิ่มเติมข้อมูลพื้นฐานที่ยังขาดในสำมะโนเกษตร สำมะโนธุรกิจการค้าบริการ สร้างระบบฐานข้อมูลและการเชื่อมโยงข้อมูลเพื่อใช้ในการวางแผนพัฒนาประเทศ ประโยชน์ของข้อมูลกับการพัฒนา สศช.

13 4. ความต้องการข้อมูลสำหรับการพัฒนา(ต่อ)
4.2 ระดับภาค/จังหวัด ขยายรายการข้อมูลเศรษฐกิจให้มีการรายงานระดับภาคและจังหวัด เช่น GPP ภาวะการจ้างงาน การบริโภคของครัวเรือน เป็นต้น พัฒนาข้อมูลพื้นฐานในสาขาเศรษฐกิจ การเงิน การคลัง และการค้าระหว่างประเทศให้มากขึ้น พัฒนาตัวชี้วัดในด้านสังคม ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมระดับรายจังหวัดให้มากขึ้น สร้างระบบฐานข้อมูลและการเชื่อมโยงข้อมูลเพื่อใช้ในการวางแผนพัฒนาพัฒนาจังหวัดและกลุ่มจังหวัดประเทศ ประโยชน์ของข้อมูลกับการพัฒนา สศช.

14 5. ยุทธศาสตร์การพัฒนาข้อมูลของประเทศ
รัฐบาลต้องให้ความสำคัญต่อการพัฒนาระบบข้อมูลของประเทศ ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบข้อมูลต้องควบคู่ไปกับยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศ โดยมีสาระสำคัญ 3 ประการ 1. ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบข้อมูล ปรับโครงสร้างส่วนราชการ ต้องปรับภารกิจด้านข้อมูลให้สอดรับกับผังรวมสถิติ และต้องประเมินผลการปฏิบัติราชการในส่วนภารกิจด้านข้อมูลด้วย สร้างระบบข้อมูลเพื่อสนับสนุนงานพัฒนาจังหวัดและท้องถิ่น เช่น ข้อมูลการคลังท้องถิ่น, GPP, และ KPI รายการต่างๆในระดับจังหวัด เป็นต้น 2. ยุทธศาสตร์การเพิ่มขีดความสามารถในการสร้างระบบฐานข้อมูล ส่งเสริมให้ส่วนราชการมีระบบฐานข้อมูล การปรับปรุงประสิทธิภาพระบบ IT ของประเทศ พัฒนา PMOC ให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้น พัฒนาบุคลากรด้านข้อมูลและระบบสารสนเทศ 3. ยุทธศาสตร์การส่งเสริมความร่วมมือในการพัฒนาข้อมูล เสริมสร้างความเข้าใจแก่ภาคเอกชนและภาคประชาชนในการให้ความร่วมมือให้ข้อมูลข่าวสารแก่ทางราชการ ให้ความรู้ทางวิชาการในการพัฒนาระบบข้อมูลทุกระดับ ประโยชน์ของข้อมูลกับการพัฒนา สศช.

15 ประโยชน์ของข้อมูลกับการพัฒนา สศช.
6. มาตรฐานสถิติ พัฒนาระบบสถิติ ตามมาตรฐานสากล โดยยึดแนวทางของ UN IMF WB ADB เป็นต้น มาตรฐานทางวิชาการ ความโปร่งใสของข้อมูล ความครบถ้วนทุกสาขาสถิติ ความต่อเนื่องของข้อมูล 2. พัฒนาระบบ การรายงานข้อมูล ความรวดเร็วของการเผยแพร่ การเข้าถึงข้อมูลได้ง่าย การเชื่อมโยงข้อมูลระหว่าง หน่วยงาน ประโยชน์ของข้อมูลกับการพัฒนา สศช.

16 7. แนวทางการพัฒนาข้อมูลของ สศช.
สาขา รายการข้อมูล ปัจจัยสนับสนุน ด้านเศรษฐกิจ ปรับปรุงการพยากรณ์เศรษฐกิจ รายการข้อมูลพื้นฐานและความแม่นยำ ด้านการผลิต การบริโภค การลงทุน ฯลฯ 2. ลดระยะเวลาการรายงาน QGDP การรายงานข้อมูลของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องต้องเร็วขึ้น 3. เปลี่ยนปีฐาน GDP ข้อมูลกิจกรรมใหม่ในระบบเศรษฐกิจ 4. พัฒนาระบบบัญชีประชาชาติระบบใหม่ (1993 SNA) ข้อมูลรายละเอียดพื้นฐานทุกสาขารวมทั้งข้อมูลทางด้านทรัพย์สินและหนี้สิน จำแนกเป็นรายสถาบัน 5. บัญชี Sattlelite accounts ในสาขาหรือกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับยุทธศาสตร์การพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ ข้อมูลกิจกรรมทางเศรษฐกิจเชิงลึกในสาขาต่างๆ เช่น การศึกษา บริการสุขภาพ การท่องเที่ยว และอื่นๆ ประโยชน์ของข้อมูลกับการพัฒนา สศช.

17 7. ทิศทางการพัฒนาข้อมูลของ สศช. (ต่อ)
สาขา รายการข้อมูล ปัจจัยสนับสนุน ด้านสังคม 1. การกระจายรายได้ ข้อมูลรายละเอียดจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น SES 2. ข้อมูลด้านประชากร เช่น การคาดประมาณจำนวนประชากร ผลการสำมะโนและสำรวจประชากร การสำรวจภาวะการจ้างงานและการมีงานทำ 3. ตัวชี้วัดด้านสังคม และความอยู่ดีมีสุข ข้อมูลด้านสวัสดิการแรงงาน สวัสดิการสังคม ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน การศึกษา สาธารณสุข และรายละเอียดงบประมาณด้านสังคม ประโยชน์ของข้อมูลกับการพัฒนา สศช.

18 7. ทิศทางการพัฒนาข้อมูลของ สศช. (ต่อ)
สาขา รายการข้อมูล ปัจจัยสนับสนุน ด้านทรัพยากร ธรรมชาติ และ สิ่งแวดล้อม 1. บัญชีทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 1. ข้อมูลการประเมินมูลค่าทรัพยากรธรรมชาติ 2. ข้อมูลต้นทุนการดูแลรักษา ฟื้นฟู สิ่งแวดล้อมที่เสื่อมโทรม 2. ตัวชี้วัดด้านทรัพยากร ธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม 1. ข้อมูลรายละเอียดสถานภาพและการเปลี่ยนแปลงของทรัพยากรธรรมชาติ 2. ข้อมูลด้านมลภาวะและการปลดปล่อยของเสียในภาคการผลิต และการบริโภค ประโยชน์ของข้อมูลกับการพัฒนา สศช.

19 ขอบคุณครับ


ดาวน์โหลด ppt ประโยชน์ของข้อมูลสถิติ กับการพัฒนา

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google