งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

เครือข่ายห้องปฏิบัติการตรวจยืนยันโรคหัด

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "เครือข่ายห้องปฏิบัติการตรวจยืนยันโรคหัด"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 เครือข่ายห้องปฏิบัติการตรวจยืนยันโรคหัด
ศวก. เชียงราย ศวก. เชียงใหม่ ศวก. พิษณุโลก ศวก. นครสวรรค์ ศวก. อุดรธานี ศวก ขอนแก่น ศวก นครราชสีมา ศวก. อุบลราชธานี ศวก. ชลบุรี ศวก. สุมทรสงคราม ศวก. สงขลา ศวก. ตรัง ศวก. ภูเก็ต ศวก. สุราษฏร์ธานี สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข เมื่อท่านเก็บตัวอย่างส่งตรวจมาแล้ว ท่านสามารถส่งได้ที่ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ทั้ง 14แห่งของกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ซึ่งกระจายอยู่ในทุกภูมิภาค

2 Training for Regional Medical Science Center
17-18 March 2011

3 เว็ปสำหรับการบันทึกข้อมูล : www.boe.moph.go.th
คลิ๊ก

4 ผลการดำเนินงาน จำนวนตัวอย่างที่ห้องปฏิบัติการได้รับตั้งแต่เริ่มโครงการ ณ วันที่ 1 มกราคม 2554 ถึง 6 กรกฎาคม 2555 จำนวนตัวอย่างน้ำเหลืองที่ส่งตรวจ 1,437 ตัวอย่าง Measles IgM Positive 775 ตัวอย่าง (54%) Rubella IgM Positive 87 ตัวอย่าง (6%) จำนวนตัวอย่างส่งตรวจหา Genotype 134 ตัวอย่าง Genotype D9 = 11 ตัวอย่าง Genotype D8 = 20 ตัวอย่าง

5 ปัญหา ไม่มีการส่งฟอร์ม Me1 แนบมากับตัวอย่างที่ส่งมายังห้องปฏิบัติการ เนื่องจากบางหน่วยงานมีความเข้าใจผิดว่า ให้บันทึกข้อมูลผู้ป่วยในระบบฐานข้อมูลกำจัดโรคหัด และส่งเพียงตัวอย่างเท่านั้นมายังห้องปฏิบัติการ การส่งต่อตัวอย่างล่าช้า พบตัวอย่างที่เก็บ ไม่ตรงตามระยะเวลาที่กำหนด ร้อยละ 39.69 จำนวนตัวอย่างน้ำเหลืองที่ส่งตรวจ MV IgM เพิ่มมากขึ้น : สงสัยหัดเยอรมัน ส่งตรวจหัด ค่าใช้จ่ายในการตรวจหาสายพันธุ์ (Genotype) มีราคาสูง ฟรี

6 Measles Genotype แนวทางการตรวจทางห้องปฏิบัติการรองรับกับเป้าหมายของโครงการกำจัดหัดอย่างไร

7 การหาสายพันธุ์ไวรัสหัด เปรียบเทียบกับสายพันธุ์อ้างอิง
Measles genome NH- Nucleoprotein gene -COOH 450 bp เปรียบเทียบกับสายพันธุ์อ้างอิง

8 between the various genotype; 8 clades ( A-H )
STANDARDIZATION OF THE NOMENCLATURE FOR DESCRIBING THE GENETIC CHARACTERISTICS OF WILD-TYPE MEASLES VIRUS First meeting : at WHO in Geneva ,1998 (2541) Clade : are used to indicate the genetic relationship between the various genotype; 8 clades ( A-H ) Genotype : are the operational taxonomic unit; 15 genotypes The 4th meeting : in 2005 (2548) 23 genotypes @ 2012 24 genotypes; Genotype D11

9 STANDARDIZATION OF THE NOMENCLATURE FOR DESCRIBING THE GENETIC CHARACTERISTICS OF WILD-TYPE MEASLES VIRUS Montreal.CAN/89-D4 Victoria.AUS/12.99-D9 Palau.BLA/93-D5 Bangkok.THA/93/1-D5 Illinois.USA/89/1-Chicago-1-D3 Mancheter.UNK/30.94-D8 MVi/Menglian.Yunnan.CHN/47.09-D11 Victoria.AUS/16.85-D7 Illinois.USA/50.99-D7 Bristol.UNK/74-MVP-D1 New Jersey.USA/94/1-D6 Johannesburg.SOA/88/1-D2 Kampala.UGA/51.00/1-D10 MVs/Madrid.SPA/94-SSPE-F Maryland.USA/77-JM-C2 Erlangen.DEU/90-WTF-C2 Tokyo.JPN/84/K-C1 Goettingen.DEU/71-Braxator-E Edmonston-wt.USA/54-A Libreville.GAB/84-R96-B2 Yaounde.CAE/12.83-Y-14-B1 New York.USA/94-B3 Ibadan.NIE/97/1-B3 Hunan.CHN/93.7-H1 Beijing.CHN/94.1-H2 Berkeley.USA/83-G1 Amsterdam.NET/49.97-G2 Gresik.INO/18.02-G3 0.01 A B2 C1 C2 D2 D3 D5 D4 D6 H1 E F D10 D1 D7 D8 D9 B1 B3 H2 G1 G2 D11 G3

10 Distribution of measles genotypes, 2011. Data as of 19 June 2012
Viruses =2946 Genotypes = 8 Countries = 74

11 สายพันธุ์ไวรัสหัดที่พบแพร่กระจายในประเทศไทย
(พ.ศ ) DMSc: เริ่มศึกษาปี 2536 2536 2541 2544 2550 2551 2553 D5 G2 Year เพียง1ราย D9 2554

12 สายพันธุ์ไวรัสหัดที่พบแพร่กระจายในประเทศไทย (พ.ศ.2536-2553)
D จังหวัด G จังหวัด 17 จังหวัด D จังหวัด พื้นที่ที่เหลือ ปลอดหัด? Measles genotype D5 D9 G2

13 ค่าเฉลี่ยอัตราป่วยโรคหัดต่อแสนประชากรรายจังหวัดตั้งแต่พ.ศ. 2548 - 2553
พบ 17 จังหวัดที่มีอัตราป่วยฯสูงสุด (10.00 ถึง 30.07) มีข้อมูลสายพันธุ์ไวรัสหัดเพียง 3 จังหวัด (17.5% จาก 17 จังหวัด) ทั่วประเทศมีข้อมูลสายพันธุ์ไวรัสหัด จาก 17 จังหวัด (22.1% จาก 77 จังหวัด) Morbidity rate (/100,000)* < 4.00 4.00 – 9.99 10.00 – 23.99 24.00+ *Bureau of Epidemiology, Ministry of public Health, Thailand

14 ตัวชี้วัดความสำเร็จและเป้าหมายของการกำจัดโรคหัด
โครงการกำจัดโรคหัด ตัวชี้วัดความสำเร็จและเป้าหมายของการกำจัดโรคหัด มาตรการ ตัวชี้วัด เป้าหมาย บทบาทของLab 1. ความครอบคลุมของวัคซีน ความครอบคลุมของวัคซีนป้องกันโรคหัดเข็มแรก ตาม EPI program และเข็มที่สอง ตาม EPI program หรือการรณรงค์ให้วัคซีนเสริม (Supplementary immunization activity: SIA) ความครอบคลุมของวัคซีนป้องกันโรคหัดเข็มแรก และเข็มที่สองต้องไม่น้อยกว่าร้อยละ 95 ในระดับตำบลและระดับประเทศ การตรวจหาระดับภูมิคุ้มกันต่อไวรัสหัด 2. ขนาดของเหตุการณ์การระบาด จำนวนผู้ป่วยยืนยันในแต่ละเหตุการณ์ระบาด พบผู้ป่วยยืนยันโรคหัดไม่เกิน 10 รายต่อหนึ่งการระบาดในอย่างน้อยร้อยละ 80 ของเหตุการณ์ระบาดทั้งหมด การตรวจยืนยันโรคหัดในแต่ละเหตุการณ์ระบาด ด้วยวิธี ELISA IgM 3. อุบัติการณ์ของโรคหัด อุบัติการณ์โรคหัดต่อประชากรล้านคน อุบัติการณ์โรคหัดน้อยกว่า 1 ต่อประชากรล้านคน ทั้งนี้ไม่นับรวมผู้ป่วยนำเข้าจากต่างประเทศ (imported case) การตรวจยืนยันโรคหัดด้วยวิธี ELISA IgM และตรวจหาสายพันธุ์ไวรัสหัดในแต่ละเหตุการณ์ระบาด 4. สายพันธุ์ของไวรัสโรคหัดที่แพร่กระจายภายในประเทศ จำนวนสายพันธุ์ของไวรัสโรคหัดที่แพร่กระจายภายในประเทศ ไม่มีผู้ป่วยยีนยันโรคหัดที่ติดเชื้อจากไวรัสโรคหัดสายพันธุ์ภายในประเทศ เป็นระยะเวลาติดต่อกันไม่ต่ำกว่า 12 เดือน ตรวจหาสายพันธุ์ไวรัสหัดในแต่ละเหตุการณ์ระบาด เมื่อดูที่มาตรการที่1.ความครอบคลุมของวัคซีน ...การตรวจหาระดับภูมิคุ้มกันต่อไวรัสหัดจากกลุ่มเป้าหมายได้รับวัคซีนเป็นการทำให้มั่นใจได้ว่าระดับภูมิคุ้มกันในสมาชิกของชุมชนอยู่ในระดับที่สามารถป้องกันโรคได้.....ในมาตรการที่ 2.การยืนยันขนาดของเหตุการณ์ระบาด ระบบเฝ้าระวังโรคสามารถตรวจจับการระบาดของโรคหัดได้อย่างรวดเร็วด้วยการตรวจยืนยันด้วยวิธี ELISA IgM มาตรการที่ 3.การตรวจจับอุบัติการณ์ของโรคหัดว่าน้อยกว่า 1 รายต่อประชากรล้านคน โดยไม่นับรวมผู้ป่วยนำเข้าจากต่างประเทศ ได้โดยการตรวจยืนยันด้วยวิธีELISA IgM และตรวจหาสายพันธุ์ไวรัสหัดในแต่ละเหตุการณ์ระบาด ในมาตรการสุดท้าย การหาสายพันธุ์ไวรัสหัดที่แพร่กระจายในประเทศและไม่มีผู้ป่วยติดเชื้อจากสายพันธุ์ท้องถิ่นไม่ต่ำกว่า 12เดือน โดยการตรวจหาสายพันธุ์ไวรัสหัด Recommended by WHO


ดาวน์โหลด ppt เครือข่ายห้องปฏิบัติการตรวจยืนยันโรคหัด

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google