งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

แนวทางการประเมินมาตรฐาน การดำเนินงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "แนวทางการประเมินมาตรฐาน การดำเนินงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 แนวทางการประเมินมาตรฐาน การดำเนินงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค
แนวทางการประเมินมาตรฐาน การดำเนินงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค การกำหนดระยะเวลา และการสุ่มเลือกจังหวัด เผด็จศักดิ์ ชอบธรรม กลุ่มโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน สำนักโรคติดต่อทั่วไป

2 ผลการประเมินผลการดำเนินงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ปี 2555
ผลการประเมินผลการดำเนินงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ปี 2555 คลังวัคซีนอำเภอ หน่วยบริการ 2 การให้บริการวัคซีน 3 การบริหารจัดการข้อมูล 1 การบริหารจัดการวัคซีนและลูกโซ่ความเย็น ร้อยละ 85 √ 2 บริหารจัดการ วัคซีนและระบบ ลูกโซ่ความเย็น ร้อยละ 70 1 บริหาร จัดการทั่วไป ร้อยละ 79 ร้อยละ 78 ภาพรวม ร้อยละ 78 ร้อยละ 72 เป้าหมาย ปี 57 : ผลการประเมิน มาตรฐานการดำเนินงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค > ร้อยละ 80 ภาพรวม ร้อยละ 77

3 ความก้าวหน้า การประเมินผลการดำเนินงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ปี 2557
แนวทางการพัฒนา/ปรับปรุงการดำเนินงานให้ได้มาตรฐานที่กำหนด ดำเนินการแล้ว √ จัดทำแผนงานโครงการ/สนับสนุนงบประมาณการประเมินมาตรฐานฯ จัดประชุมทีมประเมินมาตรฐานฯ (สคร.1-12) สคร.1-12 ประเมินมาตรฐานฯ รายงานผลการประเมินมาตรฐานฯ ปี 57 ให้ข้อเสนอแนะและดำเนินการแก้ไขปัญหา จัดประชุมวันที่ 23-24 ม.ค. 57 ประเมิน 38 จังหวัด มาตรฐานการบริหารจัดการวัคซีน และระบบลูกโซ่ความเย็น มาตรฐานการให้บริการ มาตรฐานการบริหารจัดการข้อมูล ร้อยละ 50 ของจังหวัดในเขต จังหวัดละ 2 อำเภอ  คลังวัคซีนโรงพยาบาล 1 แห่ง  หน่วยบริการในรพ. 1 แห่ง  หน่วยบริการในรพสต. 1 แห่ง

4 What’s next? สำนักโรคติดต่อทั่วไป จัดทำโครงการเพื่ออนุมัติโครงการและงบประมาณ และโอนงบประมาณสนับสนุนให้กับ สคร เพื่อใช้ในการประเมินผลการดำเนินงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค √ ประชุมชี้แจง การประเมินผลการดำเนินงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค สคร. จัดทำโครงการเพื่ออนุมัติงบประมาณและสร้างโครงการในระบบ Estimate (ผลผลิตที่ 1 กิจกรรมหลักที่ 1.1) สคร. แจ้งแผนการประเมินมาตรฐานการดำเนินงาน โดยพิจารณาสุ่มเลือกในร้อยละ 50 ของจังหวัดที่อยู่ในเขตรับผิดชอบ (รวมทั้งสิ้น 38 จังหวัด ทั่วประเทศ)

5 What’s next? สคร. ประเมินมาตรฐานการดำเนินงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคในจังหวัดในเขตรับผิดชอบ (ก.พ.- พ.ค. 57) สคร. ส่งผลการประเมินมาตรฐานฯ สคร. ส่งผลการประเมินมาตรฐานฯ เขตละ 1 จังหวัด (ภายใน มี.ค. 57) รวม 12 จังหวัด สคร. ส่งผลการประเมินมาตรฐานฯ อีกเขตละ 1 จังหวัด (ภายใน มิ.ย 57) รวม 24 จังหวัด สคร. ส่งผลการประเมินมาตรฐานฯ ของจังหวัดที่เหลือ (ภายใน ก.ค. 57) รวม 38 จังหวัด สำนักโรคติดต่อทั่วไป/สคร. สรุปวิเคราะห์และจัดทำรายงานผลการประเมินฯ เสนอต่อผู้บริหารและจังหวัดที่ได้รับการประเมิน (ภายใน ก.ย. 57)

6 การเลือกสถานบริการในจังหวัด (สคร.1-12) รวม 38 จังหวัด
การเลือกสถานบริการในจังหวัด (สคร.1-12) รวม 38 จังหวัด ใน 1 จังหวัด ในเขตพื้นที่ สคร. จังหวัด ประเมิน 2 อำเภอ (CUP) อำเภอที่มีรพศ/รพท. อำเภอ รพศ./รพท. รพช. รพสต. รพสต. อำเภอ/รพช./รพสต. ที่ไม่ได้ประเมินหรือนิเทศใน 3 ปีที่ผ่านมา

7 จังหวัดที่ได้รับการประเมินมาตรฐานฯ *
สคร. ปี 53 ปี 54 ปี 55 ปี 57** รายชื่อจังหวัด 1 อยุธยา ปทุมธานี นนทบุรี 2 จังหวัด 2 สระบุรี ลพบุรี สิงห์บุรี 3 ตราด ปราจีนบุรี ชลบุรี 4 จังหวัด 4 เพชรบุรี ราชบุรี สุพรรณบุรี 5 สุรินทร์ นครราชสีมา ชัยภูมิ 6 กาฬสินธุ์ มหาสารคาม บึงกาฬ 5 จังหวัด * ปี เป็นจังหวัดที่สำนักโรคติดต่อทั่วไปกับ สคร. ประเมินร่วมกัน ** ในปี 57 สคร. ประเมิน ร้อยละ 50 ของจังหวัดที่อยู่ในเขตรับผิดชอบ

8 จังหวัดที่ได้รับการประเมินมาตรฐานฯ *
สคร. ปี 53 ปี 54 ปี 55 ปี 57** รายชื่อจังหวัด 7 สกลนคร ศรีษะเกษ อำนาจเจริญ 4 จังหวัด 8 พิจิตร กำแพงเพชร นครสวรรค์ 2 จังหวัด 9 สุโขทัย เพชรบูรณ์ อุตรดิตถ์ 3 จังหวัด 10 น่าน เชียงใหม่ 11 นครศรี ธรรมราช พังงา ระนอง 12 สงขลา นราธิวาส ปัตตานี * ปี เป็นจังหวัดที่สำนักโรคติดต่อทั่วไปกับ สคร. ประเมินร่วมกัน ** ในปี 57 สคร. ประเมิน ร้อยละ 50 ของจังหวัดที่อยู่ในเขตรับผิดชอบ


ดาวน์โหลด ppt แนวทางการประเมินมาตรฐาน การดำเนินงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google