งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ยุทธศาสตร์การควบคุมป้องกัน การระบาดของคอตีบ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ยุทธศาสตร์การควบคุมป้องกัน การระบาดของคอตีบ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ยุทธศาสตร์การควบคุมป้องกัน การระบาดของคอตีบ
19 ตุลาคม 2555

2 ประเมินความเสี่ยง (1) ช่องว่างของภูมิต้านทานโรค
ประชาชนที่ยังไม่มีภูมิต้านทานโรค ในกลุ่มผู้ใหญ่ที่เกิดก่อนหรือเกิดในช่วงต้นของ EPI และเด็กที่ไม่ได้รับวัคซีนครบ โดยเฉพาะชาวเขา ช่องว่างของภูมิต้านทานโรคเช่นนี้ มีอยู่ในจังหวัดอื่นๆด้วย แหล่งโรค ผู้ป่วยและผู้เป็นพาหะในพื้นที่ระบาด เป็นแหล่งแพร่เชื้อ พาหะมีจำนวนมากกว่าผู้ป่วยที่พบ ผู้ป่วยที่มีอาการน้อยมีจำนวนมากกว่าผู้มีอาการชัดเจน และอาจวินิจฉัยเป็น URI หรือไม่รับการรักษา 18 Oct 2012 To be verified

3 ประเมินความเสี่ยง (2) โอกาสแพร่กระจายไปยังจังหวัดอื่นๆ รวมทั้ง กทม.
ตั้งแต่เดือน พย. จะเข้าสู่ฤดูเก็บเกี่ยวพืชผล แรงงานเกษตรชาวเขาจำนวนมาก จะหมุนเวียนเคลื่อนย้ายทำงาน ในแถบจังหวัดภาคเหนือและอีสานตอนบน ในช่วงเดือน พย. – มค. เป็นฤดูการท่องเที่ยว ประชาชนจากจังหวัดต่างๆ รวมทั้งชาวต่างชาติ จะมาท่องเทียวใน จ.เลย และพื้นที่ใกล้เคียง กลางเดือน ธค. จะมีการชุมนุมใหญ่ของชาวม้ง (World Hmong Assembly) ชาวม้งจากประเทศต่างๆจำนวนมาก จะมารวมตัว ร่วมกิจกรรมเฉลิมฉลอง เป็นช่วงเวลาหลายวัน นักเรียน โรงเรียนสงเคราะห์ชาวเขา มีอยู่ในหลายจังหวัด และนักเรียนอาจหมุนเวียนเคลื่อนย้ายระหว่างพื้นที่ ชาววังสะพุงจำนวนมาก เดินทางมาขายล็อตเตอรี่ใน กทม. และจังหวัดอื่นๆ ไป-กลับเป็นประจำ 18 Oct 2012 To be verified

4 ยุทธศาสตร์การควบคุมป้องกันโรค
เร่งควบคุมแหล่งโรค ในจังหวัดเลย ป้องกันกลุ่มเสี่ยงในจ.เลยและพื้นที่ใกล้เคียงรวม 8 จว. ประเมินความเสี่ยงและป้องกันโรคในจังหวัดอื่นในประเทศ Strengthening immunization program Emergency response

5 พื้นที่เสี่ยง พื้นที่ระบาด พื้นที่อื่นๆ

6 พื้นที่เสี่ยง วัคซีน /ยา NPI พื้นที่ระบาด พื้นที่อื่นๆ

7 พื้นที่เสี่ยง พื้นที่เสี่ยง
พื้นที่ระบาด วัคซีน พื้นที่เสี่ยง พื้นที่อื่นๆ

8 พื้นที่เสี่ยง พื้นที่เสี่ยง
พื้นที่ระบาด วัคซีน พื้นที่เสี่ยง พื้นที่อื่นๆ

9 มาตรการตามระดับพื้นที่
รณรงค์ ให้วัคซีน สอบสวนให้ยา อื่นๆ ระบาด รณรงค์ในเด็กและผู้ใหญ่ เก็บตกในเด็ก ผู้ป่วย & ผู้สัมผัส (พาหะ) สุขศึกษา NPI เสี่ยง รณรงค์ในเด็ก - พื้นที่เสี่ยง พื้นที่อื่นๆ

10 พค. 2555 มิย. กค. สค. กย. ตค. กรม คร. ส่งทีมสำนักระบาดวิทยา และ สคร. สนับสนุน สสจ. สอบสวน ควบคุมโรค กรม คร. ประสานสั่งการโดย war room และ VDC กับ สคร. ประจำสัปดาห์ กรม คร. หารือปลัดฯ ไพจิตรและผู้ตรวจฯ ปลัดฯ ประชุม สสจ.8 จว.โดย VDC 26 กย. อธิบดี คร. ให้นโยบายระดมกำลัง คร. ช่วยควบคุมโรค กรม คร. หารือปลัดฯ ณรงค์ ปลัดฯ ให้จัดประชุม ที่ จ.เลย ปลัด สธ.ให้ยก ระดับความร่วมมือ เร่งรัดควบคุมโรคให้สงบโดยเร็ว เกิดการระบาดใน สปป.ลาว สธ. ส่ง DAT ไปช่วย เริ่มพบผู้ป่วยใน อ.ด่านซ้าย จ.เลย ส่วนใหญ่เป็นผู้ใหญ่ ผู้ป่วยใน อ.ด่านซ้าย มีมากขึ้น ส่วนใหญ่เป็นผู้ใหญ่ และพบผู้ป่วยใน อ. ผาขาว การระบาดใน อ.ด่านซ้ายยังขยายตัว พบผู้ป่วยใน อ. ภูหลวง การระบาดใน อ.ด่านซ้าย ชะลอตัว พบการระบาดในโรงเรียน อ.วังสะพุง พบผู้ป่วยใน จ.เพชรบูรณ์ และ หนองบัวลำภู การระบาดใน อ.วังสะพุง ชะลอตัว พบผู้ป่วยใน จ. อุดร และผู้ป่วยสงสัย ใน จ.สกลนคร พบผู้ป่วยเด็กทารกจากฝั่งลาว สถานการณ์โรคคอตีบระบาดใน สปป.ลาว ไม่มีข้อมูลชัดเจน คาดว่ายังมีการระบาดอย่างต่อเนื่อง 18 Oct 2012 To be verified

11 การสนับสนุนของกรมต่างๆ เพื่อควบคุมโรคคอตีบ
การสนับสนุนของกรมต่างๆ เพื่อควบคุมโรคคอตีบ กรม คร. สนับสนุนการควบคุมโรค ด้านวิชาการ ปฏิบัติการ และเวชภัณฑ์ กรม ว. พัฒนาศักยภาพและสนับสนุนการชันสูตร ของ รพ.ในพื้นที่เป้าหมาย กรม พ. ฝึกอบรมแพทย์ และให้คำปรึกษาแก่แพทย์ในพื้นที่เป้าหมาย ให้สามารถดูแลผู้ป่วยคอตีบได้อย่างมีประสิทธิภาพ กรม อ. ส่งเสริมพฤติกรรมอนามัยป้องกันโรค (ล้างมือ ใช้หน้ากากอนามัย) กรม สบส. สนับสนุนให้ อสม. ช่วยเฝ้าระวังโรคและให้สุขศึกษาในชุมชน 18 Oct 2012 To be verified

12 การสนับสนุนของกรม คร. ด้านวิชาการ
ทีมส่วนกลางฝึกอบรม แนะนำ ทีม สคร. (SRRT, PHER, ผู้ประสาน EPI) ทีมสคร. ฝึกอบรม แนะนำ ทีม 8 จังหวัด (SRRT, PHER, ผู้ประสาน EPI) ส่วนกลางและ สคร. ให้คำปรึกษาแก่จังหวัด โดยเฉพาะ ICS จากสื่อสารทางไกล หรือ ในพื้นที่ ด้านปฏิบัติการ ทีม SRRT สคร. (pooled) และ ทีมส่วนกลาง (pooled) ลงปฏิบัติการสนับสนุนจังหวัด ตามจำเป็น (โดยเฉพาะในช่วงแรก) ด้านเวชภัณฑ์และวัสดุ dT, antibiotics, (some) lab supply, other. 18 Oct 2012 To be verified

13 พื้นที่ 1 พื้นที่ 2 พื้นที่ 3
ระบบประสาน สั่งการ (ICS) ในจังหวัดเลย ผู้ตรวจราชการ สธ. กรม คร. ICS ปรึกษา แนะนำ ทางวิชาการ สสจ. เลย (Incidence commnader ) ผอ. สคร 6 หรือผู้แทน พื้นที่ 1 พื้นที่ 2 พื้นที่ 3 ผชพว. 1 (Assis. IC) ผชพว. 2 (Assis. IC) ผชพว. 3 (Assis. IC) ทีม ปฏิบัติการ ทีม ปฏิบัติการ ทีม ปฏิบัติการ ปรึกษา แนะนำ ทางวิชาการและปฏิบัติการ ทีม สคร. ทีม สคร. ทีม สคร. ร่าง วันที่ 15 ตุลาคม 2555

14 เครื่องมือที่เราใช้ วัคซีน (Toxoid) ป้องกันการป่วยเฉพาะราย (ไม่ป้องกันการติดเชื้อ) ยาปฏิชีวนะ กำจัดแหล่งโรค โดยฆ่าเชื้อในผู้ป่วยและผู้ที่เป็นพาหะ NPI หน้ากากอนามัย ป้องกันการแพร่เชื้อจากผู้ป่วย ล้างมือ ป้องกันแพร่เชื้อจากผู้ป่วยและพาหะ และป้องกันรับเชื้อโดยคนทั่วไป


ดาวน์โหลด ppt ยุทธศาสตร์การควบคุมป้องกัน การระบาดของคอตีบ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google