งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

( วงจรชีวิตและชีวนิสัย )

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "( วงจรชีวิตและชีวนิสัย )"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ( วงจรชีวิตและชีวนิสัย )
ชีววิทยาของยุง ( วงจรชีวิตและชีวนิสัย ) นายสุชาติ ผาติพงศ์ B.Sc. (Biology), Kasetsart University M.Sc. (Tropical Medicine), Mahidol University นักวิชาการสาธารณสุข 8ว กลุ่มเทคโนโลยีการควบคุมแมลงนำโรค สำนักโรคติดต่อนำโดยแมลง กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข

2 วงจรชีวิตของยุง อากาศ น้ำ ลูกน้ำ ตัวเต็มวัย (ตัวผู้ , ตัวเมีย) ตัวโม่ง
ไข่ ลูกน้ำ ลูกน้ำ (4 ระยะ)

3 การดำรงชีวิตของยุงหลังจากเกิดมาแล้ว
เกาะพักนอกบ้าน กินเลือดสัตว์ กินเลือดคน เกาะพักในบ้าน ยุงตัวเมียผสมพันธุ์ วางไข่

4 ชีวนิสัยที่สำคัญของยุง
คำศัพท์ : Anthropo - คน Zoo - สัตว์ Endo - ในบ้าน Exo - นอกบ้าน Philic - ชอบ Phagic - กัดกิน 1. นิสัยการเลือกชนิดเหยื่อ ชอบเลือดคน ( Anthropophilic ) ชอบเลือดสัตว์ ( Zoophilic ) 2. นิสัยการเลือกสถานที่หากิน หากินในบ้าน ( Endophagic ) หากินนอกบ้าน ( Exophagic ) 3. นิสัยการเลือกสถานที่เกาะพัก ชอบเกาะพักในบ้าน ( Endophilic ) ชอบเกาะพักนอกบ้าน ( Exophilic )

5 MALARIA VECTORS IN THAILAND
72 species of Anopheline mosquitoes were found in Thailand 10 species are involved in the malaria transmission 1. Primary vectors: play major role in transmission of malaria. 1.1 Anopheles dirus 1.2 Anopheles minimus 1.3 Anopheles maculatus 2. Secondary vectors : play a minor role in transmission of malaria. 2.1 Anopheles sundaicus 2.2 Anopheles aconitus 2.3 Anopheles pseudowillmori 3. Suspected vectors :may play a role of transmission in some occasion 3.1 An.campestris An.barbirostris, 3.2 An.culicifacies An.philippinensis

6 MALARIA VECTOR BIONOMIC

7 ยุงพาหะนำโรค ยุงพาหะนำโรคมาลาเรียคือ ยุงก้นปล่องมี 3 ชนิด : An.dirus An.minimus An.maculatus

8 แหล่งเพาะพันธุ์ของ ยุงพาหะมาลาเรีย
ชอบกินเลือดคน

9 ชีวนิสัยที่สำคัญของยุงAn.minimus
1. นิสัยการเลือกชนิดเหยื่อ ชอบเลือดคน ( Anthropophilic ) > ชอบเลือดสัตว์ ( Zoophilic ) 2. นิสัยการเลือกสถานที่หากิน หากินนอกบ้าน ( Exophagic ) > หากินในบ้าน ( Endophagic ) 3. นิสัยการเลือกสถานที่เกาะพัก เกาะพักนอกบ้าน ( Exophilic ) > เกาะพักในบ้าน ( Endophilic )

10 พ่นสารกำจัดแมลง Deltamethrin ให้มีฤทธิ์ตกค้างอยู่ตามบ้านเรือน
วิธีควบคุมยุงก้นปล่องพาหะโรคมาลาเรีย พ่นสารกำจัดแมลง Deltamethrin ให้มีฤทธิ์ตกค้างอยู่ตามบ้านเรือน ชุบมุ้งด้วยสารกำจัดแมลง Permethrin

11 Seasonal Prevalence of An.minimus

12 Seasonal Prevalence of An.dirus

13 Biting patterns of 3 main malaria vectors in Thailand

14 Area Stratification for Malaria Prevention & Control
Endemic area Pop. 2,853,208 (4.6%) 1.Perennial transmission (A1) Population = 496,387 ( 0.7%) 2.Periodic transmission (A2) Population = 2,356,821 (3.9%) Non endemic area Pop.57,993,448 (95.4%) 1.Non transmission but high risk (B1) Population = 6,751,575 (11.2%) 2.Non transmission and low risk (B2) Population = 29,943,028 ( 49.2%) 3.Non transmission and integrated to the general public health system Population = 21,298,845 ( 35 % ) Lao Myanmar Cambodia Malaysia

15 ยุงพาหะนำโรคไข้เลือดออกคือ ยุงลาย ซึ่งมี 2 ชนิดคือ ยุงลายบ้าน ยุงลายสวน

16 แหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายบ้าน

17 แหล่งเพาะพันธุ์ของยุงลายสวน
สีวิกา แสงธาราทิพย์ สำนักงานควบคุมโรคไข้เลือดออก

18 ชีวนิสัยที่สำคัญของยุงลาย (Ae.aegypti)
1. นิสัยการเลือกชนิดเหยื่อ ชอบเลือดคน ( Anthropophilic ) สูงมาก 2. นิสัยการเลือกสถานที่หากิน หากินในบ้าน ( Endophagic ) สูงมาก 3. นิสัยการเลือกสถานที่เกาะพัก ชอบเกาะพักในบ้าน ( Endophilic ) สูงมาก

19 ควบคุมลูกน้ำ : วิธีทางกายภาพ ใช้สารเคมี(ทรายอะเบท)
วิธีการควบคุมยุงลายนำโรคไข้เลือดออก ควบคุมลูกน้ำ : วิธีทางกายภาพ ใช้สารเคมี(ทรายอะเบท) ควบคุมตัวยุง : พ่นฟุ้ง (หมอกควัน หรือ ฝอยละเอียด)

20 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ณ วันที่ 29 ธ.ค. 45 – 27 ธ.ค. 46 N ภาคเหนือ 89.38 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 89.04 1. ระยอง 2. พิจิตร 3. นครปฐม 4. ประจวบคีรีขันธ์ 5. อุบลราชธานี 6. นครสวรรค์ 7. ศรีสะเกษ 8. ยะลา 9. นราธิวาส 10. สุรินทร์ ภาคกลาง 118.51 ภาคใต้ 94.87 แหล่งข้อมูล : รายงานข้อมูล E2 สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค จัดทำโดย : กลุ่มโรคไข้เลือดออก สำนักโรคติดต่อนำโดยแมลง จัดทำเมื่อ : วันที่ 29 ธันวาคม 2546

21 ยุงพาหะนำโรคเท้าช้างคือ ยุงเสือทางภาคใต้
ยุงพาหะนำโรคเท้าช้างคือ ยุงเสือทางภาคใต้ แหล่งเพาะพันธุ์ยุงเสือ

22 ยุงลายป่า ทางภาคตะวันตก
แหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายป่า

23 ชีวนิสัยที่สำคัญของยุง (Mansonia spp.)
1. นิสัยการเลือกชนิดเหยื่อ ชอบเลือดคน ( Anthropophilic ) = ชอบเลือดสัตว์ ( Zoophilic ) 2. นิสัยการเลือกสถานที่หากิน หากินนอกบ้าน ( Exophagic ) 3. นิสัยการเลือกสถานที่เกาะพัก ชอบเกาะพักนอกบ้าน ( Exophilic )

24 วิธีการควบคุม ป้องกันตนเองโดยใช้ยาทากันยุง

25 แหล่งแพร่โรคเท้าช้างในประเทศไทย
แม่ฮ่องสอน ลำพูน ตาก กาญจนบุรี ราชบุรี* ระนอง* นครศรีธรรมราช สุราษฎร์ธานี กระบี่ นราธิวาส Endemic area Non Endemic area

26 ยุงพาหะนำโรคไข้สมองอักเสบคือ ยุงรำคาญ
ยุงรำคาญในเมืองที่มีเพาะพันธุ์ตามแหล่งน้ำเน่าเสียนั้นไม่เป็นยุงพาหะ ยุงรำคาญทุ่งนาซึ่งมีแหล่งเพาะพันธุ์ในน้ำขังตามทุ่งนาและฟาร์มเลี้ยงสัตว์ แหล่งเพาะพันธุ์ * น้ำขังในนาข้าวหลังฤดูเก็บเกี่ยว * น้ำขังในทุ่งหญ้ารอบๆนาข้าว * น้ำขังบริเวณรอบๆคอกสัตว์ วิธีการควบคุม * พ่นหมอกควัน * กับดักแสงไฟ

27 ชีวนิสัยที่สำคัญของยุงรำคาญทุ่งนา
1. นิสัยการเลือกชนิดเหยื่อ ชอบเลือดสัตว์ ( Zoophilic ) > ชอบเลือดคน ( Anthropophilic ) 2. นิสัยการเลือกสถานที่หากิน หากินนอกบ้าน ( Exophagic ) > หากินในบ้าน ( Endophagic ) 3. นิสัยการเลือกสถานที่เกาะพัก ชอบเกาะพักนอกบ้าน ( Exophilic ) > ในบ้าน ( Endophilic )

28 Thank you


ดาวน์โหลด ppt ( วงจรชีวิตและชีวนิสัย )

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google