งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

จิราณี ปัญญาปิน พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ พย.ม. การผดุงครรภ์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "จิราณี ปัญญาปิน พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ พย.ม. การผดุงครรภ์"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 จิราณี ปัญญาปิน พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ พย.ม. การผดุงครรภ์
บริการที่น่าไว้วางใจ สำหรับหญิงตั้งครรภ์ เพื่อป้องกันทารกน้ำหนักตัวน้อย จิราณี ปัญญาปิน พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ พย.ม. การผดุงครรภ์

2 หลักการและเหตุผล ทารกแรกเกิด น้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัมเป็นปัญหาสำคัญด้านงานอนามัยแม่และเด็กในหลายประเทศ,หลายๆจังหวัด ในประเทศไทย อำเภอเชียงแสน ที่มีอัตราทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อย มากกว่าเกณฑ์ชี้วัดมาโดยตลอด MCH Board เชียงแสน-ดอยหลวง จึงมีความตื่นตัวต่อปัญหา ในการสังเกตพบความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นและป้องกันความเสี่ยงหรือผลกระทบที่จะตามมา

3 ผู้รับบริการทั้งชาวไทยพื้นราบ ชาวเขาและต่างประเทศ
MCH BOARD Chiang Saen-Doiloung ผู้รับบริการทั้งชาวไทยพื้นราบ ชาวเขาและต่างประเทศ หญิงตั้งครรภ์รายใหม่ ปี รวม 706 ราย เฉลี่ยผู้มารับบริการฝากครรภ์ ราย/วัน เฉลี่ยผู้มารับบริการคลอด 2 ราย/วัน, ราย/ปี

4 ยุทธศาสตร์พัฒนางานอนามัยแม่และเด็ก ปี 2553- 2556
GOAL ลูกเกิดรอด แม่ปลอดภัย เด็กเติบโต พัฒนาการสมวัย ปี ……………………………………………………….. BA=30:1000 เกิดมีชีพ LBW = 7% นมแม่ : 50% พัฒนาการสมวัย= 90% เด็ก 3 ปีฟันไม่ผุ=43% เด็กน้ำหนักตามเกณฑ์อายุ=85% เด็กส่วนสูงตามเกณฑ์อายุ =43% เด็กรูปร่างสมส่วน=85% หญิงตั้งครรภ์ขาดไอโอดีน=50% เป้าหมาย แม่และเด็กมีพฤติกรรมสุขภาพดีขึ้น 1.ฝากท้องเร็ว 2. กินนมแม่ 3.เล่า/อ่านนิทานให้ลูกฟัง 4. เล่นกับลูก 5. อาหารตามวัย

5 อัตราการเกิดภาวะ LBW อำเภอเชียงแสน-ดอยหลวง

6 ปัจจัยสาเหตุของการเกิด LBW

7 ความเป็นมาและความสำคัญ
การคลอดก่อนกำหนด Preterm labor ภาวะทารกเจริญเติบโต ช้าในครรภ์ [IUGR] ทารกแรกเกิด น้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม LBW (Matin., et al, 2008)

8 ปัจจัยที่สามารถป้องกัน Low Birth Weight
ภาวะโภชนาการและน้ำหนักของมารดาขณะตั้งครรภ์ การติดเชื้อขณะตั้งครรภ์ การป้องกันทารกคลอดก่อนกำหนด การจัดบริการที่น่าไว้วางใจ การดูแลครรภ์/ฝากครรภ์ที่มีคุณภาพ

9 MCH BOARD Chiang Saen-Doiloung
การพัฒนารูปแบบการดำเนินการแก้ไขปัญหา ภาวะทารกน้ำหนักแรกคลอดน้อยกว่า 2500 กรัม เครือข่ายเชียงแสน-ดอยหลวง MCH BOARD Chiang Saen-Doiloung

10 ความเป็นมาและความสำคัญ
LBW การศึกษาวิเคราะห์ปัจจัยเสี่ยงใน แต่ละพื้นที่ อัตราการเกิดภาวะทารกแรกคลอดน้ำหนักน้อยกว่า 2500 กรัม ลดลง กำหนดแนวทางลดและแก้ไขปัญหา พัฒนารูปแบบการแก้ไขปัญหา ทารกแรกเกิดน้ำหนักตัวน้อย

11 วัตถุประสงค์การศึกษา
ศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยในมารดาที่มาคลอดที่โรงพยาบาลเชียงแสน เพื่อศึกษาผลการพัฒนารูปแบบเพื่อแก้ไขปัญหาทารกแรกเกิดน้ำหนักตัวน้อยกว่า 2,500 กรัม ในเครือข่ายเชียงแสน- ดอยหลวง

12 วิธีการดำเนินการศึกษา
รูปแบบการวิจัย เป็นการวิจัยและพัฒนา (Research and Development) รูปแบบการวิจัย ระยะที่ 1 : cohort study ศึกษาจากสาเหตุไปหาผล ระยะที่ 2 : การวิจัยเชิงปฏิบัติการ two group quasi-experiment study เพื่อศึกษาปัจจัยสาเหตุของการเกิดปัญหาทารกแรกเกิดน้ำหนักตัวน้อยกว่า 2,500 กรัม ตลอดจนพัฒนารูปแบบการแก้ไขปัญหาที่เหมาะสมในเครือข่าย กรอบแนวคิด 3C-PDSA กระบวนการพัฒนาคุณภาพ สรพ.

13 วิธีการดำเนินการศึกษา
ระยะที่ 1 การศึกษาปัจจัยเสี่ยง LBW เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามมารดาที่คลอดบุตร ทุกรายที่มาคลอดในโรงพยาบาลเชียงแสนระหว่างเดือนตุลาคม 2553 ถึง เดือนมีนาคม พ.ศ กลุ่มศึกษาน้ำหนักตัวแรกคลอดน้อยกว่า 2,500 กรัม และกลุ่มควบคุมคือกลุ่มมารดาที่คลอดบุตรน้ำหนักปกติ ระยะที่ 2 พัฒนารูปแบบการดำเนินงานเพื่อการแก้ไขปัญหา LBW วิเคราะห์ผลการศึกษาปัจจัยเสี่ยง นำข้อมูลจัดเวที KM คืนข้อมูลพื้นที่ ร่วมกันพัฒนารูปแบบกิจกรรมการฝากครรภ์เพื่อเฝ้าระวังป้องกันภาวะทารกเจริญเติบโตช้าในครรภ์และป้องกันการคลอดก่อนกำหนด และเก็บรวบรวมผลลัพธ์ประเมินผล

14 การวิเคราะห์ข้อมูล วิเคราะห์เปรียบเทียบข้อมูลปัจจัยที่เพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิด LBW สถิติที่ใช้คือ multiple logistic regression analysis แสดงค่าความเสี่ยงสัมพัทธ์ Odd Ratio (OR) ที่ระดับความเชื่อมั่น 95 % CI ( 95 % Confidence Interval) เปรียบเทียบก่อนและหลังการพัฒนารูปแบบการแก้ไขปัญหาด้วยการใช้สถิติ Chi-square

15 การศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดภาวะทารกน้ำหนักแรกคลอดน้อยกว่า 2,500 กรัม
เครือข่ายเชียงแสน-ดอยหลวง

16 *statistical significant at p < 0.01
ตาราง ปัจจัยเสี่ยงของมารดาที่มีผลต่อการเกิดทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม เมื่อวิเคราะห์ด้วยวิธี multiple logistic regression analysis ปัจจัย OR 95% CI การคลอดก่อนกำหนด (อายุครรภ์น้อยกว่า 37 สัปดาห์) 22.6 น้ำหนักเพิ่มขึ้นตลอดการตั้งครรภ์น้อยกว่า 10 กิโลกรัม 20.6 6.4 – 64.8 มีภาวะเครียดขณะตั้งครรภ์ 16.5 5.7 – 45.3 การหยุดทำงานเพื่อพักผ่อนก่อนคลอด 15.4 4.8 – 35.1 การไม่ฝากครรภ์ ฝากครรภ์น้อยกว่า 4 ครั้งคุณภาพ 7.8 4.3 – 23.7 จำนวนชั่วโมงการทำงาน >40 ชม./สัปดาห์ 2.3 1.7 – 4.5 มีภาวะโลหิตจางขณะตั้งครรภ์ 2.2 *statistical significant at p < 0.01

17 พัฒนารูปแบบเฝ้าระวังแก้ไขปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดทารกน้ำหนักน้อยในเครือข่าย

18 แนวทางการพัฒนาเพื่อส่งเสริมหญิงมีครรภ์เพื่อแก้ไขปัญหา LBW
การปรับเปลี่ยนเกณฑ์การคัดกรองหญิงมีครรภ์ที่ภาวะเสี่ยง (High Risk pregnancy screening) ใช้แนวคิด ANC แบบพอเพียง (WHO) 5 ครั้ง ในกลุ่มที่ไม่มีปัจจัยเสี่ยง เน้นการคัดกรองความเสี่ยงและค้นหามารดาที่มีปัจจัยเสี่ยงเพื่อให้การดูแลอย่างใกล้ชิด screening preterm labor, GDM, Anemia, PIH เพิ่มการตรวจคัดกรองภาวะเครียดในหญิงมีครรภ์

19 วิธีการดำเนินการจัดบริการให้น่าไว้วางใจ
จัดทำเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้นำข้อมูลการศึกษาปัจจัยเสี่ยง รวมวางแผนพัฒนา ANC แนวใหม่แบบพอเพียง จัดบอร์ดประชาสัมพันธ์ป้องกันการคลอดก่อนกำหนด การปรับเปลี่ยนรูปแบบการพัฒนาเพื่อแก้ไข LBW

20 แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์การพัฒนาอนามัยเจริญพันธุ์วัยรุ่นและเยาวชนในพื้นที่อำเภอเชียงแสนจังหวัดเชียงราย ภายในปี พ.ศ (SRM) วันรุ่นและเยาวชนมีความสามารถป้องกันการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ วัยรุ่นและเยาวชนมีความรู้ความเข้าใจอนามัยเจริญพันธ์ที่ปลอดภัย สร้างค่านิยมพฤติกรรมทางเพศที่ปลอดภัยและเหมาะสมกับวัย ส่งเสริมความรู้ทักษะอนามัยเจริญพันธ์ ครอบครัวมีความรู้ความเข้าใจอนามัยเจริญพันธ์ในวัยรุ่นและเยาวชน เสริมสร้างสัมพันธภาพที่ดีในครอบครัว สร้างแบบอย่างที่ดีในครองครัวเกี่ยวกับอนามัยเจริญพันธ์ ชุมชน/ท้องถิ่นเข้มแข็งพัฒนางานอนามัยเจริญพันธ์ สร้างกระบวนการเรียนรู้ร่วมกัน และภาคีเครือข่าย รณรงค์วัฒนธรรมประเพณีไทย รักนวลสงวนตัว มีแบบอย่างที่ดีในชุมชน พ่อแม่ เอาใจใส่บุตรหลาน ประชาชน สถานศึกษาพัฒนาคุณภาพ สร้างหลักสูตรเพสศึกษาในวัยรุ่น/เยาวชน พัฒนาการเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพ สอดแทรกความรู้เรื่องเพศศึกษา หน่วยงานภาครัฐ,สธ,เอกชนสนับสนุนและร่วมดำเนินการ พัฒนาระบบบริการที่เป็นมิตรกับเยาวชน สร้างระบบการประสานงาน สนับสนุนการทำงานร่วมกันกับภาคีเครือข่าย องค์กรชุมชน ขับเคลื่อนการดำเนินงาน สร้างศูนย์เรียนรู้ในชุมชน สร้างมาตรการทางสังคม(ธรรมนูญชุมชน) ภาคี ประชาสัมพันธ์/รณรงค์อย่างต่อเนื่อง เคาะประตูสื่อสารโดย อสม./ผู้นำชุมชน เสียงตามสาย, ดีเจน้อย รถ mobile ประชาสัมพันธ์ ปั่นจักรยานรณรงค์ มีการใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ กำกับติดตามประเมินผลตามเกณฑ์ อสม., จนท.รพ/รพสต. ติดตามการรายงานข้อมูล แลกเปลี่ยนเรียนรู้นวัตกรรม จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้/คืนข้อมูลให้ชุมชนเกี่ยวกับ การตั้งครรภ์ในวัยรุ่น สร้างครอบครัวตัวอย่าง พัฒนางานวิจัยด้านอนามัยเจริญพันธุ์ กระบวนการ บุคลากรมีความรู้และทักษะอนามัยเจริญพันธุ์ อบรม/ศึกษาดูงาน จนท.,อสม.,ผดด, ผู้ปกครอง,ครู/ผู้ดูแลเด็ก ทีมงานเข้มแข็ง สนับสนุนผู้นำเข้มแข็ง,บรรยากาศส่งเสริมในการทำงาน อบต.,เทศบาล,ครู,พระ,อสม.,กรรมการ MCH ปรับเปลี่ยนทัศนคติ ความเชื่อ และสร้างแรงจูงใจ ผู้สูงวัยใส่ใจแม่และเด็ก ใช้ประโยชน์จากศูนย์สามวัย เคาะประตูสื่อสาร โรงเรียนพ่อแม่สัญจร ระบบข้อมูลที่เชื่อมโยง คืนข้อมูลอนามัยแม่และเด็กให้กับชุมชน(จากการรวบรวม) พัฒนาข้อมูลอนามัยเจริญพันธุ์ ใช้ระบบ IT ส่งต่อข้อมูลระหว่างรพ.กับชุมชน พื้นฐาน

21 ให้ความรู้ รณรงค์ป้องกันการตั้งครรภ์และเพศสัมพันธุ์ปลอดภัยในวัยรุ่น ผ่านคลื่นวิทยุชุมชน
เผยแพร่ความรู้ การป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น การตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ พร้อมแนะนำคลินิกเพื่อนใจวัยทีน

22 ให้ความรู้และการปฏิบัติตัวเพื่อการป้องกันการคลอด
การป้องกันการคลอดก่อนกำหนด ให้ความรู้และการปฏิบัติตัวเพื่อการป้องกันการคลอด ก่อนกำหนด

23 พัฒนารูปแบบการให้ความรู้แก่หญิงตั้งครรภ์และสามี ในรูปแบบโรงเรียนพ่อแม่
งานฝากครรภ์คุณภาพ พัฒนารูปแบบการให้ความรู้แก่หญิงตั้งครรภ์และสามี ในรูปแบบโรงเรียนพ่อแม่ พัฒนารูปแบบการให้บริการฝากครรภ์สตรีกลุ่มเสี่ยงเฉพาะ (ANC high risk clinic)

24 โครงการพัฒนางานสายใยรักแห่งครอบครัวสู่ชุมชน

25 พัฒนาการฝากครรภ์ รูปแบบใหม่เพิ่มเติม
การประชาสัมพันธ์การฝากครรภ์ ครั้งแรกโดยเร็ว คัดกรองความเสี่ยงและค้นหามารดาที่มีปัจจัยเสี่ยงเพื่อให้การดูแลอย่างใกล้ชิด การให้ความรู้ด้านโภชนาการและติดตามภาวะโภชนาการแก่มารดาตั้งครรภ์ Vallop curve ส่งเสริมภาวะโภชนาการตามวิถีชุมชนหรืออาหารพื้นบ้าน มีระบบส่งต่อภายในเครือข่ายที่มีประสิทธิภาพ ร่วมกับการฝากครรภ์ที่เป็นแนวทางเดียวกันทั้งเครือข่าย

26 โครงการ นิเทศการดำเนินงานอนามัยแม่และเด็ก
โครงการ นิเทศการดำเนินงานอนามัยแม่และเด็ก ติดตามการปฏิบัติงาน ปัญหาอุปสรรค การนิเทศงาน เพื่อเตรียมการเปลี่ยนแปลงรูปแบบการพัฒนาแนวใหม่

27 การพัฒนารูปแบบการแก้ไขปัญหา LBW
ผลการวิจัยหลัง การพัฒนารูปแบบการแก้ไขปัญหา LBW back

28 เปรียบเทียบสัดส่วนการเกิดทารกแรกคลอดน้อยกว่า 2,500 กรัม กลุ่มมารดาได้รับการดูแลการฝากครรภ์ที่พัฒนารูปแบบเฝ้าระวังแก้ไขปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดทารกน้ำหนักน้อยและกลุ่มมารดาได้รับการฝากครรภ์ตามปกติ ผลลัพธ์ กลุ่มมารดาได้รับการฝากครรภ์ตามปกติ (n = 210) กลุ่มมารดาที่ได้รับการฝากครรภ์รูปแบบใหม่ (n = 226) p-value จำนวน ร้อยละ การเกิดทารกแรกคลอดน้อยกว่า 2,500 กรัม 26 12.38 10 4.42 .002* *รูปแบบเดิม ช่วง ต.ค 53-มี.ค 54 รวม 6 เดือน *รูปแบบใหม่ ช่วง ต.ค 54-มี.ค 55 รวม 6 เดือน

29 บทเรียนที่ได้รับ การจัดบริการที่น่าไว้วางใจสำหรับหญิงตั้งครรภ์ เพื่อป้องกันหรือลดภาวะทารกน้ำหนักตัวน้อย ควรใช้ข้อมูลพื้นฐานปัจจัยเสี่ยงที่สามารถป้องกันแก้ไขในระยะตั้งครรภ์ตามบริบทพื้นที่ นำมาวางแผนและและการดำเนินการปรับปรุงวิธีการปฏิบัติต่างๆ ปรับวิธีการทำงาน รวมถึงมีนโยบายที่ชัดเจนเพื่อป้องกันปัญหา ให้ความใส่ใจในคุณภาพ การฝากครรภ์ ทั้งนี้เพื่อสามารถแก้ไขปัญหาให้เหมาะสมกับบริบทของพื้นที่ต่อไป ส่งผลให้อัตราการเกิด LBW ลดลง

30 ขอบคุณ และ สวัสดี


ดาวน์โหลด ppt จิราณี ปัญญาปิน พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ พย.ม. การผดุงครรภ์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google