งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การท่าเรือแห่งประเทศไทย (กทท.)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การท่าเรือแห่งประเทศไทย (กทท.)"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การท่าเรือแห่งประเทศไทย (กทท.)
สำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ (สคร.) : กระทรวงการคลัง STATE ENTERPRISE LAW FOCUS : รายแห่ง ข้อมูลทั่วไป การท่าเรือแห่งประเทศไทย (กทท.) สังกัด : กระทรวงคมนาคม ประธานกรรมการ : นายชลอ คชรัตน์ กรรมการผู้แทน กค. : นางฉวีวรรณ คงเจริญกิจกุล Website : โทร   พระราชบัญญัติคุณสมบัติมาตรฐานสำหรับกรรมการและพนักงานรัฐวิสาหกิจ พ.ศ และที่แก้ไขเพิ่มเติม คุณสมบัติและลักษณะต้องห้ามของบุคลากรรัฐวิสาหกิจ ประกอบด้วย กรรมการ (ม.5) ผู้บริหารสูงสุด (ม. 8 ตรี) พนักงาน (ม.9) จำนวนกรรมการ ไม่เกิน 11 คน แต่ถ้ารัฐวิสาหกิจใดมีข้อกำหนดให้มีกรรมการน้อยกว่า 11 คน ก็ให้เป็นไปตามที่กำหนดไว้ แต่ถ้าจำเป็นต้องมีกรรมการเกินกว่า 11 คน ให้รัฐมนตรีเจ้าสังกัดขออนุมัติจาก ครม. แต่รวมแล้วต้องไม่เกิน 15 คน (ม. 6) การนับจำนวนการดำรงตำแหน่งของกรรมการในรัฐวิสาหกิจ ไม่เกิน 3 แห่ง นับรวมการเป็นกรรมการโดยตำแหน่ง การได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติราชการแทน แต่ไม่รวมการเป็นกรรมการโดยตำแหน่งที่ได้มีการมอบหมายให้ผู้อื่นปฏิบัติราชการแทน (ม. 7) วาระการดำรงตำแหน่ง 3 ปี กรณีกรรมการที่มิใช่กรรมการโดยตำแหน่ง แต่อาจได้รับแต่งตั้งใหม่ (ม. 8) การแต่งตั้งกรรมการอื่น ผู้มีอำนาจพิจารณาแต่งตั้งจากบุคคลในบัญชีรายชื่อกรรมการที่กระทรวง การคลังจัดทำขึ้น ไม่น้อยกว่า 1 ใน 3 ของจำนวนกรรมการอื่นของรัฐวิสาหกิจนั้น (ม. 12/1 วรรค 1) การกำหนดค่าตอบแทนและร่างสัญญาจ้างผู้บริหารสูงสุด คณะกรรมการรัฐวิสาหกิจกำหนด โดยความเห็นชอบของกระทรวงการคลัง (ม. 8 จัตวา วรรคเจ็ด) ข้อมูลเกี่ยวกับสัญญาจ้างผู้บริหารสูงสุด ผู้อำนวยการ (CEO) : นายเฉลิมชัย มีคุณเอี่ยม สัญญาจ้างลงวันที่ : 20 มกราคม 2553 ระยะเวลาจ้าง : 20 ม.ค มี.ค. 55  วาระหนึ่ง  วาระสอง ตำแหน่งเดิมก่อนเป็น CEO  Board  รอง CEO  บุคคลภายนอก (รองผู้ว่าการการท่าเรือแห่งประเทศไทย) รอง CEO  พนักงาน  สัญญาจ้าง CFO  พนักงาน  สัญญาจ้าง พระราชบัญญัติการท่าเรือแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2494 พระราชบัญญัติการประปาส่วนภูมิภาค พ.ศ. 2522 เงินเดือนพนักงาน วัตถุประสงค์ (ม. 6) รับโอนกิจการท่าเรือจากสำนักงานท่าเรือกรุงเทพฯ ในกรมการขนส่งกระทรวงคมนาคม ประกอบและส่งเสริมกิจการท่าเรือเพื่อประโยชน์แห่งรัฐและประชาชน ดำเนินกิจการอื่นที่เกี่ยวกับหรือต่อเนื่องกับการประกอบกิจการท่าเรือ (ดู ม. 10 ประกอบ) กลุ่มโครงสร้างเงินเดือน  คณะกรรมการกำหนดโครงสร้างเงินเดือนได้เอง  มีบัญชีโครงสร้างเงินเดือนของตนเอง  ใช้บัญชีโครงสร้างเงินเดือน 58 ขั้น อัตราเงินเดือนขั้นสูงสุด ขั้นที่ 58 Min-max ของเงินเดือน : 5,510 – 113,520 บาท อัตราเงินเดือนแรกบรรจุ (ปริญญาตรี 4 ปี) : 8,610 บาท จำนวนพนักงาน : 3,117 คน (31 พ.ค. 54) จำนวนและองค์ประกอบคณะกรรมการ กำหนดให้คณะกรรมการ กทท. ประกอบด้วยประธานคณะกรรมการ 1 คน กรรมการอื่นไม่น้อยกว่า 6 คน แต่ไม่เกิน 10 คน ซึ่งอย่างน้อยจะต้องเป็นผู้มีความรู้ และจัดเจนเกี่ยวกับการท่าเรือ 1 คน และเกี่ยวกับเศรษฐกิจหรือการคลัง 1 คน (ม. 22) วาระการดำรงตำแหน่ง : ประธานกรรมการและกรรมการที่ได้รับแต่งตั้งดำรงตำแหน่ง 4 ปี (ม. 26) (ตามพระราชบัญญัติคุณสมบัติมาตรฐานสำหรับกรรมการและพนักงานรัฐวิสาหกิจ พ.ศ และที่ แก้ไขเพิ่มเติม ม. 8 วรรคสอง กำหนดให้กรรมการรัฐวิสาหกิจที่ไม่ได้เป็นกรรมการโดยตำแหน่งมีวาระการดำรงตำแหน่งคราวละ 3 ปื ซึ่งในกรณีดังกล่าวต้องยึดถือระยะเวลาการดำรงตำแหน่งคราวละ 3 ปี เนื่องจากเป็นหลักกฎหมายที่มีเจตนารมณ์เพื่อกำหนดหลักเกณฑ์เกี่ยวกับระบบของคณะกรรมการและพนักงานรัฐวิสาหกิจเพื่อให้เป็นมาตรฐานเดียวกันโดยเฉพาะอย่างยิ่งในส่วนที่เกี่ยวกับวาระการดำรงตำแหน่ง ตามบันทึกสำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา เรื่องเสร็จที่ 734/2535 เรื่องวาระการดำรงตำแหน่งของคณะกรรมการการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย) ผู้มีอำนาจแต่งตั้งผู้บริหารสูงสุด ให้คณะกรรมการแต่งตั้งผู้อำนวยการด้วยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรี ซึ่งอาจแต่งตั้งกรรมการเป็นผู้อำนวยการก็ได้ (ม. 30) ค่าตอบแทนผู้บริหารสูงสุด ผู้อำนวยการได้รับเงินเดือนตามที่คณะกรรมการกำหนดด้วยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรี (ม. 30 วรรคสอง) ให้คณะกรรมการเป็นผู้แทนการท่าเรือแห่งประเทศไทยในส่วนที่เกี่ยวกับบุคคลภายนอก แต่คณะกรรมการจะมอบหมายให้ผู้อำนวยการหรือพนักงานอื่นใดเป็นผู้แทนๆ ก็ได้ (ม. 24) มติ ครม. ที่ยกเว้นการปฏิบัติเรื่องต่าง ๆ  ยกเว้นการปฏิบัติตามระเบียบ ข้อบังคับ และมติคณะรัฐมนตรีที่ใช้บังคับกับรัฐวิสาหกิจทั่วไป  ยกเว้นการปฏิบัติตามม. 13 (2) พ.ร.บ.แรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ์ พ.ศ. 2543 การดำเนินการตาม พ.ร.บ. ว่าด้วยการให้เอกชนเข้าร่วมงานหรือดำเนินการ ในกิจการของรัฐ พ.ศ. 2535 ในปัจจุบันปรากฏว่ามี 3 โครงการที่มีการปฏิบัติตาม พรบ. ว่าด้วยการให้เอกชนเข้าร่วมงานฯ ได้แก่ โครงการท่าเทียบเรือตู้สินค้า C3 อยู่ในขั้นตอนของคณะกรรมการ ม. 22 โครงการท่าเทียบเรือ A3, C1, C2, D1, D2 และ D3 อยู่ในขั้นตอนของคณะกรรมการ ม. 22 โครงการอู่ต่อเรือบริษัท ยูนิไท จำกัด B5 อยู่ในขั้นตอนของคณะกรรมการ ม. 22 คุณสมบัติเพิ่มเติมจาก พ.ร.บ. คุณสมบัติมาตรฐานฯ กรรมการ ประธานกรรมการและกรรมการต้องไม่มีส่วนได้เสียในสัญญากับการท่าเรือแห่งประเทศไทย หรือในกิจการที่กระทำให้การท่าเรือแห่งประเทศไทย ทั้งนี้ ไม่ว่าโดยตรงหรือโดยอ้อม เว้นแต่จะเป็นเพียงผู้ถือหุ้นของบริษัทที่กระทำการอันมีส่วนได้เสียเช่นว่านั้น (ม. 25) หมายเหตุ ในการพิจารณาคุณสมบัติบุคลากรรัฐวิสาหกิจจะต้องพิจารณา พ.ร.บ. คุณสมบัติมาตรฐานฯ กฎหมายจัดตั้งรัฐวิสาหกิจและกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้องประกอบกัน อำนาจพิเศษตามกฎหมายจัดตั้ง ให้ประธานกรรมการ กรรมการ ผัอำนวยการ และพนักงานของการท่าเรือแห่งประเทศไทย เป็นเจ้าพนักงานตามความหมายแห่งกฎหมายลักษณะอาญา (ม.16) ทรัพย์สินของ กทท. ไม่อยู่ในข่ายแห่งการบังคับคดี (ม.14) กทท. ได้รับยกเว้นการเสียภาษีอากรค่าธรรมเนียมตามกฎหมายอื่นที่เรียกเก็บสำหรับอาคารและที่ดินของ กทท. นอกจากอาคารและที่ดินที่ให้เช่า (ม.17) กทท. ได้รับยกเว้นค่าธรรมเนียมตามกฎหมายศุลกากร (ม.17 ทวิ) กทท. ได้รับยกเว้นไม่ต้องปฏิบัติตามกฎหมายควบคุมค่าเช่า (ม.17 ตรี) ที่มาของข้อมูล  สัญญาจ้างผู้บริหาร   คณะรัฐมนตรี ประสานงานกับเจ้าหน้าที่รัฐวิสาหกิจ สำนักกฎหมาย ส่วนกฎหมาย 3 ผู้อำนวยการส่วน : นายณัฐวุฒ ไพศาลวัฒนา ผู้จัดทำ : นายเอกวิทย์ ชูทอง โทร ต่อ 6722 วันที่จัดทำ : 31 พ.ค. 54 (Update) สิทธิพิเศษตามมติคณะรัฐมนตรีเกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้าง - ปัจจุบันไม่ปรากฎว่า กทท. ได้รับสิทธิพิเศษเกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้างตามมติคณะรัฐมนตรี ความเห็นคณะกรรมการกฤษฎีกาที่เกี่ยวข้อง เรื่องเสร็จที่ 735/2548 เรื่อง การยกเว้นค่าภาระตามพระราชบัญญัติการท่าเรือแห่งประเทศไทย พ.ศ. ๒๔๙๔ เนื่องจากตามพระราชบัญญัติการท่าเรือแห่งประเทศไทย พ.ศ ไม่ได้ให้อำนาจการท่าเรือแห่งประเทศไทยที่จะยกเว้นค่าภาระแก่ผู้ใดได้ การท่าเรือแห่งประเทศไทยจึงไม่อาจพิจารณายกเว้นค่าภาระต่างๆ ให้แก่ผู้ใช้บริการที่เป็นหน่วยงานของรัฐหรือองค์กรการกุศลได้ การกำหนดอัตราค่าภาระของการท่าเรือแห่งประเทศไทยจะต้องอยู่ภายในอัตราขั้นสูงและขั้นต่ำที่คณะรัฐมนตรีซึ่งเป็นองค์กรควบคุมและกำกับดูแลการท่าเรือแห่งประเทศไทยกำหนด ตามมาตรา 29(5) แห่งพระราชบัญญัติการท่าเรือแห่งประเทศไทย พ.ศ โดยต้องประกาศใช้เป็นการทั่วไป


ดาวน์โหลด ppt การท่าเรือแห่งประเทศไทย (กทท.)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google