งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การบริหารจัดการข้าวอินทรีย์ในระดับเกษตรกร

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การบริหารจัดการข้าวอินทรีย์ในระดับเกษตรกร"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การบริหารจัดการข้าวอินทรีย์ในระดับเกษตรกร
เกษตรกรควรจะ.... เข้าใจภาพรวมของโครงการการผลิตเกษตรอินทรีย์ รู้จักและเข้าใจมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ ซึ่งมีหลายมาตรฐาน จัดทำระบบควบคุมภายในกลุ่มเพื่อตรวจสอบสมาชิก รู้วิธีการผลิตและการจัดการปัจจัยการผลิตตามมาตรฐาน เช่นเมล็ดพันธุ์ ปุ๋ย รู้วิธีการจัดการระหว่างเก็บเกี่ยวตามมาตรฐาน เช่นการเกี่ยวข้าว การนวดข้าว รู้วิธีการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวตามมาตรฐาน เช่นการจัดเก็บข้าว รู้ตลาด คือจะขายข้าวอินทรีย์ให้ใคร

2 การรับรองมาตรฐานคืออะไร
การตรวจรับรองมาตรฐาน เป็นการตรวจรับรองทุกกระบวนการผลิต การแปรรูป การบรรจุ การขนส่ง การกระจายสินค้าและการจำหน่าย ที่ เกี่ยวกับสินค้านั้นๆ จากผู้ผลิตจนถึงผู้บริโภค (จากฟาร์ม ถึง ผู้บริโภค ไม่ใช่การรับรองคุณภาพสินค้า การตรวจรับรองมาตรฐานจะดำเนินการโดยหน่วยงานตรวจรับรองอิสระ เมื่อผ่านการตรวจรับรอง สามารถติดตราแสดงความเป็น “อินทรีย์” บนสินค้าได้

3 ห่วงโซ่อุปทานของระบบข้าวอินทรีย์ของโครงการฯ
ชาวนา = ผลิตข้าวเปลือก X พ่อค้าข้าวเปลือก = รวบรวมข้าวเปลือก โรงสี = ผลิตข้าวสาร หน่วยงาน/บริษัทตรวจรับรองมาตรฐาน X หยง = นายหน้าขายข้าวสาร ผู้ค้าข้าวภายในประเทศ ผู้ส่งออกข้าว

4 จำเป็นต้องมีการตรวจรับรองมาตรฐาน หรือไม่
ขึ้นอยู่กับแนวทางการทำเกษตรอินทรีย์ เกษตรทางเลือกเพื่อการพึ่งตนเอง บริโภค /จำหน่ายภายในท้องถิ่น -ไม่จำเป็น เชิงพาณิชย์ – ควรได้รับการตรวจรับรองมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ จากหน่วยงานที่ได้รับการเชื่อถือในแต่ละตลาดด้วย

5 หน่วยงานรับรองมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ในประเทศไทย
♣ หน่วยงานของรัฐ - กรมวิชาการเกษตร กรมปศุสัตว์ กรมประมง ♣ หน่วยงานเอกชนไทย - สำนักงานมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ไทย (มกท.) - องค์กรรับรองมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ภาคเหนือ (มอน.) ♣ หน่วยงานของต่างประเทศ 1. Bioagricert IMO (Switzerland / Germany) 2. BCS Oko-Garantie GmbH 6. OMIC (Japan) 3. Soil Association (UK) 7. Ecocert 4. Naturland (Germany 5. Skal (Natherlands)

6 กระบวนการตรวจสอบและรับรองของ มกท.
กรรมการมูลนิธิ ตัวแทนผู้ผลิต ผู้ประกอบการ องค์กรผู้บริโภค องค์กรสิ่งแวดล้อม สื่อมวลชน นักวิชการ 7. อุทธรณ์ 5. ส่งเรื่องให้อนุกรรมการ พิจารณารับรองมาตรฐาน อนุกรรมการรับรองมาตรฐาน ผู้เชี่ยวชาญจากสาขาต่างๆ 1. สมัครขอใบรับรอง/ทำสัญญา/เอกสารฟาร์ม เกษตรกร /ผู้ประกอบการ สำนักงาน มกท. 6. แจ้งผล ถ้าผ่านจะได้ใบรับรองและใช้ตรา มกท.ได้ ผู้ตรวจ ต้องผ่านการฝึกอบรมจาก สนง .มกท. มีความเป็นอิสระ ไม่มีผลประโยชน์เกี่ยวข้องกับการตรวจ 2. มอบหมายงานผู้ตรวจ 3. ผู้ตรวจไปตรวจ เยี่ยม 4. ผู้ตรวจส่งรายงานการตรวจฟาร์ม

7 ตัวอย่างเครื่องหมายรับรองมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ของหน่วยงานในประเทศไทย

8 กรมวิชาการเกษตร

9 สำนักงานมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ไทย

10 ตัวอย่างตราของมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ในต่างประเทศ

11

12


ดาวน์โหลด ppt การบริหารจัดการข้าวอินทรีย์ในระดับเกษตรกร

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google