งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การสำรวจทรัพยากรป่าไม้

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การสำรวจทรัพยากรป่าไม้"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การสำรวจทรัพยากรป่าไม้
การวิเคราะห์ข้อมูล การสำรวจทรัพยากรป่าไม้

2 ผลการสำรวจทรัพยากรป่าไม้ ระยะแปลงสำรวจ 10 x 10 กิโลเมตร
ผลการสำรวจทรัพยากรป่าไม้ ระยะแปลงสำรวจ 10 x 10 กิโลเมตร

3 การวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับชนิดและปริมาตรไม้
การวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับชนิดและปริมาตรไม้ ในการวิเคราะห์ค่าทางสถิติ จะใช้เฉพาะแปลงตัวอย่างแปลงกลาง ซึ่งกำหนด ให้เป็นแปลงตัวอย่างถาวร (Permanent Plots) มีจำนวนทั้งสิ้น 2,313 แปลงตัวอย่าง เมื่อทำการวิเคราะห์ทางสถิติ โดยจะนำข้อมูลมาวิเคราะห์ ทั้งเชิงปริมาณ (ตัวเลข) และข้อมูลเชิงคุณภาพ (ข้อความ) ซึ่งจะมีรายละเอียดในการวิเคราะห์ ดังต่อไปนี้ 1. การวิเคราะห์ข้อมูลทั่วไป ได้แก่ ที่ตั้ง ตำแหน่ง วันเวลาที่เก็บข้อมูล ผู้ที่ทำการเก็บข้อมูล ความสูงจากระดับน้ำทะเล และลักษณะการใช้ประโยชน์ที่ดิน เป็นต้น โดยข้อมูลเหล่านี้จะใช้ในการวิเคราะห์ประเมินผลประกอบกับข้อมูลด้านอื่น ๆ เพื่อติดตามความเปลี่ยนแปลงของพื้นที่ในการสำรวจครั้งต่อ ๆ ไป

4 การวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับชนิดและปริมาตรไม้
การวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับชนิดและปริมาตรไม้ 2. การวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับชนิดและปริมาณไม้ของไม้ยืนต้น 2.1) ความหนาแน่น 2.2) ปริมาตร 2.3) การวิเคราะห์ค่าทางสถิติ 3. การวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับชนิดและปริมาณของลูกไม้ และกล้าไม้ 4. การวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับชนิดและปริมาณของไม้ไผ่ หวาย 4.1) ความหนาแน่นของไม้ไผ่ 4.2) ความหนาแน่นของหวายเส้นตั้ง

5 1) ความคลาดเคลื่อนของปริมาตรไม้
การคำนวณค่าความคลาดเคลื่อน การคำนวณหาค่าความคลาดเคลื่อน (S2) นั้น โดยความคลาดเคลื่อนที่คำนวณมี 2 อย่าง คือ 1) ความคลาดเคลื่อนของปริมาตรไม้

6 การคำนวณค่าความคลาดเคลื่อน
การคำนวณค่าความคลาดเคลื่อน 2) ความคลาดเคลื่อนของประเภทพื้นที่ คำนวณจากสูตรดังต่อไปนี้

7 (Coefficient of Variation, %)
การคำนวณหาค่า CV (Coefficient of Variation, %) 1. คำนวณหาปริมาตรในแต่ละกลุ่มแปลง 2. นำค่าปริมาตรที่ได้จากแต่ละกลุ่มแปลง มาคำนวณหาค่าเฉลี่ยสะสม (mean) ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD) แล้วนำมาคำนวณหาค่า CV โดยใช้สูตร CV = SD / mean 3. นำค่า CV ที่ได้ในแต่ละกลุ่มแปลง มา plot กราฟ โดยเปรียบเทียบกับ จำนวนแปลง จะได้กราฟ CV ดังภาพ

8 (Coefficient of Variation, %)
การคำนวณหาค่า CV (Coefficient of Variation, %) 4. หลังจากทราบค่า CV แล้ว นำค่ามา plot กราฟโดยเปรียบเทียบระว่างค่า Sampling Errors กับ จำนวนแปลง (Sampling sizes) โดยใช้สูตรในโปรแกรม Microsoft Excel คือ “=TINV(0.05,SA2-1)*100/(SA2^0.5)” ก็จะได้ค่าออกมา แล้วนำมาเทียบดังกราฟ ในภาพ (*100 คือ ค่าของ % ของ CV)

9 การวิเคราะห์ข้อมูลพื้นที่ป่า
การวิเคราะห์ข้อมูลพื้นที่ป่า

10 พื้นที่ป่าทั้งหมดทั่วประเทศ
พื้นที่ป่าทั้งหมดทั่วประเทศ

11 พื้นที่ป่าทั้งหมดทั่วประเทศ
พื้นที่ป่าทั้งหมดทั่วประเทศ

12 พื้นที่ป่าทั้งหมดในภาคเหนือ
พื้นที่ป่าทั้งหมดในภาคเหนือ

13 พื้นที่ป่าทั้งหมดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
พื้นที่ป่าทั้งหมดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

14 พื้นที่ป่าทั้งหมดในภาคกลาง
พื้นที่ป่าทั้งหมดในภาคกลาง

15 พื้นที่ป่าทั้งหมดในภาคตะวันออก
พื้นที่ป่าทั้งหมดในภาคตะวันออก

16 พื้นที่ป่าทั้งหมดในภาคใต้
พื้นที่ป่าทั้งหมดในภาคใต้

17 การวิเคราะห์ข้อมูลปริมาตรไม้
การวิเคราะห์ข้อมูลปริมาตรไม้

18 ปริมาตรไม้ทั้งหมดจำแนกตามชนิดป่าทั่วทั้งประเทศ
ปริมาตรไม้ทั้งหมดจำแนกตามชนิดป่าทั่วทั้งประเทศ

19 ปริมาตรไม้ต่อหน่วยเนื้อที่ (ลบ.ม./เฮกตาร์)
ปริมาตรไม้ต่อหน่วยเนื้อที่ (ลบ.ม./เฮกตาร์) จำแนกตามชนิดป่าทั่วทั้งประเทศ

20 กราฟแสดงค่า CV และ SE ของป่าดิบชื้น และป่าดิบแล้ง
กราฟแสดงค่า CV และ SE ของป่าดิบชื้น และป่าดิบแล้ง

21 กราฟแสดงค่า CV และ SE ของป่าดิบเขา และป่าสนเขา
กราฟแสดงค่า CV และ SE ของป่าดิบเขา และป่าสนเขา

22 กราฟแสดงค่า CV และ SE ของป่าเบญจพรรณ และป่าเต็งรัง
กราฟแสดงค่า CV และ SE ของป่าเบญจพรรณ และป่าเต็งรัง

23 กราฟแสดงค่า CV และ SE ของป่าเสื่อมโทรม และป่าพรุหรือป่าบึงน้ำจืด
กราฟแสดงค่า CV และ SE ของป่าเสื่อมโทรม และป่าพรุหรือป่าบึงน้ำจืด

24 กราฟแสดงค่า CV และ SE ของสวนป่า
กราฟแสดงค่า CV และ SE ของสวนป่า

25 ปริมาตรไม้ทั้งหมดจำแนกตามชนิดป่าภาคเหนือ
ปริมาตรไม้ทั้งหมดจำแนกตามชนิดป่าภาคเหนือ

26 ปริมาตรไม้ต่อหน่วยเนื้อที่ (ลบ.ม./เฮกตาร์) จำแนกตามชนิดป่าภาคเหนือ
ปริมาตรไม้ต่อหน่วยเนื้อที่ (ลบ.ม./เฮกตาร์) จำแนกตามชนิดป่าภาคเหนือ

27 กราฟแสดงค่า CV และ SE ของป่าดิบชื้น และป่าดิบแล้ง
กราฟแสดงค่า CV และ SE ของป่าดิบชื้น และป่าดิบแล้ง

28 กราฟแสดงค่า CV และ SE ของป่าดิบเขา และป่าสนเขา
กราฟแสดงค่า CV และ SE ของป่าดิบเขา และป่าสนเขา

29 กราฟแสดงค่า CV และ SE ของป่าเบญจพรรณ และป่าเต็งรัง
กราฟแสดงค่า CV และ SE ของป่าเบญจพรรณ และป่าเต็งรัง

30 กราฟแสดงค่า CV และ SE ของป่าเสื่อมโทรม และสวนป่า
กราฟแสดงค่า CV และ SE ของป่าเสื่อมโทรม และสวนป่า

31 ปริมาตรไม้ทั้งหมดจำแนกตามชนิดป่าภาคกลาง
ปริมาตรไม้ทั้งหมดจำแนกตามชนิดป่าภาคกลาง

32 ปริมาตรไม้ต่อหน่วยเนื้อที่ (ลบ.ม./เฮกตาร์) จำแนกตามชนิดป่าภาคกลาง
ปริมาตรไม้ต่อหน่วยเนื้อที่ (ลบ.ม./เฮกตาร์) จำแนกตามชนิดป่าภาคกลาง

33 กราฟแสดงค่า CV และ SE ของป่าดิบแล้ง และป่าเบญจพรรณ
กราฟแสดงค่า CV และ SE ของป่าดิบแล้ง และป่าเบญจพรรณ

34 กราฟแสดงค่า CV และ SE ของป่าเต็งรัง และเสื่อมโทรม
กราฟแสดงค่า CV และ SE ของป่าเต็งรัง และเสื่อมโทรม

35 กราฟแสดงค่า CV และ SE ของสวนป่า
กราฟแสดงค่า CV และ SE ของสวนป่า

36 ปริมาตรไม้ทั้งหมดจำแนกตามชนิดป่าภาคตะวันออก
ปริมาตรไม้ทั้งหมดจำแนกตามชนิดป่าภาคตะวันออก

37 ปริมาตรไม้ต่อหน่วยเนื้อที่ (ลบ.ม./เฮกตาร์) จำแนกตามชนิดป่าภาคตะวันออก
ปริมาตรไม้ต่อหน่วยเนื้อที่ (ลบ.ม./เฮกตาร์) จำแนกตามชนิดป่าภาคตะวันออก

38 กราฟแสดงค่า CV และ SE ของป่าดิบแล้ง และป่าเบญจพรรณ
กราฟแสดงค่า CV และ SE ของป่าดิบแล้ง และป่าเบญจพรรณ

39 กราฟแสดงค่า CV และ SE ของสวนป่า
กราฟแสดงค่า CV และ SE ของสวนป่า

40 ปริมาตรไม้ทั้งหมดจำแนกตามชนิดป่า ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ปริมาตรไม้ทั้งหมดจำแนกตามชนิดป่า ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

41 ปริมาตรไม้ต่อหน่วยเนื้อที่ (ลบ.ม./เฮกตาร์)
ปริมาตรไม้ต่อหน่วยเนื้อที่ (ลบ.ม./เฮกตาร์) จำแนกตามชนิดป่าภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

42 กราฟแสดงค่า CV และ SE ของป่าดิบแล้ง และป่าเบญจพรรณ
กราฟแสดงค่า CV และ SE ของป่าดิบแล้ง และป่าเบญจพรรณ

43 กราฟแสดงค่า CV และ SE ของป่าเต็งรัง และเสื่อมโทรม
กราฟแสดงค่า CV และ SE ของป่าเต็งรัง และเสื่อมโทรม

44 กราฟแสดงค่า CV และ SE ของป่าสวนป่า
กราฟแสดงค่า CV และ SE ของป่าสวนป่า

45 ปริมาตรไม้ทั้งหมดจำแนกตามชนิดป่าภาคใต้
ปริมาตรไม้ทั้งหมดจำแนกตามชนิดป่าภาคใต้

46 ปริมาตรไม้ต่อหน่วยเนื้อที่ (ลบ.ม./เฮกตาร์) จำแนกตามชนิดป่าภาคใต้
ปริมาตรไม้ต่อหน่วยเนื้อที่ (ลบ.ม./เฮกตาร์) จำแนกตามชนิดป่าภาคใต้

47 กราฟแสดงค่า CV และ SE ของป่าดิบชื้น และป่าพรุหรือป่าบึงน้ำจืด ดิบชื้น --- เบญ

48 ปริมาตรไม้ทั้งหมดจำแนกตามชนิดป่า จังหวัดเชียงใหม่ (10x10 กม.)
ปริมาตรไม้ทั้งหมดจำแนกตามชนิดป่า จังหวัดเชียงใหม่ (10x10 กม.)

49 ปริมาตรไม้ต่อหน่วยเนื้อที่ (ลบ.ม./เฮกตาร์)จำแนกตามชนิดป่า
ปริมาตรไม้ต่อหน่วยเนื้อที่ (ลบ.ม./เฮกตาร์)จำแนกตามชนิดป่า จังหวัดเชียงใหม่ (10x10 กม.)

50 กราฟแสดงค่า CV และ SE ของป่าดิบแล้ง และป่าดิบเขา
กราฟแสดงค่า CV และ SE ของป่าดิบแล้ง และป่าดิบเขา

51 กราฟแสดงค่า CV และ SE ของป่าสนเขา และป่าเบญจพรรณ
กราฟแสดงค่า CV และ SE ของป่าสนเขา และป่าเบญจพรรณ

52 กราฟแสดงค่า CV และ SE ของป่าเต็งรัง และป่าเสื่อมโทรม
กราฟแสดงค่า CV และ SE ของป่าเต็งรัง และป่าเสื่อมโทรม

53 กราฟแสดงค่า CV และ SE ของสวนป่า
กราฟแสดงค่า CV และ SE ของสวนป่า

54 ปริมาตรไม้ทั้งหมดจำแนกตามชนิดป่า จังหวัดเชียงใหม่ (5x5 กม.)
ปริมาตรไม้ทั้งหมดจำแนกตามชนิดป่า จังหวัดเชียงใหม่ (5x5 กม.)

55 ปริมาตรไม้ต่อหน่วยเนื้อที่ (ลบ.ม./เฮกตาร์)จำแนกตามชนิดป่า
ปริมาตรไม้ต่อหน่วยเนื้อที่ (ลบ.ม./เฮกตาร์)จำแนกตามชนิดป่า จังหวัดเชียงใหม่ (5x5 กม.)

56 กราฟแสดงค่า CV และ SE ของป่าดิบแล้ง และป่าดิบเขา
กราฟแสดงค่า CV และ SE ของป่าดิบแล้ง และป่าดิบเขา

57 กราฟแสดงค่า CV และ SE ของป่าสนเขา และป่าเบญจพรรณ
กราฟแสดงค่า CV และ SE ของป่าสนเขา และป่าเบญจพรรณ

58 กราฟแสดงค่า CV และ SE ของป่าเต็งรัง และป่าเสื่อมโทรม
กราฟแสดงค่า CV และ SE ของป่าเต็งรัง และป่าเสื่อมโทรม

59 กราฟแสดงค่า CV และ SE ของสวนป่า
กราฟแสดงค่า CV และ SE ของสวนป่า

60 เปรียบเทียบปริมาตรไม้ทั้งหมด จำแนกตามชนิดป่าจังหวัดเชียงใหม่
เปรียบเทียบปริมาตรไม้ทั้งหมด จำแนกตามชนิดป่าจังหวัดเชียงใหม่ 5x5 กม. 10x10 กม.

61 เปรียบเทียบปริมาตรไม้ต่อหน่วยเนื้อที่ (ลบ.ม./เฮกตาร์)
เปรียบเทียบปริมาตรไม้ต่อหน่วยเนื้อที่ (ลบ.ม./เฮกตาร์) จำแนกตามชนิดป่า จังหวัดเชียงใหม่ 5x5 กม. 10x10 กม.

62 เปรียบเทียบกราฟ CV และ SE จังหวัดเชียงใหม่
เปรียบเทียบกราฟ CV และ SE จังหวัดเชียงใหม่ 5x5 กม. 10x10 กม.

63 ของพื้นที่ส่วนที่เป็นป่า
กราฟแสดงค่า CV & SE ของพื้นที่ส่วนที่เป็นป่า

64 ทั่วประเทศ

65 ภาคเหนือ

66 ภาคกลาง

67 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

68 ภาคตะวันออก

69 ภาคใต้

70 CV และ SE รวมของแต่ละภาค
CV และ SE รวมของแต่ละภาค

71 กราฟ CV และ SE ทั่วประเทศ ***
กราฟ CV และ SE ทั่วประเทศ ***

72 กราฟ CV และ SE ภาคเหนือ ***
กราฟ CV และ SE ภาคเหนือ ***

73 กราฟ CV และ SE ภาคกลาง

74 กราฟ CV และ SE ภาคตะวันออก
กราฟ CV และ SE ภาคตะวันออก

75 กราฟ CV และ SE ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
กราฟ CV และ SE ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

76 กราฟ CV และ SE ภาคใต้

77 กราฟ CV และ SE จังหวัดเชียงใหม่ (5x5 กม.)
กราฟ CV และ SE จังหวัดเชียงใหม่ (5x5 กม.)

78 กราฟ CV และ SE จังหวัดเชียงใหม่ (10x10 กม.)
กราฟ CV และ SE จังหวัดเชียงใหม่ (10x10 กม.)


ดาวน์โหลด ppt การสำรวจทรัพยากรป่าไม้

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google