งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

มาตรฐานสินค้าบนเส้นทางสู่ AEC

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "มาตรฐานสินค้าบนเส้นทางสู่ AEC"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 มาตรฐานสินค้าบนเส้นทางสู่ AEC
สถาบันคลังสมองของชาติ มาตรฐานสินค้าบนเส้นทางสู่ AEC การเสวนาทางวิชาการเรื่อง “มาตรฐานสินค้าสู่ AEC” จัดโดยกรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ ณ อาคารศูนย์ประชุมวายุภักษ์ วันเสาร์ที่ 2 พฤศจิกายน เวลา น ณ ณ ห้องประชุมออดิทอเรียม อาคารศูนย์ประชุมวายุภักษ์ โรงแรมเซ็นทรา ศูนย์ราชการและคอนเวนชั่นเซ็นเตอร์ กรุงเทพฯ รศ. สมพร อิศวิลานนท์ สถาบันคลังสมองของชาติ

2 การก้าวสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
การเสวนาทางวิชาการเรื่อง “มาตรฐานสินค้าสู่ AEC” จัดโดยกรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ ณ อาคารศูนย์ประชุมวายุภักษ์ วันเสาร์ที่ 2 พฤศจิกายน 2556 หัวข้อการนำเสนอ การก้าวสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน มาตรฐานสินค้า: การปรับตัวเพื่อใช้ประโยชน์จาก AEC AEC กับโอกาสทางธุรกิจ

3 1. การก้าวสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
การเสวนาทางวิชาการเรื่อง “มาตรฐานสินค้าสู่ AEC” จัดโดยกรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ ณ อาคารศูนย์ประชุมวายุภักษ์ วันเสาร์ที่ 2 พฤศจิกายน 2556 1. การก้าวสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน 3 สถาบันคลังสมองของชาติ

4 ► ความเป็นมาของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
1. การก้าวสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ► ความเป็นมาของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน 2510 2527 2535 2538 ก่อตั้งสมาคม ASEAN มีสมาชิก 5 ประเทศ บรูไนเข้าร่วมเป็นสมาชิก บรรลุข้อตกลงการเป็นเขตการค้าเสรีอาเซียน(AFTA) เกิดกรอบตกลงการค้าและบริการ(AFAS) เกิดเขตการลงทุนอาเซียน(AIA) เวียดนามเข้าร่วมเป็นสมาชิก 2539 เกิดความร่วมมือด้านอุตสาหกรรมของอาเซียน(AICO) 2540 กำหนดวิสัยทัศน์ให้เป็นกลุ่มที่มีความมั่นคงทางเศรษฐกิจ ลาวและพม๋าเข้าเป็นสมาชิก 18ปี 2541 เริ่มใช้เขตลงทุนอาเซียน(AIA) จัดทำแผนปฏิบัติการฮานอยเพื่อบรรลุวิสัยทัศน์อาเซียน 2542 กัมพูชาเข้าร่วมเป็นสมาชิก อาเซียนมีสมาชิกครบ 10 ประเทศ 2545 เกิดแนวคิดการจัดตั้ง ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ในการประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 8 ณ กัมพูชา 2546 เกิดปฏิญญาบาหลีเพื่อไปสู่ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) 2550 เกิดปฎิญญา Cebuเพื่อจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน(AEC)และเร่งการเป็นประชาคมอาเซียนจากปี 2563 มาเป็น 2558 2553 2558 เป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน(AEC) ประเทศอาเซียนเดิมลดภาษีเป็น 0% ไปสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน(AEC) 4 ที่มา :ปรับปรุงจากข้อมูลที่ปรากฎใน (กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ) และ ,

5 เป้าหมายของการรวมกลุ่ม
1. การก้าวสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ประชาคมอาเซียน 2015 (2558) กฎบัตรอาเซียน(ASEAN Charter ประชาคมความมั่นคงอาเซียน(ASC) ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน(AEC) ประชาคมสังคม-วัฒนธรรมอาเซียน(ASCC) เป้าหมายของการรวมกลุ่ม โดยจะมีตลาดและฐานการผลิตร่วมกัน(Single Market and Production Base) และจะมีการเคลื่อนย้ายสินค้า บริการ การลงทุน เงินทุน และแรงงานฝีมืออย่างเสรี ที่มา:ASEAN Economic Community FactBook

6 ประเทศในกลุ่มASEAN ASEAN+3 ASEAN +6
1. การก้าวสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ประเทศในกลุ่มASEAN ASEAN+3 ASEAN +6 การเปิดเสรีในการค้าจะทำให้ตลาดการค้าอาเซียนรวมกันเป็นตลาดเดียวรวมถึงตลาดสินค้าเกษตร มีประชากร 595 ล้านคนและ มีขนาดของ GDP 1.5 ล้านล้าน US$ การเปิดตลาดอาเซียน+ 3 จะทำให้มีประชากรประมาณ 2,112 ล้านคนและมีขนาด GDP 9.9 ล้านล้านUS$ ประกอบด้วย: ASEAN+จีน+ญี่ปุ่น + เกาหลี การเปิดตลาดอาเซียน+ 6 จะทำให้มีประชากรประมาณ 3,284 ล้านคนและมีขนาด GDP ล้านล้านUS$ ประกอบด้วย: ASEAN+จีน+ญี่ปุ่น + เกาหลี+อินเดีย+ออสเตรเลีย+นิวซีแลนด์ 6

7 ►การก้าวสู่ยุคของนโยบายการค้าเสรี
1. การก้าวสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ►การก้าวสู่ยุคของนโยบายการค้าเสรี การก้าวเข้าสู่นโยบายการค้าเสรี นำไปสู่กฎกติกาใหม่ๆ ตลาดการค้าแม้จะมีความร่วมมือมากขึ้น แต่จะมีมาตรการใหม่ๆเพื่อกำหนดมาตรฐานและคุณภาพซึ่งจะเป็นการกีดกันทางการค้าทางอ้อม ด้านการค้าและความร่วมมือที่เปลี่ยนแปลง ลัทธิการปกป้องและ กีดกันทางการค้า กฎระเบียบการค้ามีความเข้มข้นมากขึ้น กระแสภูมิภาคนิยม ความร่วมมือของเอเชียเพิ่มขึ้น ที่มา:ดัดแปลงจากลดาวัลย์ คำภา สถาบันคลังสมองของชาติ

8 ►โลกในยุคของการค้าเสรี
1. การก้าวสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ►โลกในยุคของการค้าเสรี โลกในยุคของการค้าเสรีอำนาจจะเป็นของผู้บริโภคมากกว่าผู้ผลิต การค้าจะไร้พรหมแดนมากขึ้น และจะมีการใช้เครื่องมือที่ไม่ใช่ภาษี(non-tariff barrier) มาเป็นเครื่องมือกีดกันทางการค้าเพิ่มมากขึ้น การแข่งขันในตลาดสินค้าจะเป็นการแข่งขันในด้านคุณภาพที่รุนแรงขึ้น สินค้าที่ขาดคุณภาพจะถูกเบียดหายไปจากตลาดการค้า มาตรการทางการค้าจะให้ความสนใจกับสุขอนามัยและความปลอดภัยของผู้บริโภคเป็นสิ่งสำคัญ ไปพร้อมๆกับมีการกำหนดมาตรฐานคุณภาพ การแข่งขันที่รุนแรงในตลาดการค้า ทำให้ผู้ผลิตต้องอาศัยเทคโนโลยีใหม่มาใช้ในกระบวนการผลิตหรือต้องพึ่งพิงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมากขึ้น เพื่อทำให้ต้นทุนการผลิตต่ำลง เพื่อทำให้คุณภาพดีขึ้นด้วยต้นทุนที่ต่ำ

9 การเคลื่อนย้ายสินค้า บริการ การลงทุน เงินทุน และแรงงานฝีมืออย่างเสรี
1. การก้าวสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน สิ่งที่จะเกิดขึ้นหลังจากปี 2558 การขยายตัวของพรหมแดนการค้าและการผลิต เกิดเป็นSingle Market and Single Production Base การเคลื่อนย้ายสินค้า บริการ การลงทุน เงินทุน และแรงงานฝีมืออย่างเสรี

10 แรงขับเคลื่อนหลังการเป็น AEC
1. การก้าวสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน แรงขับเคลื่อนหลังการเป็น AEC ที่มา: google.com

11 แรงขับเคลื่อนหลังการเป็น AEC(ต่อ)
1. การก้าวสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน แรงขับเคลื่อนหลังการเป็น AEC(ต่อ) ที่มา: google.com

12 แรงขับเคลื่อนหลังการเป็น AEC(ต่อ)
1. การก้าวสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน แรงขับเคลื่อนหลังการเป็น AEC(ต่อ) เป้าหมายการเปิดเสรีสาขาบริการในแต่ละรอบ ที่มา: สมภพ มานะรังสรรต์

13 แรงขับเคลื่อนหลังการเป็น AEC(ต่อ)
1. การก้าวสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน แรงขับเคลื่อนหลังการเป็น AEC(ต่อ) สาขาของภาคบริการ(Services)ที่เปิดภายใต้ AEC ประเภทของสาขาในภาคบริการ 1 บริการด้านธุรกิจ(วิชาชีพ คอมพิวเตอร์ โฆษณา ให้เช่า อื่นๆ) 2 บริการสื่อสาร 3 บริการก่อสร้าง (งานวิศวกรรม การติดตั้ง อื่นๆ) 4 บริการจัดจำหน่าย(ค้าส่ง ค้าปลีก แฟรนไชส์ ตัวแทนจำหน่าย) 5 บริการทางการศึกษา 6 บริหารสิ่งแวดล้อม(บำบัดน้ำเสีย อื่นๆ) 7 บริการทางการเงิน(ธนาคาร ประกันภัย) 8 บริการด้านสุขอนามัย 9 บริการด้านการท่องเที่ยว(โรงแรม ร้านอาหาร บริษัททัวร์ อื่นๆ) 10 บริการด้านนันทนาการ(วัฒนธรรม กีฬา ห้องสมุด อื่นๆ) 11 บริการขนส่ง 12 บริการอื่นๆ

14 แรงขับเคลื่อนหลังการเป็น AEC(ต่อ)
1. การก้าวสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน แรงขับเคลื่อนหลังการเป็น AEC(ต่อ) ที่มา: google.com

15 แรงขับเคลื่อนหลังการเป็น AEC(ต่อ)
1. การก้าวสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน แรงขับเคลื่อนหลังการเป็น AEC(ต่อ) ที่มา: google.com

16 แรงขับเคลื่อนหลังการเป็น AEC(ต่อ)
1. การก้าวสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน แรงขับเคลื่อนหลังการเป็น AEC(ต่อ) ความร่วมมืออื่นๆ อาหาร เกษตร และป่าไม้ สิทธิในทรัพย์สินทางปัญญา โครงสร้างพื้นฐาน (ขนส่ง ICT พลังงาน เหมืองแร่) พาณิชย์ อิเล็กทรอนิกส์ การสนับสนุนด้านเงินทุนในการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน การพัฒนา SME

17 ภาพของธุรกิจอุตสาหกรรมใน ASEANเมื่อเข้าสู่ AEC
1. การก้าวสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ภาพของธุรกิจอุตสาหกรรมใน ASEANเมื่อเข้าสู่ AEC ฐานการผลิตอยู่ที่ใดขึ้นอยู่กับ ที่ใดจะมีความได้เปรียบสูงสุดในด้านต้นทุนปัจจัยการผลิตหรือในด้านการตลาด ได้เปรียบมากน้อยเพียงใดอยู่ใกล้แหล่งวัคถุดิบ ต้นทุนด้าน Logistic สภาพแวดล้อมการลงทุนรวมถึง กฎระเบียบ ข้อกำหนดของรัฐ ในห่วงโซ่การผลิต ไม่จำเป็น ต้องอยู่ในประเทศใดประเทศหนึ่งเพียงแห่งเดียว กลยุทธ์สำคัญในการแข่งขันคือการใช้ประโยชน์สูงสุด จากฐานการผลิตร่วม ใน AEC ที่มา:สมภพ มานะรังสรรค์

18 กลยุทธสิ่งที่ไม่ควรมองข้าม
1. การก้าวสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน กลยุทธสิ่งที่ไม่ควรมองข้าม Focus more on medium to high-end market segment สร้างความเป็นหุ้นส่วนเพื่อให้เกิดเป็นพันธมิตรที่ดี สร้างความเชื่อมั่นและไว้วางใจร่วมกัน การร่วมกันในการพัฒนามาตรฐานและคุณภาพของสินค้า การสร้างภูมิภาคนิยม promote intra-ASEAN regionalization Branding Thai product and services Sourcing หาลู่ทางขยายการค้า สุวรรณา ประณีตวตกุล คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

19 2. มาตรฐานสินค้า: การปรับตัวเพื่อใช้ประโยชน์จาก AEC
วันเสาร์ที่ 2 พฤศจิกายน 2556 2. มาตรฐานสินค้า: การปรับตัวเพื่อใช้ประโยชน์จาก AEC

20 การปรับตัวเพื่อรองรับกับการขยายตัวของตลาด
2. มาตรฐานสินค้า: การปรับตัวเพื่อใช้ประโยชน์จาก AEC การปรับตัวเพื่อรองรับกับการขยายตัวของตลาด เพิ่มประสิทธิภาพการผลิต การจัดการ และการดำเนินธุรกิจ เพื่อสร้างความสามารถในการแข่งขัน พัฒนารูปแบบและคุณภาพของสินค้า พัฒนาคุณภาพของสินค้าให้ได้มาตรฐานของตลาดและให้ความใส่ใจในคุณภาพและสุขอนามัย เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม Good Manufacturing Practice (GMP) Good Agricultural Practice (GAP)

21 มาตรฐานและคุณภาพของสินค้าเป็นความต้องการในการก้าวสู่การค้าเสรี
2. มาตรฐานสินค้า: การปรับตัวเพื่อใช้ประโยชน์จาก AEC มาตรฐานและคุณภาพของสินค้าเป็นความต้องการในการก้าวสู่การค้าเสรี ความเป็นพลวัตของมาตรฐานและคุณภาพของสินค้าและบริการ มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม มาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน มาตรฐานทั่วไป (ISO; HACCP มาตรฐาน Logistic etc มาตรฐานทั่วไป (ISO/ASTM/JIS/TIS) etc การเข้าสู่ Word Free Trade Economy ตามบริบทขององค์การการค้าโลก Each ASEAN Country Standard ASEAN Common Standard International Standard การเกษตร การบริการและการขนส่ง การอุตสาหกรรม มาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหาร เช่นข้าวหอมมะลิ มาตรฐานระบบ (เช่น GAP, Organic Thailand, GMP เป็นต้น) มาตรฐานทั่วไป SPS/QIE/CODEX/ IPPC มิติเวลา การก้าวสู่ยุคการค้าเสรี ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีและนวัตกรรม

22 มาตรฐานและคุณภาพของสินค้าเป็นความต้องการในการก้าวสู่การค้าเสรี(ต่อ)
2. มาตรฐานสินค้า: การปรับตัวเพื่อใช้ประโยชน์จาก AEC มาตรฐานและคุณภาพของสินค้าเป็นความต้องการในการก้าวสู่การค้าเสรี(ต่อ) ตัวอย่างมาตรฐานด้านความปลอดภัยของสินค้า Food Standard Hazard Analysis Critical Control Point การวิเคราะห์อันตรายจุดควบคุมวิกฤตเป็นแนวคิดเกี่ยวกับมาตรการป้องกันอันตรายที่อาจเกิดขึ้นในขั้นตอนของการดำเนินกิจกรรม Good manufacturing Practice เกณฑ์ขั้นพื้นฐานที่จำเป็นในการผลิตและควบคุม เพื่อให้ผู้ผลิตปฏิบัติตามและทำให้สามารถผลิตอาหารได้อย่างปลอดภัย โดยเน้นการป้องกันและขจัดความเสี่ยงที่อาจจะทำให้ อาหารเป็นพิษ เป็นอันตราย หรือเกิดความไม่ปลอดภัยต่อผู้บริโภค ISO22000 เป็นการรวมระบบ GMP ซึ่งเป็นระบบพื้นฐานของอุตสาหกรรมอาหารกับระบบ HACCP ซึ่งเป็นระบบวิเคราะห์จุดอันตรายแต่ละขั้นตอนการผลิต และมีการผนวก ISO9001 เข้าไปเสริมในเรื่องการจัดการและระบบเอกสารทำให้ระบบนี้สามารถประกันความปลอดภัยของสินค้าตลอดระบบห่วงโซ่อาหารดียิ่งขึ้น Source: Nopporn Thepsithar (2013)

23 มาตรฐานและคุณภาพของสินค้าเป็นความต้องการในการก้าวสู่การค้าเสรี(ต่อ)
2. มาตรฐานสินค้า: การปรับตัวเพื่อใช้ประโยชน์จาก AEC มาตรฐานและคุณภาพของสินค้าเป็นความต้องการในการก้าวสู่การค้าเสรี(ต่อ) ตัวอย่างมาตรฐานด้านสิ่งแวดล้อม Green Label Thai Green Label: รับรองผลิตภัณฑ์ที่มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมน้อยกว่าเมื่อเทียบกับผลิตภัณฑ์ที่ทำหน้าที่อย่างเดียวกัน SIRIM QAS International Snd.Bhd: รับรองสินค้าบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม Singapore Green Label Scheme (SGLS): รับรองมาตรฐานสินค้าเพื่อสิ่งแวดล้อมและสนับสนุนการบริโภคและการผลิตอย่างยั่งยืน Green Choice Philippines (GCP): รับรองผลิตภัณฑ์และบริการที่มีผลกระทบน้อยเมื่อเทียบกับผลิตภัณฑ์หรือบริการที่ทำหน้าที่อย่างเดียวกัน Lembaga Indonesia Ekolabel: รับรองใช้ทรัพยากรป่าไม้อย่างยั่งยืนและมีประสิทธิภาพ Laos Organic: รับรองผลิตภัณฑ์ทางธรรมชาติที่ปลูกโดยวิธีทางเกษตร ที่ควบคุมไม่ให้มีการปนเปื้อนของสารเคมีในทุกขั้นตอน Source: Nopporn Thepsithar (2013)

24 มาตรฐานและคุณภาพของสินค้าเป็นความต้องการในการก้าวสู่การค้าเสรี(ต่อ)
2. มาตรฐานสินค้า: การปรับตัวเพื่อใช้ประโยชน์จาก AEC มาตรฐานและคุณภาพของสินค้าเป็นความต้องการในการก้าวสู่การค้าเสรี(ต่อ) Source: Nopporn Thepsithar (2013)

25 มาตรฐานและคุณภาพของสินค้าเป็นความต้องการในการก้าวสู่การค้าเสรี(ต่อ)
2. มาตรฐานสินค้า: การปรับตัวเพื่อใช้ประโยชน์จาก AEC มาตรฐานและคุณภาพของสินค้าเป็นความต้องการในการก้าวสู่การค้าเสรี(ต่อ) Source: Nopporn Thepsithar (2013)

26 3. AEC กับโอกาสทางธุรกิจ
วันเสาร์ที่ 2 พฤศจิกายน 2556 3. AEC กับโอกาสทางธุรกิจ

27 AEC กับการก้าวเป็นจุดเชื่อมต่อธุรกิจ
Education Hub Agricultural and Food industry Hub Medical Hub

28 AEC กับการก้าวเป็นจุดเชื่อมต่อธุรกิจ(ต่อ)
 Transportation and Logistic Hub  Retail Hub  Tourism Hub  Industrial Hub

29 AEC กับเส้นทางระเบียงเศรษฐกิจ
เส้นทางระเบียงเศรษฐกิจเป็นการเปิดพื้นที่ใหม่ภายใต้ ASEAN mainland and จีนตอนใต้ 1 2 1.North-South Corridor 2.Northern Corridor 3.North-Eastern Corridor 4.Eastern Corridor 5.Central Corridor 6.East-West Corridor 7.New Southern Corridor 8.Southern Corridor 9.Southern Coastal Corridor 4 3 5 6 7 8 9 ที่มา: กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ

30 ประเด็นการซักถาม Q&A


ดาวน์โหลด ppt มาตรฐานสินค้าบนเส้นทางสู่ AEC

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google