งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ส่วนฟื้นฟูและพัฒนาพื้นที่อนุรักษ์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ส่วนฟื้นฟูและพัฒนาพื้นที่อนุรักษ์"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ส่วนฟื้นฟูและพัฒนาพื้นที่อนุรักษ์

2 หน้าที่ 1. กำหนดแผนปฏิบัติงาน กำกับ ควบคุม ดูแล และประสานงานด้านการฟื้นฟู และรักษาระบบนิเวศในพื้นที่อนุรักษ์ 2. ศึกษา วิเคราะห์ และปฏิบัติงาน เพื่ออนุรักษ์และฟื้นฟูทรัพยากร และความหลากหลายทางด้านชีวภาพในพื้นที่อนุรักษ์ 3. ดำเนินการด้านกิจกรรมชุมชนในพื้นที่อนุรักษ์ โดยสร้างจิตสำนึก และส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชนในการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช 4. ปฏิบัติงานร่วมกับหน่วยงานอื่น หรืองานที่ได้รับมอบหมาย

3 โครงสร้าง แบ่งเป็น 2 งาน กับ 2 ฝ่าย ได้แก่
โครงสร้าง แบ่งเป็น 2 งาน กับ 2 ฝ่าย ได้แก่ 1. งานธุรการ 2. งานแผนงานและประเมินผล 3. ฝ่ายฟื้นฟูพื้นที่อนุรักษ์ 4. ฝ่ายจัดการชุมชนในพื้นที่อนุรักษ์ สำรวจรังวัดและแผนที่

4 อัตรากำลัง 1. ตามกรอบอัตรากำลังมีเจ้าหน้าที่ 30 คน แยกเป็นข้าราชการ 20 คน ลูกจ้างประจำ 3 คน พนักงานราชการ 2 คน จ้างเหมาบริการ 5 คน 2. ตามที่ปฏิบัติงานจริงมีเจ้าหน้าที่ 25 คน แยกเป็นข้าราชการ 15 คน ลูกจ้างประจำ 3 คน พนักงานราชการ 2 คน จ้างเหมาบริการ 5 คน

5 ได้แก่จังหวัดนครนายก ปราจีนบุรี และ สระแก้ว มีสวนป่าทั้งสิ้น 13 แห่ง
พื้นที่รับผิดชอบและหน่วยงานภาคสนามในสังกัด ได้แก่จังหวัดนครนายก ปราจีนบุรี และ สระแก้ว มีสวนป่าทั้งสิ้น 13 แห่ง เนื้อที่สวนป่าทั้งหมด 102,297 ไร่

6 1. งบประมาณ รวมทั้งสิ้น 19,152,150 บาท 2. แผนงาน
งบประมาณและแผนงาน ปี 2550 1. งบประมาณ รวมทั้งสิ้น 19,152,150 บาท 2. แผนงาน 2.1 บำรุงสวนเดิม อายุ 2-6 ปี 10,135 ไร่ 2.2 บำรุงรักษาสวนเดิม อายุ 7-10 ปี 7,380 ไร่ 2.3 ทำแนวกันไฟ 170 กม. 2.4 ดูแลรักษาสวนป่า อายุเกิน 10 ปี 13,400 ไร่

7 2.5 จัดซื้อครุภัณฑ์ ได้แก่ รถยนต์ จำนวน 2 คัน
2.6 กิจกรรมจัดการชุมชนฯ (รังวัดแปลงที่ดิน 228 ราย) 2.7 สำรวจออกแบบจัดทำแนวฝังหลักเขต 80 กม. 2.8 ฝังหลักเขตแสดงแนวเขตพื้นที่ป่าไม้ 80 กม.

8 ผลงาน เดือน ตุลาคม 2549- กุมภาพันธ์ 2550
1. จัดเวรยามป้องกันไฟ คน 2. ดายวัชพืช 8,602 ไร่ (41.4 %) 3. จัดเตรียมกล้าไม้เพื่อปลูกซ่อม 40,000 กล้า (10%) 4. ซ่อมทางตรวจการ กม. (55 %) 5. ทำแนวกันไฟ กม. ( 59%) 6. รังวัดแปลงที่ดิน ราย (50%)

9 การเบิกจ่ายเงินงบประมาณ
ยังไม่มีการเบิกจ่ายงบประมาณ เนื่องจากยังไม่มีการโอนเงินงบประมาณ ปัญหาอุปสรรค 1. ปัญหานโยบายไม่แน่นอนเปลี่ยนแปลงไปตามนโยบายของรัฐบาล ที่เข้ามาบริหารประเทศ 2. ปัญหาด้านการจัดส่งแผนงานและการโอนงบประมาณล่าช้า

10 โครงการปลูกป่าถาวรเฉลิมพระเกียรติ

11 ความเป็นมา รัฐบาลได้กำหนดโครงการปลูกป่าถาวรเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในวโรกาสทรงครองราชย์ปีที่ 50 (พ.ศ. 2539) และกรมป่าไม้ได้กำหนดพื้นที่ป่าเสื่อมโทรมในเขตพื้นที่ ป่าอนุรักษ์และป่าสงวนแห่งชาติทั่วประเทศรวม 1,345 แปลง เนื้อที่ประมาณ 5 ล้านไร่ เพื่อให้ผู้ร่วมโครงการต่าง ๆ เข้าดำเนินการ ปลูกป่า โดยเริ่มตั้งแต่ปี พ.ศ พ.ศ. 2550

12 โครงสร้าง แบ่งเป็น 3 งาน ได้แก่
หน้าที่ การวางแผน กำกับ และประสานการดำเนินงานโครงการฯ ให้สอดคล้องกับนโยบาย และแนวทางในการดำเนินงานโครงการฯ โครงสร้าง แบ่งเป็น 3 งาน ได้แก่ 1. งานอำนวยการ 2. งานพื้นที่เป้าหมายปลูกป่าและจัดการกล้าไม้ 3. งานประชาสัมพันธ์

13 อัตรากำลัง ใช้ข้าราชการจากส่วนฟื้นฟูและพัฒนาพื้นที่อนุรักษ์ ช่วยปฏิบัติงานสำนักงาน จำนวน 2 คน พนักงานราชการ จำนวน 1 คน พนักงานจ้างเหมาบริการ จำนวน 4 คน

14 พื้นที่รับผิดชอบและแปลงปลูกป่าถาวรในพื้นที่
รับผิดชอบดำเนินการในพื้นที่จังหวัดปราจีนบุรี และจังหวัดสระแก้ว (จังหวัดนครนายกไม่มีแปลงปลูกป่าถาวรเฉลิมพระเกียรติฯ) 1. จังหวัดปราจีนบุรี มีแปลงปลูกป่าถาวรฯ จำนวน 19 แปลง เนื้อที่ 17,484 ไร่ มีพื้นที่ที่ยังไม่ได้ปลูก 25 ไร่ ทาง มทบ มีแผนปลูกปี 2550 2. จังหวัดสระแก้ว มีแปลงปลูกป่าถาวรฯ จำนวน 25 แปลง เนื้อที่ 33,028 ไร่ มีพื้นที่ที่ยังไม่ได้ปลูก 10 ไร่ (ทหารขอคืนพื้นที่) 3. รวมเนื้อที่ 2 จังหวัด 44 แปลง เนื้อที่ 50,512 ไร่

15 งบประมาณและแผนงานปี 2550 1. งบประมาณ 2,529,220 บาท 2. แผนงาน
งบประมาณและแผนงานปี 2550 1. งบประมาณ 2,529,220 บาท 2. แผนงาน 2.1 ทำแนวกันไฟ 60 กม. 2.2 บำรุงป่า อายุ ปี 18 ไร่ 2.3 บำรุงป่า อายุ ปี 1,448 ไร่ 2.4 บำรุงป่าเสริมตามธรรมชาติ อายุ ปี 3,300 ไร่ 2.5 เพาะชำกล้าไม้ 400,000 กล้า

16 ผลงาน เดือน ตุลาคม 2549 - กุมภาพันธ์ 2550
ผลงาน เดือน ตุลาคม กุมภาพันธ์ 2550 1. ทำแนวกันไฟ 6 ก.ม. (10%) 2. ซ่อมแนวกันไฟ กม. (61.9%) 3. ซ่อมทางตรวจการ 5 กม. (20%) 4. ดายวัชพืช 345 ไร่ (2.3%) 5. ยามป้องกันไฟ 32 คน

17 การเบิกจ่ายเงินงบประมาณ
ยังไม่มีการเบิกจ่ายงบประมาณ เนื่องจากยังไม่มีการโอนเงินงบประมาณ ปัญหาอุปสรรค ปัญหาด้านการจัดส่งแผนและการโอนเงินงบประมาณล่าช้า ปัญหาเรื่องแปลงปลูกป่าที่หมดอายุการบำรุงรักษา

18 จบการนำเสนอ


ดาวน์โหลด ppt ส่วนฟื้นฟูและพัฒนาพื้นที่อนุรักษ์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google